การอนุรักษ์พลังงานด้านการขนส่ง (Energy in Transport)

การอนุรักษ์พลังงานด้านการขนส่ง (Energy in Transport) การอนุรักษ์พลังงานด้านการขนส่ง (Energy in Transport)

11.07.2015 Views

ตารางที ่ 11 การใช้ LPGหน่วย : พันบาร์เรล/วัน2548 (ม.ค. - ก.ย.)2547ปริมาณ สัดส่วน (%) การเปลี ่ยนแปลง (%)ครัวเรือน 48 51 55 6.6อุตสาหกรรม 14 14 15 0.3รถยนต์ 7 9 10 34.5อุตสาหกรรมปิโตรเคมี 14 18 20 40.3รวม 83 92 100 13.2 การผลิต ลิกไนต์ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548มีปริมาณ 16 ล้านตัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 3.6 เมื ่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยร้อยละ 80 ของการผลิตลิกไนต์ในประเทศ ผลิตจากเหมืองแม่เมาะ และกระบี่ของ กฟผ. จำนวน 13 ล้านตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.1ส่วนที่เหลือร้อยละ 20 เป็นการผลิตจากเหมืองเอกชนจำนวน 3 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 20.6 ส่วนใหญ่เป็นการผลิตจากแหล่งสัมปทานของบริษัทบ้านปู โดยการผลิตลิกไนต์จากเหมืองแม่เมาะจะนำไปใช้ในการผลิตไฟฟ้าการใช้ ลิกไนต์/ถ่านหินในช่วง 9 เดือนแรกของปีนี ้เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน มาอยู่ที่ระดับ 22 ล้านตัน ประกอบด้วยการใช้ลิกไนต์ในภาคการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. จำนวน 12.4ล้านตัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 79 ที่เหลือจำนวน 3ล้านตัน นำไปใช้ภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ได้แก่ การผลิตปูนซีเมนต์ กระดาษและเยื่อกระดาษ รวมถึงใช้ในการบ่มใบยาสูบ การใช้ถ่านหินเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.7เป็นการใช้ในอุตสาหกรรมจำนวน 5 ล้านตัน ที ่เหลือใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของ SPP จำนวน 2ล้านตันการนำเข้า ถ่านหินในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548มีปริมาณ 7 ล้านตัน เพิ ่มขึ ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 29.9 การนำเข้าถ่านหินจะนำไปใช้ในภาคอุตสาหกรรมคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 77 ของปริมาณการนำเข้าทั้งหมด เพิ่มขึ้นร้อยละ 27 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ที่เหลืออีกร้อยละ 23 ใช้ในการผลิต กระแสไฟฟ้าในโครงการ SPP โดยลดลงร้อยละ10.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว

ตารางที ่ 12 การผลิตและการใช้ลิกไนต์/ถ่านหิน2547ปริมาณ2548 (ม.ค. - ก.ย.)หน่วย: พันตันอัตราเพิ ่ม (%) สัดส่วน (%)การผลิตลิกไนต์ 20,038 15,647 3.6 100.0การไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ 16,657 12,501 0.1 79.9เหมืองเอกชน* 3,381 3,145 20.6 20.1- บ้านปู 2,168 1,351 -16.90 8.6- ลานนา 488 23 -97.90 0.1- อื ่นๆ 725 1,771 231.3 11.3การนำเข้าถ่านหิน 7,550 6,511 29.9การจัดหา 27,588 22,158 10.2การใช้ลิกไนต์ 20,462 15,688 0.7 100.0ผลิตกระแสไฟฟ้า 16,537 12,379 -0.4 78.9อุตสาหกรรม 3,925 3,309 5.0 21.1การใช้ถ่านหิน 7,550 6,511 15.7 100.0อุตสาหกรรม 5,356 5,006 27.0 76.9ผลิตกระแสไฟฟ้า (SPP) 2,194 1,504 -10.66 23.1ความต้องการ 28,012 22,199 19.6* ข้อมูลเบื้องต้น กำลังการผลิต ของไทย ณ วันที่ 30 กันยายน 2548มีจำนวน 26,431 เมกะวัตต์ โดยเป็นการผลิตติดตั ้งของ กฟผ.15,795 เมกะวัตต์ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 60 รับซื้อจาก IPPจำนวน 8,000 เมกะวัตต์ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 30 รับซื ้อจากSPP จำนวน 1,996 เมกะวัตต์ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 8และนำเข้าจาก สปป.ลาว และแลกเปลี่ยนกับมาเลเซียจำนวน640 เมกะวัตต์ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 2กำลังการผลิตติดตั้งแยกตามประเภทโรงไฟฟ้า ณ สิ้นเดือนกันยายน 2548

ตารางที ่ 11 การใช้ LPGหน่วย : พันบาร์เรล/วัน2548 (ม.ค. - ก.ย.)2547ปริมาณ สัดส่วน (%) การเปลี ่ยนแปลง (%)ครัวเรือน 48 51 55 6.6อุตสาหกรรม 14 14 15 0.3รถยนต์ 7 9 10 34.5อุตสาหกรรมปิโตรเคมี 14 18 20 40.3รวม 83 92 100 13.2 การผลิต ลิกไนต์ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548มีปริมาณ 16 ล้านตัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 3.6 เมื ่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยร้อยละ 80 ของการผลิตลิกไนต์ในประเทศ ผลิตจากเหมืองแม่เมาะ และกระบี่ของ กฟผ. จำนวน 13 ล้านตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.1ส่วนที่เหลือร้อยละ 20 เป็นการผลิตจากเหมืองเอกชนจำนวน 3 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 20.6 ส่วนใหญ่เป็นการผลิตจากแหล่งสัมปทานของบริษัทบ้านปู โดยการผลิตลิกไนต์จากเหมืองแม่เมาะจะนำไปใช้ในการผลิตไฟฟ้าการใช้ ลิกไนต์/ถ่านหินในช่วง 9 เดือนแรกของปีนี ้เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน มาอยู่ที่ระดับ 22 ล้านตัน ประกอบด้วยการใช้ลิกไนต์ในภาคการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. จำนวน 12.4ล้านตัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 79 ที่เหลือจำนวน 3ล้านตัน นำไปใช้ภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ได้แก่ การผลิตปูนซีเมนต์ กระดาษและเยื่อกระดาษ รวมถึงใช้ในการบ่มใบยาสูบ การใช้ถ่านหินเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.7เป็นการใช้ในอุตสาหกรรมจำนวน 5 ล้านตัน ที ่เหลือใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของ SPP จำนวน 2ล้านตันการนำเข้า ถ่านหินในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548มีปริมาณ 7 ล้านตัน เพิ ่มขึ ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 29.9 การนำเข้าถ่านหินจะนำไปใช้ในภาคอุตสาหกรรมคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 77 ของปริมาณการนำเข้าทั้งหมด เพิ่มขึ้นร้อยละ 27 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ที่เหลืออีกร้อยละ 23 ใช้ในการผลิต กระแสไฟฟ้าในโครงการ SPP โดยลดลงร้อยละ10.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!