18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ประสิทธิภาพการเปนตัวห้ํา<br />

ดวงเตาตัวห้ําสามารถพบไดทั่วไปในแปลงผัก<br />

ดวงเตาตัวห้ําแตละสกุลมีบทบาทเปนแมลง<br />

ศัตรูธรรมชาติทําลายแมลงศัตรูพืชที่แตกตางกัน<br />

โดยมีความสําคัญในการควบคุมปริมาณของแมลง<br />

ศัตรูพืชในธรรมชาติไมใหทวีจํานวนมากขึ้นจนถึงขั้นเกิดการระบาดทําความเสียหายทางเศรษฐกิจ<br />

ในประเทศไทย<br />

ดวงเตาตัวห้ําในหลายสกุลชอบกินเพลี้ยออน<br />

แตถาไมมีเพลี้ยออนก็สามารถเปลี่ยนไปกิน<br />

เหยื่อชนิดอื่นได<br />

บางครั้งดวงเตาตัวห้ําอาจกินไข<br />

ตัวหนอน หรือดักแดของดวงเตาตัวห้ําดวยกัน<br />

เตา<br />

ตัวห้ําที่สํารวจพบในปริมาณที่สูง<br />

และมีประสิทธิภาพในการควบคุมแมลงศัตรูพืชชนิดตาง ๆ ไดแก<br />

Menochilus sexmaculatus (Fabricius), Coccinella transversalis, Chilocorus nigritus (Fabricius),<br />

Micraspis discolor (Fabricius), Synonycha grandis (Thunberg), Scymnus sp., Coccinella<br />

septempunctata, Oenopia sp., C. coeruleus (ชาญณรงคและคณะ, 2543) ดวงเตาตัวห้ํามีพฤติ<br />

กรรมการเปนตัวห้ําทั้งระยะตัวหนอนและตัวเต็มวัย<br />

กินแมลงที่มีขนาดเล็ก<br />

เชน เพลี้ยออน<br />

(aphid)<br />

เพลี้ยแปง<br />

(mealybugs) เพลี้ยหอย<br />

(wex scale) แมลงหวี่ขาว<br />

(Whitefly) ไรที่กินพืช<br />

(phytophagous<br />

mites) และไขของแมลงศัตรูพืชชนิดตาง ๆ เปนอาหาร (Sasaji, 1971)<br />

ดวงเตาตัวห้ําสกุล<br />

Menochilus Agarwala et al. (1999, 2001) รายงานวา ดวงเตาตัวห้ํา<br />

M. sexmaculatus และ C. transversalis ทั้งระยะตัวออนและตัวเต็มวัยเปนตัวห้ําของเพลี้ยออน<br />

A. craccivora ที่เปนแมลงศัตรูพืช<br />

การกินอาหารของตัวออนมีผลตอขนาดของตัวเต็มวัย และเมื่อ<br />

เปรียบเทียบโดยใชระยะเวลาที่เทากันพบวาตัวเต็มวัยที่มีขนาดเล็กสามารถกินอาหารไดมากกวาตัวที่<br />

มีขนาดใหญกวา อัตราที่เหมาะสมที่ตัวออนของดวงเตาตัวห้ํา<br />

M. sexmaculatus หนึ่งตัวสามารถกิน<br />

เพลี้ยออน<br />

A. craccivora ไดสิบตัว ในขณะที่ตัวเต็มวัยหนึ่งตัวสามารถกินเพลี้ยออน<br />

A. craccivora<br />

ไดสี่สิบตัว<br />

ตอวัน และอัตราการเปลี่ยนแปลงของประชากรดวงเตาตัวห้ําทั้งสองชนิดจะเปลี่ยนแปลง<br />

ไปตามความหนาแนนของประชากรของเพลี้ยออน<br />

เมื่อความหนาแนนของประชากรเพลี้ยออนเพิ่ม<br />

ขึ้นจะทําใหจํานวนของดวงเตาตัวห้ําเพิ่มขึ้นตามไปดวย<br />

แตประสิทธิภาพการเปนตัวห้ําจะดีที่สุดเมื่อ<br />

ความหนาแนนของประชากรของเพลี้ยออนไมมากเกินไป<br />

Campbell et al. (1980) ไดทําการศึกษา<br />

ชีววิทยาของดวงเตาตัวห้ํา<br />

M. sexmaculatus ในหองปฏิบัติการโดยใชเพลี้ยออน<br />

Schizaphis<br />

graminum (Rond.) (Homoptera: Aphididae) ซึ่งเปนศัตรูพืชที่สําคัญในสหรัฐอเมริกา<br />

เปนอาหารใน<br />

19

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!