18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

วิทยานิพนธ<br />

เรื่อง<br />

ความหลากชนิดของดวงเตาตัวห้ําในแปลงผักเกษตรอินทรีย<br />

Diversity of the Predaceous Coccinellids<br />

(Coleoptera: Coccinellidae) on Vegetable Crops in Organic Farming<br />

โดย<br />

นางสาวสุนัดดา เชาวลิต<br />

เสนอ<br />

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต<br />

(เกษตรศาสตร)<br />

พ.ศ. 2548<br />

ISBN 974-9837-17-7


คํานิยม<br />

ขาพเจาขอกราบขอบพระคุณ รศ. โกศล เจริญสม ประธานกรรมการ ผศ. ดร. วีรวรรณ<br />

อมรศักดิ์<br />

กรรมการวิชาเอก รศ. ดร. วิทยา สุริยาภณานนท กรรมการวิชารอง และ รศ. ดร.<br />

นิรันดร จันทวงศ อาจารยผูแทนบัณฑิตวิทยาลัย<br />

ที่ไดกรุณาใหคําปรึกษาแนะนําตลอดจนตรวจ<br />

แกไขขอบกพรองตาง ๆ จนวิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยดี<br />

ขอกราบขอบพระคุณ อาจารยวิรัช หอมจันทร อาจารยพิเศษ ภาควิชากีฏวิทยา มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร ที่ใหการสนับสนุนทุนในการทําวิทยานิพนธครั้งนี้<br />

ขอกราบขอบพระคุณ คุณปริญญา<br />

คุณมาลี พรศิริชัยวัฒนา ที่ไดใหความอนุเคราะหสถานที่ในการสํารวจและเก็บตัวอยางแมลงที่ใช<br />

ในการทําวิทยานิพนธ<br />

ขอกราบขอบพระคุณ คุณศิริณี พูนไชยศรี หัวหนากลุมงานอนุกรมวิธานแมลง<br />

ที่ไดกรุณา<br />

ใหคําปรึกษาแนะนํา ตลอดจนใหความรูทางอนุกรมวิธานแมลง<br />

ขอกราบขอบพระคุณ คุณสมหมาย<br />

ชื่นราม ที่ใหคําแนะนําในการศึกษาอนุกรมวิธานดวงเตาตัวห้ํา<br />

ขอกราบขอบพระคุณ คุณชลิดา<br />

อุณหวุฒิ คุณพรรณเพ็ญ ชโยภาส คุณรัตนา นชะพงษ คุณลักขณา บํารุงศรี คุณสมชัย สุวงศ<br />

ศักดิ์ศรี<br />

คุณณัฐวัฒน แยมยิ้ม<br />

และคุณสิทธิศิโรดม แกวสวัสดิ์<br />

ขาราชการกลุมงานอนุกรมวิธาน<br />

แมลง ที่ใหการสนับสนุนดวยดีตลอดมา<br />

ขอกราบขอบพระคุณ คุณแสงอรุณ วังสุข และขอ<br />

ขอบพระคุณ เจาหนาที่กลุมงานอนุกรมวิธานแมลง<br />

กองกีฏและสัตววิทยา สํานักวิจัยพัฒนาการ<br />

อารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร ทุกทานที่ใหการสนับสนุนทั้งแรงกายแรงใจดวยดีตลอดมา<br />

สุดทายนี้ขอกราบขอบพระคุณ<br />

คุณพอ คุณแม และพี่นองทุกคนในครอบครัว<br />

ที่ใหการ<br />

สนับสนุน และเปนกําลังใจอยางดียิ่งแกขาพเจาเสมอมา<br />

สุนัดดา เชาวลิต<br />

พฤษภาคม 2548


สารบัญ<br />

่<br />

สารบัญ (1)<br />

สารบัญตาราง (2)<br />

สารบัญภาพ (3)<br />

คําอธิบายอักษรยอ (7)<br />

คํานํา 1<br />

วัตถุประสงค 3<br />

การตรวจเอกสาร 4<br />

เกษตรอินทรีย 4<br />

ลักษณะทั่วไปของดวงเตาตัวห้ํา<br />

7<br />

ชีววิทยาของดวงเตาตัวห้ํา<br />

17<br />

ประสิทธิภาพการเปนตัวห้ํา<br />

19<br />

อุปกรณและวิธีการ 22<br />

อุปกรณ 22<br />

วิธีการ 23<br />

สถานที่และระยะเวลาศึกษา<br />

29<br />

ผลการทดลองและวิจารณ 30<br />

ผลการศึกษาชนิดของดวงเตาตัวห้ํา<br />

ผลการเปรียบเทียบความหลากชนิดของดวงเตาตัวห้ําในสภาพพื้นที<br />

30<br />

เพาะปลูกที ่แตกตางกัน 82<br />

สรุปผลการทดลอง 91<br />

เอกสารอางอิง 93<br />

ภาคผนวก 100<br />

(1)<br />

หนา


สารบัญตาราง<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

1 ความหนาแนนของดวงเตาตัวห้ําทุกชนิดในแปลงปลูกผักเกษตรอินทรีย<br />

87<br />

2 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําทุกชนิดในแปลงปลูกผักเกษตรอินทรีย<br />

87<br />

3 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําในแปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

88<br />

4 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําในแปลงปลูกผักที่มีการยกรองมีคูน้ํากั้น<br />

89<br />

5 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผัก<br />

90<br />

ตารางผนวกที่<br />

1 ขอมูลรวมดวงเตาตัวห้ําในแปลงปลูกผักเกษตรอินทรีย<br />

118<br />

(2)


สารบัญภาพ<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

1 โครงสรางดานบน(dorsal) ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

11<br />

2 โครงสรางสวนหัวของดวงเตาตัวห้ํา<br />

12<br />

3 โครงสรางดานลาง (ventral) ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

13<br />

4 โครงสรางปกของดวงเตาตัวห้ํา<br />

14<br />

5 โครงสรางสวนทองดานลางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

15<br />

6 โครงสรางอวัยวะสืบพันธุเพศผูของดวงเตาตัวห้ํา<br />

16<br />

7 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Serangium sp. 36<br />

8 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Stethorus indira Kapur 37<br />

9 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Stethorus pauperculus (Weise) 38<br />

10 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Nephus ryuguus (H. Kamiya) 40<br />

11 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus rectoides Sasaji 42<br />

12 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus sodalis (Weise) 44<br />

13 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus nigrosuturalis H. Kamiya 45<br />

14 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus quadrillum Motschulsky 47<br />

15 ตัวเต็มวัยดานบน และลักษณะอวัยวะภายนอกองดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus pallidicollis Mulsant 48<br />

16 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

(3)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

Scymnus sp.1 50<br />

17 ตัวเต็มวัยดานบนลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus orbiculus (Gyllenhal) 52<br />

18 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus trioblitus (Gyllenhal) 54<br />

19 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus fulvocinctus (Mulsant) 55<br />

20 ตัวเต็มวัยดานบน และลักษณะอวัยวะภายนอกของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus fulvoterminatus Boheman 57<br />

21 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus sp. 1 58<br />

22 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus sp. 2 60<br />

23 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus sp. 3 61<br />

24 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Brumus lineatus (Weise) 64<br />

25 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Chilocorus gressitti Miyatake 67<br />

26 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Coccinella transversalis Fabricius 68<br />

27 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Coccinella septempunctata Linnaeus 70<br />

28 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Harmonia octomaculata (Fabricius) 72<br />

(4)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

29 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Harmonia sedecimnotata (Fabricius) 73<br />

30 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Micraspis discolor (Fabricius) 75<br />

31 ตัวเต็มวัยดานบน และลักษณะอวัยวะภายนอกของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Micraspis vincta (Gorham) 77<br />

32 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cheilomenes sexmaculatus (Fabricius) 79<br />

33 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Coelophora inaequalis (Fabricius) 81<br />

