การอนุรักษ์พลังงานด้านการขนส่ง (Energy in Transport)

การอนุรักษ์พลังงานด้านการขนส่ง (Energy in Transport) การอนุรักษ์พลังงานด้านการขนส่ง (Energy in Transport)

11.07.2015 Views

• การผลิต ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 อยู ่ที ่ระดับ 160พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 3.5 เมื ่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยเป็นการผลิตเบนซินธรรมดาเพิ ่มขึ ้นร้อยละ 7.0ในขณะที ่การผลิตเบนซินพิเศษลดลงขึ ้นร้อยละ 0.4 ตามปริมาณการใช้ที่ลดลงการใช้ อยู ่ที ่ระดับ 126 พันบาร์เรลต่อวัน ลดลงร้อยละ 6.0เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยการใช้น้ำมันเบนซิน95 ลดลงร้อยละ 6.6 เช่นเดียวกับน้ำมันเบนซิน 91 ลดลงร้อยละ5.5 เนื่องจากการส่งเสริมให้ใช้แก๊สโซฮอส์ของรัฐบาลโดยการลดภาษีน้ำมันแก๊สโซฮอล์ ซึ ่งมีผลทำให้ราคาต่ำกว่าน้ำมันเบนซิน 95 ส่งผลให้ประชาชนส่วนหนึ่งหันไปใช้แก๊สโซฮอล์เพิ่มขึ้นจาก 0.04 พันบาร์เรลต่อวัน ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 มาอยู ่ที ่ระดับ 0.4 พันบาร์เรลต่อวัน ในช่วง 9 เดือนแรกของปีนี้การส่งออก ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 อยู ่ที ่ระดับ34 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 68.4 โดยเป็นการส่งออกเบนซิน 95 จำนวน 20 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 33.3และเป็นการส่งออกเบนซิน 91 จำนวน 13 พันบาร์เรลต่อวันเพิ ่มขึ ้นร้อยละ 189.6• ⌫การผลิต น้ำมันดีเซลในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548อยู ่ที ่ระดับ 367 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 1.9 เมื ่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนใหญ่ร้อยละ 99.6 เป็นการผลิตน้ำมันดีเซลหมุนเร็วอยู ่ที ่ระดับ 366 พันบาร์เรลต่อวัน ที ่เหลือร้อยละ 0.4 เป็นการผลิตน้ำมันดีเซลหมุนช้าที ่ระดับ 1 พันบาร์เรลต่อวันการใช้ น้ำมันดีเซลในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 อยู่ที ่ระดับ 346 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 4.9 เมื ่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนการใช้ในช่วง 6 เดือนแรกสูงมากถึงร้อยละ 10.2 แต่หลังจากรัฐบาลประกาศลอยตัวราคาน้ำมันดีเซลตั้งแต่วันที่ 13 กรกฎาคม 2548 เป็นต้นไป ทำให้การใช้ลดลงโดยในช่วง 3 เดือนหลัง (ก.ค.- ก.ย.) การใช้ลดลงร้อยละ5.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2547การนำเข้าและส่งออก การนำเข้าน้ำมันดีเซลในช่วง 9เดือนแรกของปี 2548 อยู ่ที ่ระดับ 16 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 3.7 และเป็นการนำเข้าน้ำมันดีเซลหมุนเร็วทั ้งหมด การส่งออกอยู ่ที ่ระดับ 30 พันบาร์เรลต่อวัน ลดลงร้อยละ 27.0 มีผลทำให้มีการนำเข้าน้ำมันดีเซลสุทธิ 14 พันบาร์เรลต่อวันอัตราการขยายตัวของการใช้น้ำมันเบนซินและดีเซล ปี 2542 - ก.ย 2548

