18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

่<br />

มุมในแปลงปลูกขาวสาลี ระหวางระบบแบบเกษตรอินทรียกับระบบเกษตรทั่วไป<br />

พบวาในแปลง<br />

เกษตรอินทรียมีจํานวนและชนิดของแมงมุมสูงกวา ซึ่งเปนผลมาจากความหลากหลายของพืชใน<br />

ระบบเกษตรอินทรีย และยังพบวาในแปลงเกษตรอินทรียมีจํานวนชนิดของผีเสื้อที่ไมไดเปนศัตรูพืช<br />

สูงกวาในแปลงเกษตรทั่วไป<br />

ในขณะที่แปลงเกษตรทั่วไปมีจํานวนชนิดผีเสื้อที่เปนศัตรูพืชสูงกวา<br />

ในอดีตระบบการปลูกพืชในหลายประเทศเปนระบบที่มุงเนนการใชสารเคมี<br />

ทําใหสภาพแวดลอม<br />

ทางการเกษตรเสียหาย แมลงศัตรูที่สําคัญทางการเกษตรมีปริมาณสูง<br />

ทําความเสียหายใหแกผลผลิต<br />

มาก ยากแกการปองกันกําจัด ปริมาณศัตรูธรรมชาติลดลงจนไมสามารถควบคุมแมลงศัตรูพืชได<br />

และการสรางความตานทานของแมลงศัตรูพืชตอสารเคมีปองกันและกําจัดแมลงศัตรูพืชผัก กอให<br />

เกิดปญหาของเกษตรกรผูปลูกผักซึ่งจําเปนตองไดรับการแกไข<br />

และความรวมมือจากหนวยงานที<br />

เกี่ยวของ<br />

(พิบูลย, 2543) แมลงตัวห้ําเปนแมลงที่มีบทบาทสําคัญในการควบคุมแมลงศัตรู<br />

สําคัญ<br />

ทางการเกษตรหลายชนิด และสามารถใชเปนดัชนีบงชี้คุณภาพของถิ่นที่อยูอาศัยได<br />

(Stolton,<br />

2002) ดังนั้นการศึกษาความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําของแมลงศัตรูผัก<br />

ตลอดจนประสิทธิภาพ<br />

การเปนตัวห้ํา<br />

และความเหมาะสมของชนิดดวงเตาตัวห้ําที่จะนําไปใชประโยชน<br />

ในการควบคุม<br />

แมลงศัตรูผักในระบบเกษตรอินทรีย จึงเปนเรื่องที่ควรศึกษาเปนอยางยิ่ง<br />

เพื่อการนําไปใชประโยชน<br />

ในแปลงปลูกผักเกษตรอินทรียตอไป<br />

2

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!