ภาพผนวกที่<br />

1 พื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

101<br />

2 พื้นที่แปลงปลูกผักที่มีการยกรองมีคูน้ํากั้น<br />

102<br />

3 พื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผัก<br />

103<br />

4 ความหนาแนนของดวงเตาตัวห้ําในพื้น<br />

ที่แปลงผักเกษตรอินทรีย<br />

104<br />

5 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่แปลงผักเกษตรอินทรีย<br />

105<br />

6 ความหนาแนนของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

106<br />

7 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

107<br />

8 ความหนาแนนของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่แปลงปลูกผักที่มีการยกรอง<br />

108<br />

9 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่แปลงปลูกผักที่มีการยกรอง<br />

109<br />

10 ความหนาแนนของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่พื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผัก<br />

110<br />

11 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําพื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผัก<br />

111<br />

12 โครงสรางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Tribe Serangiini 112<br />

(5)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพผนวกที่<br />

หนา<br />

13 โครงสรางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Tribe Stethorini 113<br />

14 โครงสรางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Tribe Scymnini 114<br />

15 โครงสรางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Tribe Aspidimerini 115<br />

16 โครงสรางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Tribe Chilocorini 116<br />

17 โครงสรางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Tribe Coccinellini 117<br />

(6)


คํายอ คําเต็ม<br />

คําอธิบายอักษรยอ<br />

AC = Antennal Club<br />

Ant = Antenna<br />

AS = Antennal Socket<br />

Av = Anal vein<br />

Bp = Basal piece of tegmen<br />

C = Costa<br />

CC1 = Fore Coxal Cavity<br />

CC2 = Middle Coxal Cavity<br />

CC3 = Hind Coxal Cavity<br />

Cd = Cardo<br />

Cl = Claw<br />

Clp = Clypeus<br />

Cu = Cubitus<br />

E = Elytra<br />

Eep = Elytral epipleuron<br />

ej = ejacultory duct<br />

ES = Elytral Suture<br />

Ey = Compound Eye<br />

fl = flagellum<br />

Fl = Femoral line<br />

Fm 1 = Femur of fore leg<br />

Fm 2 = femur of middle leg<br />

Fm 3 = femur of hind leg<br />

Fr = Frons<br />

g = groove for the reception of sipho<br />

(7)


คํายอ คําเต็ม<br />

Gs = Gular suture<br />

Gu = Gular<br />

H = Head<br />

Hc = Humeral callus<br />

Hp = Hypomeron<br />

Inf = Infundibulum<br />

Iod = Interocular distance<br />

ip = inner process<br />

Jr = Jugal region<br />

L 1 = fore leg<br />

L 2 = middle leg<br />

L 3 = hind leg<br />

Lc = Lacinia<br />

Lfl = Lateral femoral line<br />

Ll = Lateral lobe of termen<br />

Lm = Labrum<br />

Lp = Labial palpus<br />

M = Media<br />

Md = Mandible<br />

Mp = Maxillary palpus<br />

Ms = Median strut of tegmen<br />

Mt = Mentum<br />

Mtg = Median of tegmen<br />

Pe = Pedicel<br />

Pm = Prementum<br />

คําอธิบายอักษรยอ (ตอ)<br />

(8)


คํายอ คําเต็ม<br />

คําอธิบายอักษรยอ (ตอ)<br />

Pp = Postcoxal process<br />

Pr = Pronotum<br />

Prc = Prosternal carina<br />

Prs = Prosternal process<br />

R = Radius<br />

R 3 = Radius 3<br />

r-m radio-median cross vein<br />

S3-S8 = Sternite of abdominal segments 3-8<br />

Sc = Subcosta<br />

Scl = Scutellum<br />

Scp = Scape<br />

Sf = Subcubital fleck<br />

Si = Sipho<br />

SiC = Siphonal capsule<br />

Sp = Spiracles<br />

Spr = Tibial Spur<br />

St 1 = Prosternum<br />

St 2 = Mesosternum<br />

St 3 = Metasternum<br />

Stp = Stipes<br />

T1-10 = Tergite of abdominal segment 1-10<br />

Tar 2 = Middle tarsus<br />

Tar 3 = Hind tarsus<br />

Tar 1 = Fore tarsus<br />

Tb 3 = Hind tibia<br />

(9)


คํายอ คําเต็ม<br />

คําอธิบายอักษรยอ (ตอ)<br />

Tn = tentorium<br />

Tr 3 = trochanter of hind leg<br />

(10)


ความหลากชนิดของดวงเตาตัวห้ําในแปลงผักเกษตรอินทรีย<br />

Diversity of the Predaceous Coccinellids<br />

(Coleoptera: Coccinellidae) on Vegetable Crops in Organic Farming<br />

คํานํา<br />

ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ประชากรสวนใหญของประเทศทําการเกษตรเพื่อ<br />

การยังชีพ ซึ่งระบบการเกษตรในอดีต<br />

มักจะไมใชสารเคมี ปุยเคมีหรือใชแตนอยมาก<br />

แตปจจุบัน<br />

การเกษตรเปลี่ยนไป<br />

นอกจากผลิตเพื่อบริโภคในครอบครัวแลวยังผลิตเพื่อคาขายในประเทศและสง<br />

ออกไปยังตางประเทศ ทําใหรูปแบบการผลิตทางการเกษตรเปลี่ยนไป<br />

เกษตรกรไดนําสารเคมีมาใช<br />

ในการปองกันและกําจัดศัตรูพืช ใชปุยเคมีในการปรับปรุงบํารุงดิน<br />

ใชสารเคมีในการกําจัดวัชพืช<br />

ตลอดจนใชฮอรโมนกระตุนการเจริญเติบโตของพืชและสัตว<br />

ผลเสียจึงตกอยูกับผูบริโภคและสภาพ<br />

แวดลอม โดยเฉพาะสิ่งแวดลอมที่เสียสมดุลไปอยางมาก<br />

วิสุทธิ์<br />

(2544) รายงานวา การสูญเสียความ<br />

หลากหลายทางชีวภาพ อันเนื่องมาจากการขยายพื้นที่ทําเกษตรกรรม<br />

ทําใหเกิดการทําลายถิ่นอาศัย<br />

ตลอดจนปญหามลพิษในแหลงน้ํา<br />

ที่กลายเปนปญหาสําคัญอันดับหนึ่งตอทรัพยากรและสิ่งแวดลอม<br />

จากรายงานการสํารวจของกรมสงเสริมการเกษตร เมื่อป<br />

พ.ศ. 2543 พบวาประเทศไทยมีเนื้อที่ทํา<br />

การเกษตรอันดับที่<br />

48 ของโลก แตใชยาฆาแมลงเปนอันดับ 5 ของโลก ใชยาฆายาเปนอันดับ 4 ของ<br />

โลก ใชฮอรโมนเปนอันดับ 4 ของโลก ประเทศไทยนําเขาสารเคมีสังเคราะหทางการเกษตร เปนเงิน<br />

สามหมื่นลานบาทตอป<br />

เกษตรตองมีปจจัยการผลิตที่เปนสารเคมีสังเคราะหในการเพาะปลูก<br />

ทําให<br />

เกิดการลงทุนสูงและเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง<br />

ขณะที่ราคาผลผลิตในรอบยี่สิบปไมไดสูงขึ้นตามสัดสวน<br />

ของตนทุนที่สูงขึ้นนั้นมีผลใหเกษตรขาดทุน<br />

มีหนี้สิน<br />

(กรมสงเสริมการเกษตร, 2547) ดังนั้นเพื่อ<br />

หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีในพื้นที่เกษตรกรรม<br />

เกษตรอินทรียจึงเปนทางเลือกหนึ่งของการแกปญหา<br />

เหลานั้นได<br />

การปลูกพืชแบบเกษตรอินทรีย (Organic Agriculture) มุงเนนคุณภาพสิ่งแวดลอม<br />

รักษา<br />

สมดุลธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีระบบการจัดการนิเวศวิทยาที่คลาย<br />

