06.06.2015 Views

จักรยานยนตความเสี่ยงที่ไมควรมองขาม

จักรยานยนตความเสี่ยงที่ไมควรมองขาม

จักรยานยนตความเสี่ยงที่ไมควรมองขาม

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

จักรยานยนตความเสี่ยงที่ไมควรมองขาม<br />

นางณัฐกานต<br />

ไวยเนตร<br />

1 นางวนัสสนันท<br />

รุจิวิพัฒน<br />

1 น.ส.ปภานิจ<br />

สวงโท<br />

1 นางอนงค แสงจันทรทิพย1<br />

น.ส. สุทธิลักษณ หนูรอด 5 นายชลิต<br />

เข็มมาลัย 4 นางกาญจนีย<br />

ดํานาคแกว 1 นายวิโรจน จันทรตัน 8 น.ส.นันท นันทพร<br />

กลิ่นจันทร<br />

12 นายสมาน สยุมภูรุจินันท<br />

1 นางสมบูญ<br />

เสนาะเสียง 1 น.ส. บวรวรรณ ดิเรกโภค<br />

1 นางขวัญทอง รักษรณยุทธ<br />

1 นางสาวนิพา<br />

พรรณ สษฤดิ์อภิรักษ<br />

1 นางพวงทอง อังคสุวพลา 1 นางเพญศ<br />

เพญศรี<br />

จิตนําทรัพย 1 นายชูเกียรติ หงษทอง<br />

14 น.ส.ชุษณ ชุษณดา<br />

ขาวมะลิ<br />

14 นายศุภฤกษ<br />

สุดยอดประเสริฐ 15 นายณัฐกิจ<br />

พิพัฒนจาตุรณต<br />

9 น.ส.ยุพาพร<br />

ศรีจันทร 10 นายภิรมย อินทรพันธ<br />

1 จ นาย<br />

ประมวลทุมพงษ<br />

1 นายวรวิทย บํารุงพงษ<br />

1 น.ส.สมานศรี สมานศรี คําสมาน 1 นายศักดา ธุระอบ 7 นายสมจิตต พันธโพธิ<br />

โพธิ6 นายบุญรวม<br />

จิตสามารถ 2 นายกิตติพงษ<br />

สุขคุณณี<br />

คุณณี2 นางสุพัตรา<br />

สุขเกษม 2 น.ส. สมญา จันทรักษ<br />

1 นายสําเริง ภูระหงษ1 นางสาวอมรรัตน<br />

หลอธีรนุวัฒน<br />

1 นางสุชาดา เกิดมงคลการ 13 น.ส.สม สม เอกเฉลิมเกียรติ11<br />

นายถมยา พุกนานนท1 นายนุกุล รอสูงเนิน 14 นาย<br />

วีรศัดิ์<br />

ธํารงควิศวะ<br />

วะ 14 น.ส.เอมอร<br />

ไชยมงคล 12 นางเสาวลักษณ มุสิกรังษี<br />

12 นายทรงวุฒิ ทาจีน 11 นานศุภชาติ<br />

เขมวุฒิ<br />

วุฒิพงษ<br />

20 นายสนธยา ถนอมสวย 21 นางอําไพ สุจริยา 16 นางสายใจ หมื่น 16 บาล นายประทักษิณ มัทวีวงศ


