18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ความหลากชนิดของดวงเตาตัวห้ําในแปลงผักเกษตรอินทรีย<br />

Diversity of the Predaceous Coccinellids<br />

(Coleoptera: Coccinellidae) on Vegetable Crops in Organic Farming<br />

คํานํา<br />

ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ประชากรสวนใหญของประเทศทําการเกษตรเพื่อ<br />

การยังชีพ ซึ่งระบบการเกษตรในอดีต<br />

มักจะไมใชสารเคมี ปุยเคมีหรือใชแตนอยมาก<br />

แตปจจุบัน<br />

การเกษตรเปลี่ยนไป<br />

นอกจากผลิตเพื่อบริโภคในครอบครัวแลวยังผลิตเพื่อคาขายในประเทศและสง<br />

ออกไปยังตางประเทศ ทําใหรูปแบบการผลิตทางการเกษตรเปลี่ยนไป<br />

เกษตรกรไดนําสารเคมีมาใช<br />

ในการปองกันและกําจัดศัตรูพืช ใชปุยเคมีในการปรับปรุงบํารุงดิน<br />

ใชสารเคมีในการกําจัดวัชพืช<br />

ตลอดจนใชฮอรโมนกระตุนการเจริญเติบโตของพืชและสัตว<br />

ผลเสียจึงตกอยูกับผูบริโภคและสภาพ<br />

แวดลอม โดยเฉพาะสิ่งแวดลอมที่เสียสมดุลไปอยางมาก<br />

วิสุทธิ์<br />

(2544) รายงานวา การสูญเสียความ<br />

หลากหลายทางชีวภาพ อันเนื่องมาจากการขยายพื้นที่ทําเกษตรกรรม<br />

ทําใหเกิดการทําลายถิ่นอาศัย<br />

ตลอดจนปญหามลพิษในแหลงน้ํา<br />

ที่กลายเปนปญหาสําคัญอันดับหนึ่งตอทรัพยากรและสิ่งแวดลอม<br />

จากรายงานการสํารวจของกรมสงเสริมการเกษตร เมื่อป<br />

พ.ศ. 2543 พบวาประเทศไทยมีเนื้อที่ทํา<br />

การเกษตรอันดับที่<br />

48 ของโลก แตใชยาฆาแมลงเปนอันดับ 5 ของโลก ใชยาฆายาเปนอันดับ 4 ของ<br />

โลก ใชฮอรโมนเปนอันดับ 4 ของโลก ประเทศไทยนําเขาสารเคมีสังเคราะหทางการเกษตร เปนเงิน<br />

สามหมื่นลานบาทตอป<br />

เกษตรตองมีปจจัยการผลิตที่เปนสารเคมีสังเคราะหในการเพาะปลูก<br />

ทําให<br />

เกิดการลงทุนสูงและเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง<br />

ขณะที่ราคาผลผลิตในรอบยี่สิบปไมไดสูงขึ้นตามสัดสวน<br />

ของตนทุนที่สูงขึ้นนั้นมีผลใหเกษตรขาดทุน<br />

มีหนี้สิน<br />

(กรมสงเสริมการเกษตร, 2547) ดังนั้นเพื่อ<br />

หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีในพื้นที่เกษตรกรรม<br />

เกษตรอินทรียจึงเปนทางเลือกหนึ่งของการแกปญหา<br />

เหลานั้นได<br />

การปลูกพืชแบบเกษตรอินทรีย (Organic Agriculture) มุงเนนคุณภาพสิ่งแวดลอม<br />

รักษา<br />

สมดุลธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีระบบการจัดการนิเวศวิทยาที่คลาย<br />

คลึงกับ<br />

ธรรมชาติ และหลีกเลี่ยงการใชสารสังเคราะห<br />

Pfiffner (2000) รายงานวา จํานวนและความหลาก<br />

หลายของแมลงในแปลงเกษตรอินทรียมีปริมาณสูง เนื่องมาจากการจัดการในระบบแปลงเกษตร<br />

อินทรีย มีการใสปุยอินทรียในปริมาณนอย<br />

มีการปลูกพืชหมุนเวียนมาก และมีการจัดระบบการใช<br />

พื้นที่แบบกึ่งธรรมชาติ<br />

กึ ่งระบบเกษตร Feber et al. (1997, 1998) ไดศึกษาเปรียบเทียบจํานวนแมง<br />

1

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!