คลึงกับ<br />

ธรรมชาติ และหลีกเลี่ยงการใชสารสังเคราะห<br />

Pfiffner (2000) รายงานวา จํานวนและความหลาก<br />

หลายของแมลงในแปลงเกษตรอินทรียมีปริมาณสูง เนื่องมาจากการจัดการในระบบแปลงเกษตร<br />

อินทรีย มีการใสปุยอินทรียในปริมาณนอย<br />

มีการปลูกพืชหมุนเวียนมาก และมีการจัดระบบการใช<br />

พื้นที่แบบกึ่งธรรมชาติ<br />

กึ ่งระบบเกษตร Feber et al. (1997, 1998) ไดศึกษาเปรียบเทียบจํานวนแมง<br />

1


่<br />

มุมในแปลงปลูกขาวสาลี ระหวางระบบแบบเกษตรอินทรียกับระบบเกษตรทั่วไป<br />

พบวาในแปลง<br />

เกษตรอินทรียมีจํานวนและชนิดของแมงมุมสูงกวา ซึ่งเปนผลมาจากความหลากหลายของพืชใน<br />

ระบบเกษตรอินทรีย และยังพบวาในแปลงเกษตรอินทรียมีจํานวนชนิดของผีเสื้อที่ไมไดเปนศัตรูพืช<br />

สูงกวาในแปลงเกษตรทั่วไป<br />

ในขณะที่แปลงเกษตรทั่วไปมีจํานวนชนิดผีเสื้อที่เปนศัตรูพืชสูงกวา<br />

ในอดีตระบบการปลูกพืชในหลายประเทศเปนระบบที่มุงเนนการใชสารเคมี<br />

ทําใหสภาพแวดลอม<br />

ทางการเกษตรเสียหาย แมลงศัตรูที่สําคัญทางการเกษตรมีปริมาณสูง<br />

ทําความเสียหายใหแกผลผลิต<br />

มาก ยากแกการปองกันกําจัด ปริมาณศัตรูธรรมชาติลดลงจนไมสามารถควบคุมแมลงศัตรูพืชได<br />

และการสรางความตานทานของแมลงศัตรูพืชตอสารเคมีปองกันและกําจัดแมลงศัตรูพืชผัก กอให<br />

เกิดปญหาของเกษตรกรผูปลูกผักซึ่งจําเปนตองไดรับการแกไข<br />

และความรวมมือจากหนวยงานที<br />

เกี่ยวของ<br />

(พิบูลย, 2543) แมลงตัวห้ําเปนแมลงที่มีบทบาทสําคัญในการควบคุมแมลงศัตรู<br />

สําคัญ<br />

ทางการเกษตรหลายชนิด และสามารถใชเปนดัชนีบงชี้คุณภาพของถิ่นที่อยูอาศัยได<br />

(Stolton,<br />

2002) ดังนั้นการศึกษาความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําของแมลงศัตรูผัก<br />

ตลอดจนประสิทธิภาพ<br />

การเปนตัวห้ํา<br />

และความเหมาะสมของชนิดดวงเตาตัวห้ําที่จะนําไปใชประโยชน<br />

ในการควบคุม<br />

แมลงศัตรูผักในระบบเกษตรอินทรีย จึงเปนเรื่องที่ควรศึกษาเปนอยางยิ่ง<br />

เพื่อการนําไปใชประโยชน<br />

ในแปลงปลูกผักเกษตรอินทรียตอไป<br />

2


วัตถุประสงค<br />

1. ศึกษาชนิดของดวงเตาตัวห้ําที่มีความหลากหลายในแปลงปลูกผักเกษตรอินทรีย<br />

2. ศึกษาเปรียบเทียบความหลากชนิดของดวงเตาตัวห้ําในสภาพพื้นที่เพาะปลูกที่แตกตางกัน<br />

สามพื้นที่<br />

3


การตรวจเอกสาร<br />

เกษตรอินทรีย (Organic Agriculture)<br />

ปจจุบันกระแสของการบริโภคสินคาเกษตรปลอดภัยจากสารพิษมีมากขึ้น<br />

โดยมีสินคาที่<br />

บงบอกถึงการผลิตอยางปลอดภัยจากสารพิษในทองตลาดเปนทางเลือกใหแกผูบริโภคหลายชนิด<br />

ผูบริโภคจึงมักพบสินคาเกษตรที่ระบุวา<br />

เกษตรอินทรีย ผักไรสารพิษ ผักปลอดภัยจากสารพิษ ผัก<br />

อนามัย ซึ่งคําตาง<br />

ๆ เหลานี้มีคําจํากัดความแตกตางกัน<br />

เชน<br />

กรมสงเสริมการเกษตร (2547) ใหคําจํากัดความวา เกษตรอินทรีย คือ การเกษตรที่สราง<br />

สรรคใหระบบนิเวศนการเกษตรไดกอใหเกิดการผลิตที่ยั่งยืน<br />

ปลอดภัยตอผูบริโภค<br />

อนุรักษและ<br />

ปรับปรุงสภาพแวดลอมโดยใชหลักการสรางความหลากหลายทางชีวภาพ และทําใหเกิดการผสม<br />

ผสานเกื้อกูลซึ่งกันและกัน<br />

หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีสังเคราะห<br />

เชน ปุยเคมี<br />

ยาฆาหญา ยาปองกัน<br />

กําจัดศัตรูพืชและฮอรโมน เนนการหมุนเวียนใชทรัพยากรในไรนาใหเกิดประโยชนสูงสุด ผลผลิตที่<br />

ไดเปน Organic food<br />

กรมวิชาการเกษตร (2543) ใหคําจํากัดความวา เกษตรอินทรีย คือ การทําการเกษตรที่เลียน<br />

แบบธรรมชาติ เปนการทําการเกษตรที่ไมใชสารเคมีใด<br />

ๆ สําหรับขอแตกตางอยางชัดเจนของเกษตร<br />

อินทรีย ในดานปจจัยการผลิต หามใชพืชหรือสัตวที่มีการตัดตอสารพันธุกรรม<br />

GMO หามใชปุยเคมี<br />

ยาฆาหญา ยาปองกันกําจัดศัตรูพืชและฮอรโมนสังเคราะห คํานึงถึงความปลอดภัยตอผูบริโภค<br />

ตอ<br />

สิ่งแวดลอม<br />

และความสมดุลยทางธรรมชาติ โดยมีมาตรฐานการผลิตและการตรวจสอบรับรอง จาก<br />

สํานักมาตรฐานเกษตรอินทรีย กรมวิชาการเกษตรและหนวยงานระหวางประเทศ หัวใจของการทํา<br />

การเกษตรอินทรียอยูที่ดิน<br />

กระบวนการปรับปรุงดินที่ตายแลวคืนสูดินมีชีวิต<br />

เพราะความเจริญกาว<br />

หนาทางเทคโนโลยีชีวภาพ ทําใหการเปลี่ยนแปลงตามปกติ<br />

เปนการเปลี่ยนแปลงแบบกาวกระโดด<br />

เมื่อดินไดถูกปรับสภาพแลว<br />

ผลผลิตของเกษตรอินทรียจะผิดไปจากเกษตรกรรมเคมีโดยสิ้นเชิง<br />

คือ<br />

รสชาดอรอย เก็บไวไดนาน น้ําหนักดี<br />

สีสวย ไรสารพิษ ปราศจากอันตรายตอชีวิตผูผลิต<br />

และผู<br />

บริโภค ผลไมบางชนิด และหลายชนิด เมื่อดินถูกปรับสภาพจะทําใหผลผลิตดกตลอดป<br />

เศรษฐกิจดี<br />

กวาเกา ปญหาโรคแมลงศัตรูพืชจะลดลง เพราะจุลินทรียจะชวยสรางภูมิคุมกัน<br />

ภูมิตานทานธรรม<br />

ชาติ ใบออนของพืชจะไมถูกทําลาย ใบแกที่ขาดภูมิตานทานธรรมชาติอาจถูกทําลายจากศัตรูพืชบาง<br />