มุมมองของผูอํานวยการสํานักระบาดวิทยา<br />

ผมคิดวากระบวนการสอบสวน<br />

เมื่อเจาะลึกลงไปเปนกรณี ๆ<br />

แลวชี้ใหเห็นเลยวาแตละกรณีเหลานี้<br />

ปองกันไดอยางชัดเจน<br />

อะไรควบคุมได<br />

ปองกันไดอยางไรนี่แหละ<br />

จะเพิ่มพลังทางวิชาการ<br />

8/13/2008 2


.<br />

มอเตอรไซค:พาหนะ<br />

พาหนะ? หรือเพชฌฆาต?<br />

สงครามที่คนไทยไมเคยชนะ<br />

ผมอยูเวรแทบไมมีคนไขโดนยิงหรือถูกแทง<br />

มีแตบาดเจ็บและตายทุกวันจากมอเตอรไซค<br />

“WAR ON THE ROADS”<br />

BMJ, 11 May 2002<br />

อาวุธที่ทํารายคนไทยไมใชระเบิด<br />

หรอกพี่มอ’ ไซคนี่แหละ


มุมมองสวนตัว<br />

จักรยานยนต = พาหนะ<br />

จักรยานยนต =เพชรฆาต


สถานการณ อุบัติหตุจราจรทางถนน พ.ศ.2545-2549<br />

140,000<br />

120,000<br />

100,000<br />

จํานวน<br />

80,000<br />

60,000<br />

อุบัติเหตุ<br />

ผู เสียชีวิต (คน)<br />

ผู บาดเจ็บ(คน)<br />

40,000<br />

20,000<br />

0<br />

เสียชีวิตวันละประมาณ 33 คน หรือชั่วโมงละ 1.38 คน<br />

(12,069)<br />

2545 2546 2547 2548 2549<br />

พ.ศ.<br />

ที่มา :สํานักระบาดวิทยา และสํานักงานตํารวจแหงชาติ


สัดสวนยานพาหนะที่ประสบอุบัติเหตุ พ.ศ.2549<br />

จยย. 48,412 คัน<br />

ที่มา :สํานักงานตํารวจแหงชาติ 2549


พาหนะที่ทําใหเกิดการบาดเจ็บมากที่สุดคือ<br />

รถจักรยานยนต<br />

จยย 15,778,402 คัน<br />

ทั้งหมด 24,807,297 คัน<br />

16.72%<br />

83.28%<br />

ที่มา :เครือขายเฝาระวังการบาดเจ็บสํานักระบาดวิทยา 2549


การเพิ่มจํานวนของรถจักรยานยนต<br />

20,000,000<br />

18,000,000<br />

16,000,000<br />

จํานวนรถ,ลานบาท<br />

14,000,000<br />

12,000,000<br />

10,000,000<br />

8,000,000<br />

6,000,000<br />

4,000,000<br />

2,000,000<br />

0<br />

32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49<br />

YEAR (ปพ.ศ.)<br />

GDP(แสนบาท) รถจักรยานยนต รถยนตสวนบุคคล รถประเภทอื่นๆ<br />

‣ เพิ่มดวยอัตราสูงกวาการเติบโตของเศรษฐกิจใน<br />

ประเทศ


พ.ศ. 2549 คนไทยครอบครองรถจักรยานยนต<br />

ครอบครอง 1.24 ครัวเรือน ตอ 1 คัน<br />

(21หลังคาเรือนมีรถ<br />

17 คัน)<br />

ในอัตราสวน 3.98 คนตอ 1 คัน


ปดถนน-กวาด 154เด็กแวนซ<br />

เด็กแวนซ, เด็กแซบบ, เด็กสกอยซ


วัตถุประสงค เกณฑและเครื่องมือในการสอบสวน<br />

วัตถุประสงค<br />

• เพื่อศึกษาระบาดวิทยาการบาดเจ็บ กลไกในการเกิดการบาดเจ็บ จาก<br />

การขับขี่ และโดยสาร จักรยานยนต<br />

• เพื่อศึกษาองคประกอบที่ทําใหเกิดการบาดเจ็บ ศึกษาสภาพถนน และ<br />

สภาพแวดลอมบริเวณที่เกิดเหตุ<br />

• เพื่อ ศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงของผูขับขี่ ผูโดยสารที่นําไปสูการบาดเจ็บ


