18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปลูกมากตามขอบดานขางของแปลง เปนพืชอาหารของที่ดีของไรแดง<br />

Oligonychus sp. ทําใหมีการ<br />

ระบาดของไรแดง Oligonychus sp. ในปริมาณมากและสม่ําเสมอ<br />

เปนเหตุที่ทําให<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

S.<br />

indira, S. pauperculus และ C. orbiculus ซึ่งกิน<br />

ไรแดง Oligonychus sp. เปนอาหารมีความหลาก<br />

หลายมากในพื้นที่<br />

และมีการปลูก คะนาใบ คะนาดอก ผักกวางตุง<br />

กระเจี๊ยบเขียวซึ่งเปนอาหารของ<br />

เพลี้ยออนถั่ว<br />

A. glycines เพลี้ยออนฝาย<br />

A. gossypii เพลี้ยออนตนรัก<br />

A. nerii ทําใหเกิดการระบาด<br />

ของเพลี้ยออนทั้งสามชนิดในพื้นที่เชนกัน<br />

ซึ่งเพลี้ยออนดังกลาวเปนอาหารของดวงเตาตัวห้ํา<br />

C.<br />

sexmaculatus และ C. transversalis ทําใหดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. sexmaculatus และ C. transversalis มี<br />

ความหลากหลายมากในพื้นที่เชนกัน<br />

แตเนื่องจากถั่วพลูและถั่วฝกยาวมีวงจรชีวิตที่ยาวกวาพืชใน<br />

กลุมคะนาใบ<br />

คะนาดอก ผักกวางตุง<br />

กระเจี้ยบ<br />

จึงทําให ไรแดง Oligonychus sp. สามารถแพรพันธุ<br />

และกระจายพันธุอยูในพื้นที่ไดนานกวาเพลี้ยออนถั่ว<br />

A. glycines เพลี้ยออนฝาย<br />

A. gossypii เพลี้ย<br />

ออนตนรัก A. nerii เปนสาเหตุที่<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

S. indira, S. pauperculus และ C. orbiculus มี<br />

ความหลากหลายมากกวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. sexmaculatus และ C. transversalis<br />

พื้นที่แปลงปลูกผักแบบยกรองมีคูน้ํากั้นซึ่งมีชนิดของดวงเตาตัวห้ํา<br />

14 ชนิด คือ S. indira,<br />

S. pauperculus, N. ryuguus, S. rectoides, C. orbiculus, C. fulvocinctus, Cryptogonus sp.1,<br />

Cryptogonus sp.2, B. lineatus, C. transversalis, C. septempunctata, M. discolor, C. sexmaculatus,<br />

C. inaequalis และพบวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

S. pauperculus มีคาความหลากหลายมากที่สุดเทากับ<br />

2.290+0.045 ลําดับที่สองคือดวงเตาตัวห้ํา<br />

S. indira มีคาความหลากหลายเทากับ 2.078+0.055 ซึ่ง<br />

ทั้งสองชนิดเปนตัวห้ํา<br />

ไรแดง Oligonychus sp. (Acari: Tetranychidae) ลําดับที่สามคือดวงเตาตัว<br />

ห้ํา<br />

C. orbiculus มีคาความหลากหลายเทากับ 2.027+0.122 เปนตัวห้ํา<br />

ไรแดง Oligonychus sp.<br />

(Acari: Tetranychidae) ลําดับที่สี่คือดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus sp.1 มีคาความหลากหลายเทากับ<br />

1.978+0.077 เปนตัวห้ํา<br />

ไรแดง Oligonychus sp. (Acari: Tetranychidae) ลําดับที่หาคือดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. sexmaculatus มีคาความหลากหลายเทากับ 1.974+0.084 เปนตัวห้ํา<br />

เพลี้ยออนถั่ว<br />

A. glycines<br />

เพลี้ยออนฝาย<br />

A. gossypii เพลี้ยออนตนรัก<br />

A. nerii จากการศึกษาสภาพพื้นที่สาเหตุที่ทําใหมีความ<br />

หลากหลายของดวงเตาตัวห้ําทั้งหาชนิดมาก<br />

พบวามีลักษณะเดียวกับพื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปน<br />

ผืนใหญในเรื่องของชนิดพันธุพืชที่ปลูก<br />

คือมีการปลูก ถั่วพลู<br />

และถั่วฝกยาว<br />

ตามขอบดานขางของ<br />

แปลง ทําใหมีการระบาดของไรแดง Oligonychus sp. ในปริมาณมากและสม่ําเสมอ<br />

เปนเหตุที่ทํา<br />

ใหดวงเตาตัวห้ํา<br />

S. indira, S. pauperculus C. orbiculus และ Cryptogonus sp.1 ซึ่งกิน<br />

ไรแดง<br />

Oligonychus sp. เปนอาหาร มีความหลากหลายมากในพื้นที่<br />

และมีการปลูก คะนาใบ คะนาดอก<br />

84

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!