4


สวนคําที่มีความหมายใกลเคียงกับเกษตรอินทรีย<br />

กรมสงเสริมการเกษตร (2547) ไดใหคํา<br />

จํากัดความไวดังนี้<br />

ผักไรสารพิษ คือ ผักที่ระบบการผลิตไมมีการใชสารเคมีใด<br />

ๆ ทั้งสิ้นไมวาจะเปน<br />

สารเคมีเพื่อปองกันและปราบศัตรูพืชหรือปุยเคมีทุกชนิดแตจะใชปุยอินทรียทั้งหมดและผลผลิตที่<br />

เก็บเกี่ยวแลวตองไมมีพิษใดๆทั้งสิ้น<br />

(ผักหมายรวมถึงพืชที่รับประทานได)<br />

ผลผลิตที่ไดเปน<br />

Pesticide-free Vegetable ผักปลอดภัยจากสารพิษ คือ ผักที่ระบบการผลิตมีการใชสารเคมีในการ<br />

ปองกันและปราบศัตรูพืชรวมทั้งปุยเคมีเพื่อการเจริญเติบโต<br />

ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวไดยังมีสารพิษตกคาง<br />

ไมเกินปริมาณที่กําหนดไวเพื่อความปลอดภัยของผูบริโภคตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่<br />

163 พ.ศ. 2538 ผักอนามัย คือ ผักที่ระบบการผลิตมีการใชสารเคมีในการปองกันและปราบศัตรูพืช<br />

รวมทั้งปุยเคมีเพื่อการเจริญเติบโต<br />

ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวไดยังมีสารพิษตกคางไมเกินปริมาณที่กําหนด<br />

ไวเพื่อความปลอดภัยของผูบริโภคและมีความสะอาดผานกรรมวิธีการปฏิบัติกอนและหลังการเก็บ<br />

เกี่ยวตลอดจนการขนสงและการบรรจุหีบหอไดตามคุณลักษณะตามมาตรฐาน<br />

สําหรับขอแตกตาง<br />

อยางชัดเจนของการผลิตสินคาเกษตร<br />

หลักการผลิตผักอินทรีย (กรมสงเสริมการเกษตร, 2547)<br />

เปนหลักการที่เลียนแบบมาจากปาที่สมบูรณนั่นเอง<br />

ซึ่งจะประกอบดวยหลักทางการเกษตร<br />

ที่คํานึงถึง<br />

ดิน พืช แมลงและสภาพแวดลอมควบคูกันไปทุกดาน<br />

1. หลักการปรับปรุงดินใหมีความอุดมสมบูรณ ซึ่งสามารถทําไดโดย<br />

1.1 การใชปุยอินทรียและปุยชีวภาพ<br />

ปุยอินทรีย<br />

ไดแก ปุยหมักปุยน้ําชีวภาพ<br />

และปุยพืช<br />

สด สวนปุยจุลินทรียชีวภาพ<br />

ไดแก ไรโซเบียม เชื้อรา<br />

ไมโคไรซา ปุยและจุลินทรียเหลานี้จะใหทั้ง<br />

ธาตุหลักและธาตุอาหารรองแกพืชอยางครบถวน จึงใชทดแทนปุยเคมี<br />

1.2 การคลุมดิน ทําไดโดยใชเศษพืชตาง ๆ จากไร-นา เชน ฟาง หญาแหง ตนถั่ว<br />

ใบไม ขุย<br />

มะพราว เศษเหลือทิ้งจากไรนา<br />

หรือ กระดาษหนังสือพิมพ พลาสติกคลุมดิน หรือการปลูกพืชคลุม<br />

ดิน การคลุมดินมีประโยชนหลายประการ คือ ชวยปองกันการชะลางของหนาดิน และรักษาความ<br />

ชุมชื้นของดินเปนการอนุรักษดินและน้ํา<br />

ชวยทําใหหนาดินออนนุมสะดวกตอการไชชอนของราก<br />

พืช ซึ่งประโยชนตาง<br />

ๆ ของการคลุมดินดังกลาวมานี้จะชวยสงเสริมใหพืชเจริญเติบโตและใหผล<br />

ผลิตดี<br />

1.3 การปลูกพืชหมุนเวียน เนื่องจากพืชแตละชนิดตองการธาตุอาหารแตกตางกันทั้งชนิด<br />

5


และปริมาณ อีกทั้งระบบรากยังมีความแตกตางกันทั้งในดานการแผกวางและหยั่งลึก<br />

ถามีการจัด<br />

ระบบการปลูกพืชอยางเหมาะสมแลวจะทําใหการใชธาตุอาหารมีทั้งที่ถูกใชและสะสมสลับกันไป<br />

ทําใหดินไมขาดธาตุอาหารธาตุใดธาตุหนึ่ง<br />

2. หลักการปลูกพืชหลายชนิด<br />

เปนการจัดสภาพแวดลอมในไร-นา ซึ่งจะชวยลดการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชได<br />

เนื่องจากการปลูกพืชหลายชนิดจะทําใหมีความหลากหลายทางชีวภาพ<br />

มีแหลงอาหารที่หลากหลา<br />

ของแมลงจึงมีแมลงหลายชนิดมาอาศัยอยูรวมกัน<br />

ในจํานวนแมลงเหลานี้มีทั้งแมลงที่เปนศัตรูพืช<br />

และแมลงที่เปนประโยชนที่จะชวยควบคุมแมลงศัตรุพืชใหคลายคลึงกับธรรมชาติในปาที่อุดม<br />

สมบูรณนั่นเอง<br />

มีหลายวิธี ไดแก<br />

2.1 การปลูกพืชหมุนเวียน เปนการไมปลูกพืชชนิดเดียวกันหรือตระกูลเดียวกัน ติดตอกันน<br />

พื้นที่เดิม<br />

การปลูกพืชหมุนเวียนจะชวยหลีกเลี่ยงการระบาดของโรคและแมลง<br />

และเปนประโยชน<br />

ในการปรับปรุงดิน<br />

2.2 การปลูกพืชแซม การเลือกพืชมาปลูกรวมกัน หรือแซมกันนั้นพืชที่เลือกมานั้นตอง<br />

เกื้อกูลกัน<br />

เชน ชวยปองกันแมลงศัตรูพืช ชวยเพิ่มธาตุอาหารใหอีกชนิดหนึ่ง<br />

ชวยคลุมดิน ชวย<br />

เพิ่มรายไดกอนเก็บเกี่ยวพืชหลัก<br />

เปนตน<br />

3. หลักการปองกันและกําจัดโรคและแมลงศัตรูผักโดยไมใชสารเคมี<br />

3.1 การปองกันและกําจัดโดยวิธีกล โดยไมใชสารเคมี เชน การใชมือจับแมลงมาทําลาย<br />

การใชมุงตาขาย<br />

การใชกับดักแสงไฟ การใชกับดักกาวเหนียว เปนตน<br />

3.2 การปองกันและกําจัดโดยวิธีเขตกรรม เชน<br />

1) การดูแลรักษาแปลงใหสะอาด , การไถพลิกหนาดินตากแดดไว<br />

2) การหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืช<br />

3) การเก็บเกี่ยวพืชเพื่อหลีกเลี่ยงการทําลายของโรคและแมลง<br />

4) การใชระบบการปลูกพืช เชน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชแซม<br />

5) การจัดระบบการใหน้ํา<br />

6) การใสปุยใหเหมาะสมกับความตองการของพืชเพื่อลดการทําลายของโรคและ<br />

แมลง<br />

3.3 การปองกันและกําจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี เปนการใชเชื้อแบคทีเรีย<br />

