การอนุรักษ์พลังงานด้านการขนส่ง (Energy in Transport)

การอนุรักษ์พลังงานด้านการขนส่ง (Energy in Transport) การอนุรักษ์พลังงานด้านการขนส่ง (Energy in Transport)

11.07.2015 Views

การใช้น้ำมันดิบเพื ่อการกลั ่น ในช่วง 9 เดือนแรกของปี2548 อยู ่ที ่ระดับ 924 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ ่มขึ ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 1.4 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 90 ของความสามารถในการกลั่นทั่วประเทศ การใช้น้ำมันเพื่อการกลั่นของโรงกลั ่นส่วนใหญ่เพิ ่มขึ ้น โดยโรงกลั ่นไทยออยล์ใช้น้ำมันดิบเพื ่อการกลั่นเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4 โรงกลั่นทีพีไอใช้น้ำมันดิบเพื่อการกลั่นเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 โรงกลั่นเอสโซ่ใช้น้ำมันดิบเพื่อการกลั ่นเพิ ่มขึ ้นร้อยละ 25.7 ยกเว้นโรงกลั ่นบางจากใช้น้ำมันดิบเพื่อการกลั่นลดลงร้อยละ 29 โดยโรงกลั่นบางจากทำการปิดซ่อมบำรุงตั ้งแต่วันที ่ 24 มกราคม - 17 กุมภาพันธ์ 2548และโรงกลั ่นทีพีไอปิดซ่อมบำรุงตั ้งแต่วันที ่ 4-13 มีนาคม 2548การนำเข้าและส่งออก ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548มีการนำเข้าน้ำมันดิบอยู่ที่ระดับ 851 พันบาร์เรลต่อวันลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 0.5 ส่วนใหญ่ร้อยละ79 เป็นการนำเข้าจากประเทศตะวันออกกลาง ที่เหลือร้อยละ11 และ 10 เป็นการนำเข้าจากประเทศตะวันออกไกลและที ่อื ่นๆการส่งออกอยู่ที่ระดับ 62 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 10.3 ส่วนใหญ่ส่งออกไปขายที่ประเทศสิงคโปร์ เนื่องจากน้ำมันดิบที่ผลิตได้มีสารโลหะหนักปนอยู่มาก ซึ่งไม่ตรงกับคุณสมบัติที่โรงกลั่นภายในประเทศต้องการปีการจัดหา2541 29,420 679,729 709,149 721,8082542 34,006 698,895 732,901 741,9562543 57,937 643,063 701,000 749,6292544 61,914 678,210 740,124 756,0132545 75,567 679,762 755,329 827,6882546 96,322 709,762 806,084 846,0912547 85,516 813,422 898,939 925,8502548 (ม.ค.-ก.ย.) 109,520 788,385 897,905 923,840การเปลี ่ยนแปลง (%)2544 6.6 55.5 5.6 0.82545 22.1 0.2 2.1 9.52546 27.5 4.4 6.7 2.22547 -11.0 15.0 12.0 9.42548 (ม.ค.-ก.ย.) 29.0 3.2 0.9 1.4* น้ำมันดิบ คอนเดนเสต และอื่นๆตารางที ่ 5 การจัดหาและการใช้น้ำมันดิบผลิตภายในประเทศ นำเข้า (สุทธิ) รวมหน่วย : พันล้านบาทใช้ในโรงกลั ่น* การผลิต ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 อยู ่ที ่ระดับ 2,300ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.2 จากช่วงเดียวกันของปี 2547 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 73 ของปริมาณการใช้ทั้งหมด ส่วนใหญการผลิตได้จากอ่าวไทยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 70 ของการผลิตทั่วประเทศ แหล่งผลิตสำคัญ ได้แก่แหล่งบงกชของบริษัท ปตท.สผ. ผลิตอยู่ที่ระดับ 612 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 3.4 เมื ่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งไพลินของบริษัทยูโนแคล ผลิตอยู ่ที ่ระดับ 440ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.8 แหล่งเอราวัณผลิตอยู ่ที ่ระดับ 277 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 1.1การนำเข้า ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 อยู่ที่ระดับ871 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 22.1 เมื ่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยเป็นการนำเข้าจากสหภาพพม่าทั ้ง2 แหล่ง ได้แก่ แหล่งยานาดา จำนวน 438 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวันเพิ ่มขึ ้นร้อยละ 1.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และจากแหล่งเยตากุน จำนวน 433 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 53.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการเพิ ่มปริมาณการส่งก๊าซต่อวัน (DCQ) ของแหล่งเยตากุนจากระดับ 200 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เป็นระดับ 400 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน

ตารางที ่ 6 การผลิตก๊าซธรรมชาติหน่วย : ล้านลูกบาศก์ฟุต/วันผู ้ผลิต 25472548 (ม.ค. - ก.ย.)ปริมาณ สัดส่วน (%)แหล่งผลิตภายในประเทศ 2,158 2,300 73แหล่งอ่าวไทย 2,069 2,205 70เอราวัณ Unocal 274 277 12ไพลิน Unocal 412 440 19ฟูนานและจักรวาล Unocal 187 220 10สตูล Unocal 104 120 5กะพงและปลาทอง Unocal 10 8 0อื ่นๆ (7 แหล่ง) Unocal 275 297 13บงกช PTT E&P 597 612 27ทานตะวัน Chevron 61 63 3เบญจมาศ Chevron 149 168 7แหล่งบนบก 89 95 3น้ำพอง Exxon Mobil 35 33 1สิริกิติ ์ Thai Shell 54 62 3แหล่งนำเข้า* 726 871 27ยาดานา สหภาพพม่า 439 438 14เยตากุน สหภาพพม่า 287 433 14รวม 2,884 3,171 100* ค่าความร้อนของก๊าซธรรมชาติจากพม่า เท่ากับ 1,000 btu/ลบ.ฟุตการใช้ก๊าซธรรมชาติ ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 อยู ่ที่ระดับ 3,171 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.9เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นการใช้เพื่อการผลิตไฟฟ้า คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 77 ของปริมาณการใช้ทั้งหมดคิดเป็นจำนวน 2,431 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ลดลงร้อยละ 4.3เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน การใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 8 หรือปริมาณ 255ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ที่เหลือใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและอื ่นๆ (โพรเพน อีเทน และLPG) ปริมาณ 485 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 26.8

ตารางที ่ 6 การผลิตก๊าซธรรมชาติหน่วย : ล้านลูกบาศก์ฟุต/วันผู ้ผลิต 25472548 (ม.ค. - ก.ย.)ปริมาณ สัดส่วน (%)แหล่งผลิตภายในประเทศ 2,158 2,300 73แหล่งอ่าวไทย 2,069 2,205 70เอราวัณ Unocal 274 277 12ไพลิน Unocal 412 440 19ฟูนานและจักรวาล Unocal 187 220 10สตูล Unocal 104 120 5กะพงและปลาทอง Unocal 10 8 0อื ่นๆ (7 แหล่ง) Unocal 275 297 13บงกช PTT E&P 597 612 27ทานตะวัน Chevron 61 63 3เบญจมาศ Chevron 149 168 7แหล่งบนบก 89 95 3น้ำพอง Exxon Mobil 35 33 1สิริกิติ ์ Thai Shell 54 62 3แหล่งนำเข้า* 726 871 27ยาดานา สหภาพพม่า 439 438 14เยตากุน สหภาพพม่า 287 433 14รวม 2,884 3,171 100* ค่าความร้อนของก๊าซธรรมชาติจากพม่า เท่ากับ 1,000 btu/ลบ.ฟุตการใช้ก๊าซธรรมชาติ ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2548 อยู ่ที่ระดับ 3,171 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.9เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นการใช้เพื่อการผลิตไฟฟ้า คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 77 ของปริมาณการใช้ทั้งหมดคิดเป็นจำนวน 2,431 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ลดลงร้อยละ 4.3เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน การใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 8 หรือปริมาณ 255ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ที่เหลือใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและอื ่นๆ (โพรเพน อีเทน และLPG) ปริมาณ 485 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เพิ ่มขึ ้นร้อยละ 26.8

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!