เกณฑในการสอบสวน<br />

• ผูประสบอุบัติเหตุรถจักรยานยนตที่เขารับการรักษา ณ แผนกอุบัติเหตุ<br />

ฉุกเฉินของโรงพยาบาลพื้นที่ศึกษาและระหวางวันเวลาที่ทีมสอบสวน<br />

ดําเนินงานในแตละพื้นที่<br />

• โดยคัดเลือก 4 จังหวัด<br />

‣ มีระบบเฝาระวังการบาดเจ็บ<br />

‣ กระจายในทุกภาค<br />

‣ มีจํานวนการเกิดการบาดเจ็บจากจักรยานยนตสูง<br />

‣ มีพฤติกรรมการบาดเจ็บที่เปนปจจัยเสี่ยงคือ มีการใชแอลกอฮอล<br />

หรือไมใชหมวกนิรภัยในจํานวนที่สูง(จากระบบเฝาระวังการบาดเจ็บ<br />

จากระบบเฝาระวังการบาดเจ็บ)<br />

‣ มีความพรอมของบุคลากรในพื้นที่ศึกษา


พื้นที่ศึกษา<br />

จังหวัดตรัง


เครื่องมือสอบสวนการบาดเจ็บ<br />

คูมือสอบสวน<br />

แบบสอบสวนการเกิดเหตุ<br />

แบบสอบสวนการบาดเจ็บผูขับขี่<br />

แบบสอบสวนการบาดเจ็บผูโดยสาร<br />

แบบสอบสวนการบาดเจ็บคนเดินเทา<br />

เครื่องสแกนแผนที่ดาวเทียม(GIS)


จํานวนการเกิดเหตุ<br />

81<br />

เหตุการณ<br />

ยวดยานชนกัน<br />

(52%)<br />

ชนคน<br />

เดินถนน(6%)<br />

ชนตนไม<br />

(15%)<br />

ลมเอง<br />

(27%)<br />

MC<br />

(79%)<br />

Car-Van<br />

(21%)<br />

ผูขับขี่<br />

เสียชีวิต(2)<br />

ผูซอนทาย<br />

เสียชีวิต(1) ขับเร็ว เมา มีสิ่งกีดขวาง<br />

แหลงขอมูล : การสอบสวนการบาดเจ็บจากการจราจรเ สํานักระบาดวิทยา สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 1-12 กระทรวงสาธารณสุข ปภ.สนข.


ผลการศึกษา:ลักษณะการเกิดเหตุ<br />

รอยละขององคประกอบที่นําไปสูการบาดเจ็บและเสียชีวิต<br />

แยกตามลักษณะการเกิดเหตุ<br />

รอยละขององคประกอบที่นําไปสูการบาดเจ็บและเสียชีวิต<br />

แยกเฉพาะการเกิดเหตุของยวดยานชนกัน


ความรุนแรงของการบาดเจ็บในการขับขี่และโดยสารรถจักรยานยนต


ขอสังเกตุ<br />

• ภายหลังการเกิดเหตุ • เกือบครึ่งหนึ่งบาดเจ็บรุนแรง<br />

รับไวรักษา<br />

• รถคันที่ถูกชน(คูกรณี<br />

คูกรณี)<br />

• คนซอนทาย(กรณีที่ขับมา<br />

ดวยความเร็วสูง)<br />

• ไดรับบาดเจ็บรุนแรงที่สุด<br />

• ไดรับบาดเจ็บรุนแรงและ<br />

เสียชีวิต


การดื่มแอลกอฮอลในผูขับขี่รถคันเกิดเหตุ<br />

แหลงขอมูล : การสอบสวนการบาดเจ็บจากการจราจรเ สํานักระบาดวิทยา สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 1-12 กระทรวงสาธารณสุข ปภ.สนข.


รถคูกรณี<br />

42 ราย<br />

จักรยานยนต(79%)<br />

รถยนต(21%)<br />

ดื่มเบียร<br />

ไมดื่ม(76%) ไมดื่ม(100%)<br />

(24%)<br />

แหลงขอมูล : การสอบสวนการบาดเจ็บจากการจราจรเ สํานักระบาดวิทยา สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 1-12 กระทรวงสาธารณสุข ปภ.สนข.