เชื้อไวรัส<br />

และ<br />

6


ไสเดือนฝอย ปองกันกําจัดแมลงในกลุม<br />

Lepidoptera ที่เปนศัตรูพืชผักโดยเชื้อดังกลาวจะทําให<br />

แมลงศัตรูผักเปนโรคแลวตายไปเองในที่สุด<br />

3.4 การอนุรักษแมลงที่มีประโยชน<br />

เปนการใชประโยชนจากแมลงศัตรูธรรมชาติ ไดแก<br />

3.4.1. แมลงตัวเบียน สวนใหญหมายถึง แมลงเบียนที่อาศัยแมลงศัตรูพืช<br />

เพื่อการ<br />

ดํารงชีวิตและการสืบพันธุซึ่งทําใหแมลงศัตรูพืชตายในระหวางการเจริญเติบโต<br />

3.4.2. แมลงตัวห้ํา<br />

ไดแก สิ่งมีชีวิตที่ดํารงชีวิตโดยการกินแมลงศัตรูพืชเปนอาหารเพื่อ<br />

การเจริญเติบโตจนครบวงจรชีวิต ตัวห้ําสวนใหญที่มีความสําคัญในการควบคุมแมลงและไรศัตรูพืช<br />

ไดแก สัตวไมมีกระดูกสันหลัง เชน แมงมุม ไรตัวห้ํา<br />

และตัวห้ําสวนใหญไดแก<br />

แมลงห้ํา<br />

ซึ่งมี<br />

มากชนิดและมีการขยายพันธุไดรวดเร็ว<br />

การอนุรักษแมลงที่มีประโยชนสามารถทําไดโดย<br />

1) การไมใชสารเคมี เนื่องจากสารเคมีทําลายทั้งแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติที่มี<br />

ประโยชนดวย<br />

2) ปลูกดอกไมสีสด ๆ เชน บานชื่น<br />

ทานตะวัน บานไมรูโรย<br />

ดาวเรือง ดาวกระจาย<br />

เปนตน โดยปลูกไวรอบแปลง หรือปลูกแซมลงในแปลงเพาะปลูกสีของดอกไมจะดึงดูดแมลงนานา<br />

ชนิดและในจํานวนนั้นก็มีแมลงศัตรูธรรมชาติดวย<br />

จึงเปนการเพิ่มจํานวนแมลงศัตรูธรรมชาติใน<br />

แปลงเพาะปลูก ซึ่งจะชวยควบคุมแมลงศัตรูพืชใหแกเกษตรกร<br />

3) ปลูกพืชเลียนแบบสภาพปาธรรมชาติ ปลูกใหหลากหลายชนิดทําใหเกิดการควบคุม<br />

โรค – แมลงศัตรู ขึ้นเอง<br />

ในสภาพตามธรรมชาติ<br />

ลักษณะทั่วไปของดวงเตาตัวห้ํา<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

(ladybeetle, ladybird, ladybird beetle) (Coleoptera: Coccinellidae) เปน<br />

แมลงปกแข็งขนาดเล็ก Sasaji (1971) รายงานวาทั่วโลกมีดวงเตา<br />

490 สกุล (genus) 4,200 ชนิด<br />

(species) สําหรับในประเทศไทย Chunram and Sasaji (1980) ไดรายงานวา พบดวงเตา 36 สกุล 75<br />

ชนิด สมหมาย (2545) ไดทําการศึกษาชนิดของดวงเตาในประเทศไทยพบวามีจํานวนดวงเตา 6<br />

วงศยอย (Subfamily) 15 ไทรบ (Tribe) 49 สกุล 133 ชนิด ในจํานวนดวงเตาที่ศึกษานี้<br />

เปนดวงเตา<br />

ตัวห้ํา<br />

112 ชนิด และเปนดวงเตาที่เปนศัตรูพืช<br />

21 ชนิด สําหรับดวงเตาที่เปนตัวห้ํามี<br />

44 สกุล ไดแก<br />

สกุล Stethorus, Cryptolaemus, Nephus, Scymnus, Pseudoscymnus, Aspidimerus, Cryptogonus,<br />

Ortalia, Platynaspidius, Brumus, Chilocorus, Curinus, Rodolia,, Bothrocalvia, Coccinella,<br />

7


Coelophora, Cyclotoma, Harmonia, Lemnia, Menochilus, Micraspis, Oenopia, Phrynocaria,<br />

Propylea, Synia, Synonycha และ Illeis เปนตน Ponpinij (2001) ศึกษาดวงเตาตัวห้ําในสวนสม<br />

จังหวัดลําปางและรายงานพบดวงเตาตัวห้ํา<br />

4 วงศยอย 7 ไทรบ 14 สกุล 20 ชนิด คือ Chilocorus<br />

gressitti Miyatake, C. nigritus, C. septempunctata, C. transversalis, Coelophora biscellata<br />

Mulsant, C. inaequalis (Fabricius), Cryptogonus orbiculus (Gyllenhal), C. montrouzieri Mulsant,<br />

Harmonia octomaculata (Fabricius), Illeis bistigmosa (Mulsant), I. indica Timberlake, Lemnia<br />

biplagiata (Swartz), M. sexmaculatus, M. discolor, M. lineata, Oenopia kirbyi Mulsant, O. sauzeti<br />

Mulsant, Paraplatynaspis bimaculatus Hoang, Pharoscymnus taoi และ S. grandis<br />

ไข ไขของดวงเตาตัวห้ํามีขนาดเล็กมีลักษณะเปนรูปวงรี<br />

ยาวประมาณหนึ่งมิลลิเมตร<br />

สีครีม<br />

สีเหลือง หรือสีสม ไขเปนกลุมบนใบพืช<br />

จํานวนกลุมไขขึ้นกับชนิดของตัวเต็มวัย<br />

(สมหมาย, 2545;<br />

Sasaji, 1971)<br />

ตัวออน รูปรางของตัวออนดวงเตาตัวห้ําสวนมากลําตัวเรียวยาวคลายกรวย<br />

หรือรูปไขกวาง<br />

ความยาวลําตัวอยูในชวง<br />

1.3-2.4 มิลลิเมตร ตัวออนดวงเตาตัวห้ํามี<br />

4 ระยะ ลักษณะเปนแบบ<br />

campodeiform มีขา 3 คู<br />

มักมีสีดําและมีสีจุดประที่แตกตางกันไปตามชนิด<br />

บางชนิดมีการหลั่งสาร<br />

คลายขี้ผึ้งออกมาเคลือบลําตัวซึ่งมักพบในตัวหนอนระยะที่<br />

4 (สมหมาย, 2545) Sasaji (1971) ได<br />

บรรยายลักษณะ หัวของตัวออนดวงเตาตัวห้ํา<br />

เปนแบบแคปซูลลักษณะคลายสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

มีความ<br />

กวางมากกวาความยาว มีบางที่หัวมีรูปรางยาวแตพบนอยมาก<br />

สวนหลังของหัวที่ติดกับคอแคบมาก<br />

ขอบของแกมเปนแผนเนื้อเยื่อบางซึ่งเกิดจากกระบวนการแข็งตัวของผนังลําตัว<br />

หนาและฐานริมฝ<br />

ปากลางกั้นโดยเสน<br />

fronto-clypeal ตาเดี่ยว<br />

(Ocelli, Oc) มีสามตาอยูดานขางเรียงกันเปนรูป<br />

สามเหลี่ยม<br />

หนา (Frons, Fr) สวนของหนาแบงออกจากหัวโดยเสน frontal suture บางครั้ง<br />

เสน<br />

frontal suture ในตัวออนดวงเตาตัวห้ําบางชนิดในไทรบ<br />

Scymnini ไมสมบูรณ คือ ไมยาวมาก<br />

เหมือนกลุมอื่น<br />

ๆ ลักษณะของเสน frontal suture ทั่วไปจะโคงเวากวางและสวนปลายแบนออกจาก<br />

กันเกือบถึงฐานหนวด หนวด (Antennae, Ant) ของตัวออนดวงเตาตัวห้ํามี<br />

3 ปลองสั้น<br />

ๆ ปลองปลาย<br />

สุดคอนขางยาวและแคบกวาปลองที่<br />

1 และ ปลองที่<br />

2 สวนปลายของปลองที่<br />

3 มีขนยาวขึ้นหนา<br />

แนน หนวดตั้งอยูใกลกับกราม<br />

จํานวนปลองของหนวดบางครั้งลดลง<br />

ซึ่งพบไดในตัวออนดวงเตา<br />

สกุล Stethorus ลักษณะแผนแข็งรอบปลองหนวดเปนรูปวงแหวน หนวดของตัวออนดวงเตา สกุล<br />