่่• การผลิต น้ำมันเตาในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 อยู ่ทีระดับ 109 พันบาร์เรลต่อวัน ลดลงร้อยละ 5.1 เมื ่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2547การใช้ อยู ่ที ่ระดับ 110 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ1.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าเพิ ่มขึ ้นร้อยละ 33.1 ในขณะที ่ใช้เป็นเชื ้อเพลิงในภาคอุตสาหกรรมลดลงร้อยละ 7.8 สาเหตุน่าจะมาจากราคาน้ำมันที ่ปรับตัวสูงขึ ้น ทำให้ภาคอุตสาหกรรมหันไปใช้เชื ้อเพลิงชนิดอื่นแทนการนำเข้าและส่งออก การนำเข้าในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 อยู่ที่ระดับ 25 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ45.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา เพื่อมาใช้เป็นเชื ้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. เนื ่องจาก กฟผ. มีความจำเป็นที ่ต้องใช้น้ำมันเตาคุณภาพสูงในการผลิตไฟฟ้า (มีกำมะถันต่ำ) และทำให้มีน้ำมันเตาส่งออก 18 พันบาร์เรลต่อวันเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนเป็นผลให้ปริมาณการนำเข้า (สุทธิ) จำนวน 8 พันบาร์เรลต่อวันตารางที่ 10 ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าชนิดของเชื ้อเพลิง 2547 2548 การเปลี ่ยนแปลง (%)(ม.ค. - ก.ย.) 2547 2548 (ม.ค. - ก.ย.)ก๊าซธรรมชาติ (ล้านลบ.ฟุต/วัน)* 1,671 1,784 2.9 8.0น้ำมันเตา (ล้านลิตร) 1,296 1,444 114.2 33.1ลิกไนต์ (พันตัน) 16,537 12,379 7.3 -0.4ดีเซล (ล้านลิตร) 55 46 143.1 -13.3* การใช้ของ EGAT EGCO KEGCO และ RH (ราชบุรี)• การผลิต ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 อยู ่ที ่ระดับ 83พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 7.8การใช้ ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 อยู่ที่ระดับ 73พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 0.6 เมื ่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที ่แล้ว ส่งผลให้การผลิตสูงกว่าความต้องการใช้ในประเทศทำให้มีการส่งออก (สุทธิ) จำนวน 8.8 พันบาร์เรล ต่อวัน• ⌫ การผลิต การผลิตก๊าซปิโตรเลียมเหลวในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 อยู ่ที ่ระดับ 124 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ11.1 เมื ่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื ่องจากโรงแยกก๊าซปตท. โรงที ่ 5 เริ ่มผลิตก๊าซปิโตรเลียมเหลวเข้าสู ่ระบบ ตั ้งแต่เดือนมกราคม รวมเป็นการผลิตจากโรงแยกก๊าซ ปตท. (โรงที1 - 5) คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 51 ส่วนที ่เหลือร้อยละ 49 เป็นการผลิตจากโรงกลั ่นน้ำมัน และอื ่นๆ ในประเทศการใช้ อยู่ในระดับ 92 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ13.2 เมื ่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2547 การใช้ในครัวเรือนอยู่ที่ระดับ 51 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.6 การใช้ในรถยนต์เพิ่มขึ้นร้อยละ 34.5 เนื่องจากราคาน้ำมันเบนซินปรับตัวสูง เป็นสาเหตุให้รถแท็กซี ่และรถยนต์ส่วนบุคคลหันมาใช้ก๊าซ LPG มากขึ้น การใช้ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเพิ่มขึ้นร้อยละ 40.3 การใช้เป็นเชื ้อเพลิงในอุตสาหกรรมเพิ ่มขึ ้นเล็กน้อยร้อยละ 0.3การนำเข้าและการส่งออก ในช่วง 9 เดือนแรกของปี2548 ประเทศไทยไม่มีการนำเข้าก๊าซปิโตรเลียมเหลว แต่มีการส่งออกก๊าซปิโตรเลียมเหลวจำนวน 31 พันบาร์เรลต่อวันส่วนใหญ่ส่งออกไปยังประเทศในเอเชีย ได้แก่ ประเทศสิงคโปร์มีสัดส่วนสูงที่สุดร้อยละ 31 ของปริมาณการส่งออกทั้งหมดรองลงมาได้แก่ประเทศจีน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 29 และเวียดนาม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 28

• การผลิต ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 อยู ่ที ่ระดับ 160พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 3.5 เมื ่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยเป็นการผลิตเบนซินธรรมดาเพิ ่มขึ ้นร้อยละ 7.0ในขณะที ่การผลิตเบนซินพิเศษลดลงขึ ้นร้อยละ 0.4 ตามปริมาณการใช้ที่ลดลงการใช้ อยู ่ที ่ระดับ 126 พันบาร์เรลต่อวัน ลดลงร้อยละ 6.0เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยการใช้น้ำมันเบนซิน95 ลดลงร้อยละ 6.6 เช่นเดียวกับน้ำมันเบนซิน 91 ลดลงร้อยละ5.5 เนื่องจากการส่งเสริมให้ใช้แก๊สโซฮอส์ของรัฐบาลโดยการลดภาษีน้ำมันแก๊สโซฮอล์ ซึ ่งมีผลทำให้ราคาต่ำกว่าน้ำมันเบนซิน 95 ส่งผลให้ประชาชนส่วนหนึ่งหันไปใช้แก๊สโซฮอล์เพิ่มขึ้นจาก 0.04 พันบาร์เรลต่อวัน ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 มาอยู ่ที ่ระดับ 0.4 พันบาร์เรลต่อวัน ในช่วง 9 เดือนแรกของปีนี้การส่งออก ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 อยู ่ที ่ระดับ34 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 68.4 โดยเป็นการส่งออกเบนซิน 95 จำนวน 20 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 33.3และเป็นการส่งออกเบนซิน 91 จำนวน 13 พันบาร์เรลต่อวันเพิ ่มขึ ้นร้อยละ 189.6• ⌫การผลิต น้ำมันดีเซลในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548อยู ่ที ่ระดับ 367 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 1.9 เมื ่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนใหญ่ร้อยละ 99.6 เป็นการผลิตน้ำมันดีเซลหมุนเร็วอยู ่ที ่ระดับ 366 พันบาร์เรลต่อวัน ที ่เหลือร้อยละ 0.4 เป็นการผลิตน้ำมันดีเซลหมุนช้าที ่ระดับ 1 พันบาร์เรลต่อวันการใช้ น้ำมันดีเซลในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 อยู่ที ่ระดับ 346 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 4.9 เมื ่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนการใช้ในช่วง 6 เดือนแรกสูงมากถึงร้อยละ 10.2 แต่หลังจากรัฐบาลประกาศลอยตัวราคาน้ำมันดีเซลตั้งแต่วันที่ 13 กรกฎาคม 2548 เป็นต้นไป ทำให้การใช้ลดลงโดยในช่วง 3 เดือนหลัง (ก.ค.- ก.ย.) การใช้ลดลงร้อยละ5.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2547การนำเข้าและส่งออก การนำเข้าน้ำมันดีเซลในช่วง 9เดือนแรกของปี 2548 อยู ่ที ่ระดับ 16 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 3.7 และเป็นการนำเข้าน้ำมันดีเซลหมุนเร็วทั ้งหมด การส่งออกอยู ่ที ่ระดับ 30 พันบาร์เรลต่อวัน ลดลงร้อยละ 27.0 มีผลทำให้มีการนำเข้าน้ำมันดีเซลสุทธิ 14 พันบาร์เรลต่อวันอัตราการขยายตัวของการใช้น้ำมันเบนซินและดีเซล ปี 2542 - ก.ย 2548

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!