หมวกนิรภัย<br />

• ผูบาดเจ็บที่ไมสวมหมวกนิรภัย<br />

บาดเจ็บรุนแรงและเสียชีวิต<br />

มากกวา


การแตงกายมีผลตอการบาดเจ็บ


การแตงกายที่สัมพันธกับการบาดเจ็บ<br />

• การแตงกายเกือบทั้งหมด<br />

ของผูบาดเจ็บและเสียชีวิต<br />

สวมใสกางเกงขาสั้นเสื้อยืด<br />

หรือสวมผานุงกระโปรง<br />

• สวมรองเทาแตะฟองน้ํา • กระโปรงพันเขาไปในลอรถ<br />

• สะดุดผาถุงเหยีบเบรค<br />

ยีบเบรคไมได<br />

• รองเทาลื่นเบรค<br />

เบรคไมได<br />

• มีแผลถลอกลึกตามแขนขา


ผลการศึกษา: เวลาและความถี่ในการขับขี่จักรยานยนต<br />

• ชวงเวลาที่เกิดเหตุ<br />

•24.01-08.00 น. จํานวน 11 ราย<br />

•08.01-16.00 น. จํานวน 28ราย<br />

•16.01-24.00 น. จํานวน 42 ราย<br />

•สรุป ชวงเวลาเสี่ยง 4 โมงเย็น ถึง 6 ทุม


ผลการศึกษา:สถานที่และสิ่งแวดลอม


ตนไมบาดเจ็บเล็กนอย ? คนเสียชีวิต 2 ราย<br />

อยูหางจากถนน 3 เมตร<br />

ตนไมบาดเจ็บเล็กนอย<br />

ไมมีรอยชนขับรถไถลออกนอกถนนไกล 20 เมตรจนไปหยุดที่ตนไม<br />

คนเสียชีวิต 2 ราย<br />

เพื่อนเลาวานั่งดื่มเบียร 4-5 ชม.กอนขับรถกลับบาน


จักรยานยนตชนตนไมบาดเจ็บสาหัส 2 คน<br />

ชนหลักกิโลเมตรกอน<br />

2 เมตร จากขอบถนน<br />

คนกระเด็นไปหยุดที่รั้วรวดหนาม<br />

ทางโคงกอนชน<br />

จุดที่รถหยุด


จักรยานยนตชนตนไมขางทางขณะไปซื้อเหลาขวดใหม<br />

ตนตาลขางทางที่ชาวบานพึ่งตัดปลายแทงคอ<br />

ศรีษะกระแทกตนไม<br />

รองเทาแตะขางทาง


ลักษณะทางกายภาพของถนน<br />

‣ ลักษณะผิวทาง สวนใหญผิว<br />

ทางเรียบ 73.7%<br />

‣ ขรุขระ12.3%<br />

‣ มีสภาพสีตีเสนและ<br />

เครื่องหมายจราจรบนผิวทาง<br />

ชัดเจน 52.9%


ขอมูลดานการขับขี่ ของผูขับขี่<br />

• ผูขับขี่มีใบขับขี่ (59%)<br />

• ผูขับขี่ไมมีโรคประจําตัวใดๆ<br />

• ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลกอนการเกิดอุบัติเหตุ ภายใน 24 ชม. (41.18%)<br />

• พฤติกรรมการบริโภค<br />

‣ ดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน 17.65 %<br />

‣ ดื่มเครื่องดื่มชูกําลัง 11.76 %<br />

‣ มีประวัติใชสารเสพติด / สารที่มีฤทธิ์ตอระบบประสาท 5.88 %<br />

‣ มีประวัติการใชยาเปนประจํา 11.76 % (ยาแกโรคกระเพาะ<br />

และยานอนหลับ)