Amida คอนขางยาวกวาสกุลอื่นๆ<br />

ความยาวเกือบเทาความกวางของหัว รูปรางคลายกระบอง กราม<br />

8


(Mandible, Md) รูปรางของกรามเกือบเปนรูปสามเหลี่ยม<br />

สวนปลายแยกออกเปนสองสวนชัดเจน<br />

สวนฐานขยายใหญแข็งแรงเพื่อชวยในการบดเคี้ยว<br />

รยางคฟน (Maxillary, MP) รูปรางคลายกรวยมี<br />

3 ปลอง ปลองปลายของรยางคฟนเปนกรวยแหลมคอนขางเล็ก สวนของ lacina และ galea หดเขา<br />

ขางใน สําหรับ maxillary lobe รูปรางกลมปลายตัด stipes มีขนาดใหญ ริมฝปากบน (Labrum,<br />

Lm) รยางคริมฝปากลางมี 2 ปลอง ขนาดเล็ก ลักษณะแผนแข็งรอบปลองเปนรูปวงแหวน ขาของ<br />

ตัวออนดวงเตาตัวห้ํามีการพัฒนาดีมาก<br />

ประกอบดวย ปลองฐานขา (coxa) มีลักษณะเปนปลองเดี่ยว<br />

สั้นๆ<br />

อยูติดกับผนังลําตัว<br />

ขอตอขา (trochanter) คือปลองของขาแมลงปลองที่สองมักมีขนาดเล็ก<br />

เห็นไดไมชัดเจน ตั้งอยูระหวางปลองฐานขา<br />

และตนขา (femur) ตนขา คือปลองขาที่มีขนาดใหญ<br />

เรียวยาว ตั้งอยูระหวางขอตอขา<br />

และหนาแขง (tibia) คือปลองของขาปลองที่<br />

4 ที่อยูถัดไปจากตน<br />

ขา ถัดมาคือ ทารไซ (tarsus หรือ tarsi) คือปลองขาที่อยูถัดจากหนาแขง<br />

โดยมีสวนของเล็บ (claw)<br />

หนึ่งคู<br />

สวนปลายของขามีขนลักษณะขนเปนรูปกระบองเรียวยาวหรืออวนที่สวนปลาย<br />

อกของตัว<br />

ออนดวงเตาตัวห้ําประกอบดวย<br />

3 ปลอง อกปลองแรกมีรูปรางเปนรูปไขตามแนวขวาง อกปลองที่<br />

2<br />

และ 3 มีความแข็งแรง และกวางกวาอกปลองแรก แผนแข็งของอกปลองแรกถูกแบงออกเปนสอง<br />

สวนเทากัน บางครั้งอาจมีตุมนูน<br />

1-5 ตุม<br />

อกปลองที่<br />

2 ถูกแบงออกเปนสวนดานบน สวนดานขาง<br />

และ สวนดานลาง แผนแข็งดานบนถูกแบงออกเปน 2 สวนมีความขรุขระ หรือเปนปุมเล็ก<br />

ๆ บาง<br />

ครั้งแผนแข็งดานบนและดานขางของอกปลองที่สองรวมกันเปนแผนแข็งขนาดใหญแผนเดียว<br />

มีขน<br />

แข็งขึ้นหนาแนน<br />

ดานใตของอกปลองที่<br />

2 แบงออกเปนสองสวนไมคอยชัดเจนนัก และคอนขาง<br />

ขรุขระ อกปลองที่<br />

3 มีความกวางมากกวาปลองอกปลองอื่น<br />

ๆ และรวมกันเปนชิ้นเดียวกัน<br />

ปลอง<br />

ทองของตัวออนดวงเตาตัวห้ ํามี 10 ปลอง ซึ่งสามารถมองเห็นไดชัดเจนเพียง<br />

9 ปลอง แตละปลองถูก<br />

แยกออกจากกันอยางชัดเจน โดยแบงออกเปนดานบนซึ่งเยื้องมาทางดานขาง<br />

ดานขาง และดานลาง<br />

แตละสวนโคงนูนหรือมีตุมเล็ก<br />

ๆ ปลองทองปลองที่<br />

9 คอนขางเรียบ โดยที่ในตัวออนดวงเตาตัวห้ํา<br />

บางชนิดมีผนังลําตัวที่พัฒนาใหมีลักษณะยื่นยาวปลายแหลมออกมา<br />

หรือบางชนิดปลองที่<br />

9 มีรูป<br />

รางเรียวแหลม ปลองทองปลองที่<br />

10 มองเห็นไมชัดเจน ซึ่งทําหนาที่ชวยในการเคลื่อนไหวของตัว<br />

ออน ตุมที่พบที่ปลองทองอาจมีขนาดเล็กลงมากในตัวออนบางสกุล<br />

รูหายใจตั้งอยูที่อกปลองที่<br />

2<br />

และที่ปลองทองปลองที่<br />

1-8<br />

ดักแด ตัวหนอนระยะสุดทายจะกลายเปนดักแดติดอยูกับใบไม<br />

หรือพื้นผิวอื่น<br />

ดักแดเปน<br />

แบบ exarate มีสีดําหรือเหลืองสมและไมมีรังไหมหอหุม<br />

กอนตัวหนอนจะกลายเปนดักแด มักจะ<br />

9


เคลื่อนยายออกหางจากตําแหนงที่หากินเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกกินจากดวงเตาดวยกันเอง<br />

ระยะดักแด<br />

ใชเวลา 3-12 วัน (สมหมาย, 2545)<br />

ตัวเต็มวัย (ภาพที่<br />

1) ลักษณะของตัวเต็มวัยดวงเตาตัวห้ํา<br />

ลําตัวอวนปอม รูปไขหรือกลม ลํา<br />

ตัวยาวประมาณ 0.8 มิลลิเมตร ถึง 10 มิลลิเมตร โดยเฉลี่ยแลวตัวเมียจะมีลําตัวยาวกวาตัวผู<br />

หัว<br />

(ภาพที่<br />

4) หดสั้นอยูใตอกปลองแรก<br />

มองไมเห็นหนวด หนวดสั้น<br />

มี 7-11 ปลอง ประมาณ 3 ปลอง<br />

ตรงปลายหนวดขยายกวางเล็กนอย มีรูปรางและความกวางแตกตางกันไปในแตละชนิด ปากแบบกัด<br />

กิน (Chewing type) โครงสรางดานลางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

(ภาพที่<br />

3) ประกอบดวย ขาสั้น<br />

ทารไซ<br />

(tarsi) มี 3 ปลอง เรียกวา true trimera หรือมี 4 ปลอง เรียกวา pseudotrimera หรือ cryptotetramera<br />

โครงสรางปก (ภาพที่<br />

4) ประกอบดวย anal vein ขอบปกดานบน cubitus subcubital fleck<br />

ติ่งที่โคนปกดานลาง<br />

media radius และ subcosta โครงสรางสวนทอง (ภาพที่<br />

5) ปลองทองมี 8<br />

ปลอง สวนลางตรงปลองทองปลองแรกมีเสน femoral line อวัยวะเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

6) ของดวงเตาตัว<br />

ห้ํา<br />

ประกอบดวยสวนที่สําคัญ<br />

2 สวนคือ sipho และ tegmen ซึ่งแตละชนิดมีรูปรางและลักษณะแตก<br />

ตางกัน เปนลักษณะสําคัญที่ใชในการจําแนก<br />

(Sasaji, 1971)<br />

10


ภาพที่<br />

1 โครงสรางดานบน (dorsal) ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Ant = หนวด E = ปก<br />

