18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ชีววิทยาของดวงเตาตัวห้ํา<br />

ลักษณะของแมลงตัวห้ํา<br />

(Predators) คือ เปนแมลงที่กินแมลงชนิดอื่น<br />

ๆ เปนอาหาร และ<br />

การกินนั้นจะกินเหยื่อเปนจํานวนหลายตัวจนกวาจะเจริญเติบโตเปนตัวเต็มวัยและครบวงจรชีวิต<br />

แมลงตัวห้ําที่พบไดทั่วไป<br />

เชน มวนพิฆาต Eocanthecona furcellata (Wolff) (Hemiptera:<br />

Pentatomidae) มวนเพชฌฆาต Sycanus sp. (Hemiptera: Reduviidae) และดวงเตา Coccinella<br />

transversalis Fabricius (Coleoptera: Coccinellidae) เปนตน แมลงเหลานี้มีศักยภาพในการควบคุม<br />

แมลงศัตรูพืช แมลงตัวห้ํากลุมที่มีความสําคัญ<br />

ไดแก ดวงเตาตัวห้ําชนิดตางๆ<br />

เนื่องจากดวงเตาตัวห้ํา<br />

มีการขยายพันธุและการเจริญเติบโตที่รวดเร็วเชนเดียวกับแมลงศัตรูพืช<br />

และดวงเตาตัวห้ํามีประสิทธิ<br />

ภาพสูงในการควบคุมแมลงศัตรูพืชชนิดตาง ๆ (พิมลพร, 2545; Jervis and Neil, 1996) การผสม<br />

พันธุของดวงตัวห้ํามีวิธีการเชนเดียวกับแมลงในกลุมดวงทั่วไป<br />

โดยตัวผูจะจับแนนอยูดานบนของ<br />

ตัวเมีย ระยะเวลาของการผสมพันธุขึ้นกับชนิดของดวงเตาตัวห้ํา<br />

เชน ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Coccinella<br />

septempunctata Linnaeus (Coleoptera: Coccinellidae) ใชเวลาตั้งแต<br />

5 นาทีถึง 4 ชั่วโมง<br />

(Johnssen,<br />

1930) ดวงเตาตัวห้ํามีการเจริญเติบโตแบบสมบูรณ<br />

(Complete metamorphosis) ระยะการเจริญเติบ<br />

โต 4 ระยะ คือ ระยะไข ระยะหนอน ระยะดักแด และระยะตัวเต็มวัย ตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไขได<br />

ตั้งแต<br />

200 ฟองไปจนถึงมากกวา 1,000 ฟองภายในระยะเวลาไมกี่เดือน<br />

และมักจะวางไขไวเปนกลุม<br />

เล็กๆ ทั้งนี้ประชากรของดวงเตาตัวห้ําจะขึ้นอยูกับขนาดของประชากรศัตรูพืช<br />

โดยทั่วไปแลวดวง<br />

เตาตัวห้ําจะวางไขบนใบไมหรือลําตนของตนพืชที่อยูใกลเหยื่อ<br />

เชน ใกลกลุมเพลี้ยออน<br />

ตัวหนอน<br />

ของดวงเตาตัวห้ําเคลื่อนที่ไดรวดเร็วและยังสามารถเดินทางไดเปนระยะทางไกล<br />

ๆ เพื่อหาเหยื่อ<br />

ตัวเต็มวัยดวงเตาตัวห้ํามีชีวิตอยูไดหลายเดือนหรืออาจถึงป<br />

ในแตละปดวงเตาตัวห้ําสามารถขยาย<br />

พันธุไดหลายรุน<br />

(สมหมาย, 2545) Hagen (1962) รายงานวาทั้งตัวออนและตัวเต็มวัยของดวงเตาตัว<br />

ห้ํา<br />

กัดกินกันเองในกรณีที่ขาดแคลนอาหาร<br />

นอกจากนี้<br />

วงจรชีวิตของดวงเตาตัวห้ํายังขึ้นอยูกับ<br />

ปจจัยหลายอยาง เชน อาหาร อุณหภูมิ ความชื้น<br />

เปนตน และโดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อเกิดภาวะขาด<br />

แคลนเหยื่อ<br />

Junsung (2001) ไดศึกษาวงจรชีวิตดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. transversalis ในหองปฏิบัติการที่<br />

อุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ<br />

75 เปอรเซ็นต โดยใชเพลี้ยออน<br />

Aphis craccivora<br />

Koch (Homoptera: Aphididae) เปนอาหารหรือเหยื่อ<br />

(prey) พบวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. transversalis<br />

เพศเมียสามารถวางไขไดประมาณ 256-1,063 ฟอง วงจรชีวิตจากไขจนเปนตัวเต็มวัยใชเวลา 13-21<br />

17

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!