• ขอมูลผูขับขี่กอนเกิดอุบัติเหตุ<br />

‣ รถคันที่เกิดเหตุสวนใหญเปนรถของตนเอง (52.94 %)<br />

‣ ผูขับขี่สวนใหญใชเสนทางที่เกิดเหตุเปนประจํา ( 82.35 %)<br />

‣ ผูขับขี่สวมหมวกนิรภัย ( 64.71 %) ใสสายรัดคาง (52.94%)<br />

‣ การสวมหมวกนิรภัยแบบเต็มใบ (35.29%)<br />

‣ ขณะขับขี่กอนเกิดอุบัติเหตุ สวนใหญไมมีกิจกรรมใดๆ ระหวาง<br />

ขับขี่ ( 88.24 %)<br />

‣ สภาพอารมณกอนเกิดเหตุ สวนใหญปกติ


จุดเกิดเหตุผูบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักยานยนต อําเภอเมืองจังหวัดนครสวรรค พ.ศ.2550<br />

101<br />

111<br />

112<br />

110<br />

119<br />

118<br />

102<br />

114<br />

116<br />

109<br />

104<br />

108<br />

117<br />

115 105<br />

103<br />

107


จุดเกิดเหตุผูบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักยานยนต อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี พ.ศ.2550


จุดเกิดเหตุผูบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักยานยนต จังหวัดนครราชสีมา


จุดเกิดเหตุผูบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักยานยนต อําเภอเมือง จังหวัดตรัง พ.ศ.2550


องคประกอบที่นําไปสูการบาดเจ็บและเสียชีวิต:ยานพาหนะ<br />

ยานพาหนะ<br />

• 110-125 125 CC.<br />

• รุนสีและลักษณะเปนรถที่กําลังนิยมในตลาด<br />

• โหลดเตี้ย, โหลดสูง<br />

• ปาดเบาะ<br />

• เปลี่ยนทอไอเสีย<br />

• เปลี่ยนบังโคลน<br />

• เปลี่ยนแฮน


สรุป


ขอคิดเห็นและขอเสนอสนอแนะ<br />

มาตรการการควบคุมปองกันการบาดเจ็บในกลุมผูขับขี่รถจักรยานยนตควรมีความแตกตางกันและเฉพาะกลุม


กําหนดชองจราจรอยางเปนระบบโดยเฉพาะใน<br />

เขตเมืองและในชั่วโมงเรงดวน<br />

‣ มีการกําหนดชอง จยย บริเวณทางแยกที่มีรถจักรยานยนตหนาแนน<br />

ในเขต กทม.<br />

‣ ผลการศึกษาพบวาชอง จยย ไมไดทําใหเกิดความลาชาแกรถสวนตัว<br />

และยังชวยลด conflict ระหวางรถยนตและรถจักรยานยนตดวย


ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ<br />

• ปรับปรุงกฎหมายเรื่องการจํากัดกระบอกสูบรถที่ใชในเขตเมือง<br />

• กําหนดใหจักรยานยนตเปนสินคาเสี่ยงตอสุขภาพ<br />

‣ตองมีภาษีบาป ตองมีภาษีบาป<br />

‣ตองนํารายไดสวนหนึ่งมากําหนดเรื่องการสงเสริมความ<br />

ปลอดภัย<br />

‣มีขอบังคับใหผูจําหนายตองจัดฝกอบรมการใชอยางถูกตอง<br />

อยางนอย 2 คน/1 คันที่จําหนาย<br />

‣บังคับใหมีอุปกรณความปลอดภัยที่มีมาตรฐาน


ขอขอบคุณ<br />

• ผูอํานวยการสํานักระบาด<br />

วิทยา<br />

• ผูอํานวยการโรงพยาบาล<br />

เจาหนาที่ EMS ,ER<br />

‣ตรัง<br />

‣นครสวรรค นครสวรรค<br />

‣ราชบุรี ราชบุรี<br />

• ผูอํานวยการสํานักงาน<br />

ปองกันควบคุมโรคที่ 1-1212<br />

• เจาหนาที่ EMS<br />

• อธิบดีกรมปองกันและ<br />

บรรเทาสาธารณภัย<br />

• อธิบดีกระทรวงคมนาคม<br />

‣นครราชสีมา นครราชสีมา


ขอขอบคุณทีมสอบสวนทุกทานจากทุกหนวยงาน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!