ES = เสนกลางปก Ey = ตา<br />

H = หัว Hc = รอยนูนโคนปก<br />

L1 = ขาหนา L2 = ขากลาง<br />

L3 = ขาหลัง Pr = อก<br />

Scl = แผนแข็งสามเหลี่ยมระหวางฐานของปก<br />

ที่มา<br />

(Sasaji, 1971)<br />

11


ภาพที่<br />

2 โครงสรางสวนหัวของดวงเตาตัวห้ํา<br />

ก. สวนหัวดานบน<br />

AC = หนวดสวนปลาย AS = ฐานหนวด<br />

Clp = แผนเหนือริมฝปากบน Ey = ตารวม<br />

Fl = เสนหนวด Fr = หนา<br />

Lm = ริมฝปากบน Pap = Postantennal process<br />

Sca = ฐานหนวด Iod = interocular distance<br />

ข. สวนหัวดานลาง<br />

Cd = ปลองฐานของฟน GS = เสนแบงแกมแยกกับพื้นหลังแกม<br />

Ga = Galea Gu = พื้นที่แผนแข็งดานลางทายกะโหลก<br />

Lc = รยางคฟนดานใน Lp = รยางคริมฝปากลาง<br />

Md = กราม Pm = ปลองสุดทายของริมฝปากลาง<br />

Stp = ปลองถัดจากฐานของฟน MP = รยางคฟน<br />

Tn = โครงสรางภายในกะโหลกเปนที่ยึดเกาะกลามเนื้อ<br />

Mt = พื้นที่ระหวาง<br />

submentum กับ prementum<br />

ที่มา<br />

(Sasaji, 1971)<br />

12


ภาพที่<br />

3 โครงสรางดานลางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

ที่มา<br />

(Sasaji, 1971)<br />

่<br />

่<br />

C3 = ปลองฐานขาของขาหลัง CC 1 = โพรงปลองฐานขาของขาหนา<br />

CC 2 = โพรงปลองฐานขาของขากลาง CC 3 = โพรงปลองฐานขาของขาหลัง<br />

Clw = เล็บ Lfl = เสนบริเวณตนขาที่ทองปลองแรก<br />

FL = เสนบริเวณตนขา Fm 1 = ตนขาของขาหนา<br />

Fm 2 = ตนขาของขากลาง Hp = ดานใตของตนขา<br />

Fm 3 = ตนขาของขาหลัง Prc = Prosternal carina<br />

Prs = Prosternal process Spr = หนามที่หนาแขง<br />

Tar 1 = ทารไซของขาขางที หนึ่ง<br />

Tar 2 = ทารไซของขาขางที่สอง<br />

Tar 3 = ทารไซของขาขางที่สาม<br />

Tb 1 = หนาแขงของขาขางที่หนึ่ง<br />

Tb 2 = หนาแขงของขาขางที่สอง<br />

Tb 3 = หนาแขงของขาขางที่สาม<br />

Tr3 = ขอตอขาของขาหลัง<br />

Eep = พื้นที่ทางตอนทายของดานขางของปก<br />

S3-S8 = แผนแข็งใตปลองทองที 3-8<br />

Pp = พื้นที่แผนแข็งดานลางของปลองอก<br />

13


โครงสรางปกของดวงเตาตัวห้ํา<br />

ภาพที่<br />

4<br />

C = ขอบปกดานบน<br />

Av = Anal vein<br />

Sf = Subcubital Fleck<br />

Cu = Cubitus<br />

M = Media<br />

Jr = ติ่งที่โคนปกดานลาง<br />

R3 = Radius 3<br />

R = Radius<br />

r-m = radio-median cross vein<br />

Sc = Subcosta<br />

ที่มา<br />

(Sasaji, 1971)<br />

14


ภาพที่<br />

5 โครงสรางสวนทองดานลางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Sp = รูหายใจ<br />

T 1-10 = แผนแข็งบนปลองทองปลองที่<br />

1-10<br />

ที่มา<br />

(Sasaji, 1971)<br />

15


ภาพที่<br />

6 โครงสรางอวัยวะสืบพันธุเพศผูของดวงเตาตัวห้ํา<br />

ก. ดานใตของอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

tegmen<br />

g = ชองสําหรับรองรับ sipho Bp = ฐานบริเวณรอยตอของ tegmen<br />

Ll = ติ่งดานขางของ<br />

tegmen MP = สวนกลางของ tegmen<br />

Ms = กานของ tegmen<br />

ข. ดานขางของอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

sipho และ tegmen<br />

ej = ทอฉีดอสุจิ SiC = Siphonal Capsule<br />

op = outer process ip = inner process<br />

tr = ทออากาศ Si = Sipho<br />

Ms = กานของ tegmen Bp = ฐานบริเวณรอยตอของ tegmen<br />

MP = สวนกลางของ tegmen Ll = ติ่งดานขางของ<br />

tegmen<br />

ที่มา<br />

(Sasaji, 1971)<br />

16


ชีววิทยาของดวงเตาตัวห้ํา<br />

ลักษณะของแมลงตัวห้ํา<br />

(Predators) คือ เปนแมลงที่กินแมลงชนิดอื่น<br />

ๆ เปนอาหาร และ<br />

การกินนั้นจะกินเหยื่อเปนจํานวนหลายตัวจนกวาจะเจริญเติบโตเปนตัวเต็มวัยและครบวงจรชีวิต<br />

แมลงตัวห้ําที่พบไดทั่วไป<br />

เชน มวนพิฆาต Eocanthecona furcellata (Wolff) (Hemiptera:<br />

Pentatomidae) มวนเพชฌฆาต Sycanus sp. (Hemiptera: Reduviidae) และดวงเตา Coccinella<br />

transversalis Fabricius (Coleoptera: Coccinellidae) เปนตน แมลงเหลานี้มีศักยภาพในการควบคุม<br />

แมลงศัตรูพืช แมลงตัวห้ํากลุมที่มีความสําคัญ<br />

ไดแก ดวงเตาตัวห้ําชนิดตางๆ<br />

เนื่องจากดวงเตาตัวห้ํา<br />

มีการขยายพันธุและการเจริญเติบโตที่รวดเร็วเชนเดียวกับแมลงศัตรูพืช<br />

และดวงเตาตัวห้ํามีประสิทธิ<br />

ภาพสูงในการควบคุมแมลงศัตรูพืชชนิดตาง ๆ (พิมลพร, 2545; Jervis and Neil, 1996) การผสม<br />

พันธุของดวงตัวห้ํามีวิธีการเชนเดียวกับแมลงในกลุมดวงทั่วไป<br />

โดยตัวผูจะจับแนนอยูดานบนของ<br />

ตัวเมีย ระยะเวลาของการผสมพันธุขึ้นกับชนิดของดวงเตาตัวห้ํา<br />

เชน ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Coccinella<br />

septempunctata Linnaeus (Coleoptera: Coccinellidae) ใชเวลาตั้งแต<br />

5 นาทีถึง 4 ชั่วโมง<br />

(Johnssen,<br />

1930) ดวงเตาตัวห้ํามีการเจริญเติบโตแบบสมบูรณ<br />

(Complete metamorphosis) ระยะการเจริญเติบ<br />

โต 4 ระยะ คือ ระยะไข ระยะหนอน ระยะดักแด และระยะตัวเต็มวัย ตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไขได<br />

