18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

2.3 ทําการเก็บตัวอยางตลอดป โดยกําหนดชวงเวลาเก็บตัวอยาง รวม 12 ครั้ง<br />

เปนเวลา 1 ป<br />

จากนั้นนําตัวอยางที่เก็บได<br />

มาวินิจฉัยจําแนกชนิดภายในหองปฏิบัติการ<br />

3. นําตัวอยางที่สํารวจไดมาวินิจฉัยชนิดในหองปฏิบัติการ<br />

ใชลักษณะสัณฐานวิทนาภายนอก และ<br />

อวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ําเพศผูในการจําแนก<br />

โดยใชคูมือจําแนกชนิดดวงเตาตัวห้ําของ<br />

Sasaji (1971) และเทียบตัวอยางจากพิพิธภัณฑแมลง กลุมงานอนุกรมวิธานแมลง<br />

กลุมกีฏและ<br />

สัตววิทยา สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร<br />

4. การวิเคราะหขอมูล<br />

4.1 นําตัวอยางดวงตัวห้ําที่วินิจฉัยชนิดแลว<br />

มานับจํานวน จํานวนชนิด วิเคราะหหาความหลาก<br />

หลายในสภาพแปลงปลูกผักเกษตรอินทรียที่แตกตางกัน<br />

คาดัชนีความหลากหลาย (diversity indices) เปนสมการสําหรับวัดความหลากหลาย ซึ่ง<br />

ไดรวมคาความหลากชนิด และคาความสม่ําเสมอ<br />

เพื่อเปรียบเทียบคาความหลากหลายในแตละ<br />

สภาพพื้นที่แปลงปลูก<br />

โดยใชสูตรของ Shannon-Wiener , s Index ตาม Ludwing และ<br />

Reynoldes (1998) ดังนี้<br />

s<br />

H΄ = - ∑ (pi) (ln pi)<br />

i=1<br />

เมื่อ<br />

H΄ คือ ความหลากหลายของ Shannon-Wiener , s Index<br />

S คือ จํานวนชนิด<br />

pi คือ สัดสวนระหวางจํานวนตัวอยางของสิ่งมีชีวิต<br />

(i = 1, 2, 3,…)<br />

ln คือ log e (the natural logarithm)<br />

24

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!