ตั้งแต<br />

200 ฟองไปจนถึงมากกวา 1,000 ฟองภายในระยะเวลาไมกี่เดือน<br />

และมักจะวางไขไวเปนกลุม<br />

เล็กๆ ทั้งนี้ประชากรของดวงเตาตัวห้ําจะขึ้นอยูกับขนาดของประชากรศัตรูพืช<br />

โดยทั่วไปแลวดวง<br />

เตาตัวห้ําจะวางไขบนใบไมหรือลําตนของตนพืชที่อยูใกลเหยื่อ<br />

เชน ใกลกลุมเพลี้ยออน<br />

ตัวหนอน<br />

ของดวงเตาตัวห้ําเคลื่อนที่ไดรวดเร็วและยังสามารถเดินทางไดเปนระยะทางไกล<br />

ๆ เพื่อหาเหยื่อ<br />

ตัวเต็มวัยดวงเตาตัวห้ํามีชีวิตอยูไดหลายเดือนหรืออาจถึงป<br />

ในแตละปดวงเตาตัวห้ําสามารถขยาย<br />

พันธุไดหลายรุน<br />

(สมหมาย, 2545) Hagen (1962) รายงานวาทั้งตัวออนและตัวเต็มวัยของดวงเตาตัว<br />

ห้ํา<br />

กัดกินกันเองในกรณีที่ขาดแคลนอาหาร<br />

นอกจากนี้<br />

วงจรชีวิตของดวงเตาตัวห้ํายังขึ้นอยูกับ<br />

ปจจัยหลายอยาง เชน อาหาร อุณหภูมิ ความชื้น<br />

เปนตน และโดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อเกิดภาวะขาด<br />

แคลนเหยื่อ<br />

Junsung (2001) ไดศึกษาวงจรชีวิตดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. transversalis ในหองปฏิบัติการที่<br />

อุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ<br />

75 เปอรเซ็นต โดยใชเพลี้ยออน<br />

Aphis craccivora<br />

Koch (Homoptera: Aphididae) เปนอาหารหรือเหยื่อ<br />

(prey) พบวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. transversalis<br />

เพศเมียสามารถวางไขไดประมาณ 256-1,063 ฟอง วงจรชีวิตจากไขจนเปนตัวเต็มวัยใชเวลา 13-21<br />

17


วัน Brown et al. (2003) รายงานวา ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus louisianae Chapin (Coleoptera:<br />

Coccinellidae) ที่เลี้ยงดวยเพลี้ยออนถั่ว<br />

Aphis glycines Matsumura (Homoptera: Aphididae)<br />

สามารถมีชีวิตอยูรอดไดถึง<br />

70 เปอรเซ็นต โดย จากระยะไขถึงตัวเต็มวัยใชเวลา 20 วัน ตัวเต็มวัย<br />

เพศเมียมีชีวิตอยูไดนาน<br />

63 วัน สวนตัวเต็มวัยเพศผูมีชีวิตอยูได<br />

47 วัน Winoti (1989) รายงานวา<br />

ตัวเต็มวัยเพศเมียของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Curinus coeruleus Mulsant (Coleoptera: Coccinellidae) วางไข<br />

เปนกลุมตามซอกหรือรอยแตกของตนพืช<br />

เพื่อหลีกเลี่ยงการกินกันเอง<br />

ไขแตละกลุมมีประมาณ<br />

6-25<br />

ฟอง เพศเมียหนึ่งตัวสามารถวางไขได<br />

64-411 ฟอง วงจรชีวิตจากไขจนเปนตัวเต็มวัยใชเวลา 25-31<br />

วัน นิสิตและชาญณรงค (2544) ศึกษารูปรางลักษณะของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Rodolia sp. (Coleoptera:<br />

Coccinellidae) พบวาตัวเต็มวัยจะวางไขตามแหลงที่มีเพลี้ยหอยเกล็ดปลง<br />

Aulacaspis yasumatsui<br />

(Homoptera: Diaspididae) เกาะอยูเปนกลุม<br />

โดยอาจจะวางตามถุงไข (egg sac) ของเพลี้ยหอย<br />

เกล็ดปลง A. yasumatsui หรือตามคราบ wax ของเพลี้ยหอยเกล็ดปลง<br />

A. yasumatsui ไขของ<br />

ดวงเตาตัวห้ ํา Rodolia sp. จะวางเปนฟองเดี่ยว<br />

ๆ หรือเปนกลุม<br />

ซึ่งจะมีลักษณะเปนวงรี<br />

สวนปลาย<br />

ดานบนของไขจะเรียวเล็ก แตดานลางจะปานใหญกวาดานบน ไขจะมีสีครีม สีของไขจะเขมขึ้นจน<br />

กลายเปนสีน้ําตาลเขมเมื่อใกลฟก<br />

ตัวหนอนมี 4 ระยะ มีลักษณะเปนแบบ campodeiform ดักแดเปน<br />

แบบ exarate โดยใชสวนปลายของปลองทองปลองสุดทายยึดติดกับใบพืช เมื่อถูกรบกวนจะกระดก<br />

ตัวขึ้นตั้งฉากกับผิวใบพืชอยาง<br />

รวดเร็ว ดักแดมีสีสมและมีเสนสีน้ําตาลเขมยาวตามลําตัว<br />

ตัวเต็มวัย<br />

เมื่อฟกออกจากดักแดใหม<br />

ๆ จะมีสีขาวลําตัวมีสีขาวเปนรูปไข สีสมหรือสมแดง ตอมาสีของลําตัว<br />

จะเปลี่ยนแปลงเปนสีเขมขึ้นเรื่อยๆ<br />

บนปกไมมีลวดลาย แตจะมีขนขึ้นปกคลุมที่สวนปกโดยขนที่ขึ้น<br />

มาจะมีสีสมเหลือง ตัวเต็มวัยเพศเมียมีขนาดของลําตัวโตกวาเพศผู<br />

และมีสีสมแดงสีสดใสกวา ฉัตร<br />

ชัยและคณะ (2537) ไดศึกษาวงจรชีวิตของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Stethorus pauperculus (Weise)<br />

(Coleoptera: Coccinellidae) ในหองปฏิบัติการ เลี้ยงดวยไรแดงออย<br />

Oligonychus simus Baker and<br />

Pritchard (Acari: Tetranychidae) พบวาเพศเมียหลังผสมพันธุ<br />

2-3 วัน จะเริ่มวางไข<br />

ถามีอาหาร<br />

สม่ําเสมอสามารถวางไขไดเกือบทุกวัน<br />

วันละ 1-5 ฟอง โดยจะวางไขเปนฟองเดี่ยว<br />

ๆ กระจายอยูทั่ว<br />

ไปบนใบพืชที่มีไข<br />

ตัวออน และตัวเต็มวัยของไรแดงออย เพศเมียหนึ่งตัวสามารถวางไขได<br />

112-<br />

570 ฟอง วงจรชีวิตจากไขจนเปนตัวเต็มวัยใชเวลา 11-19 วัน<br />

18


ประสิทธิภาพการเปนตัวห้ํา<br />

ดวงเตาตัวห้ําสามารถพบไดทั่วไปในแปลงผัก<br />

ดวงเตาตัวห้ําแตละสกุลมีบทบาทเปนแมลง<br />

ศัตรูธรรมชาติทําลายแมลงศัตรูพืชที่แตกตางกัน<br />

โดยมีความสําคัญในการควบคุมปริมาณของแมลง<br />

ศัตรูพืชในธรรมชาติไมใหทวีจํานวนมากขึ้นจนถึงขั้นเกิดการระบาดทําความเสียหายทางเศรษฐกิจ<br />

ในประเทศไทย<br />

ดวงเตาตัวห้ําในหลายสกุลชอบกินเพลี้ยออน<br />

แตถาไมมีเพลี้ยออนก็สามารถเปลี่ยนไปกิน<br />

เหยื่อชนิดอื่นได<br />

บางครั้งดวงเตาตัวห้ําอาจกินไข<br />

ตัวหนอน หรือดักแดของดวงเตาตัวห้ําดวยกัน<br />

เตา<br />

ตัวห้ําที่สํารวจพบในปริมาณที่สูง<br />

และมีประสิทธิภาพในการควบคุมแมลงศัตรูพืชชนิดตาง ๆ ไดแก<br />

Menochilus sexmaculatus (Fabricius), Coccinella transversalis, Chilocorus nigritus (Fabricius),<br />

Micraspis discolor (Fabricius), Synonycha grandis (Thunberg), Scymnus sp., Coccinella<br />

septempunctata, Oenopia sp., C. coeruleus (ชาญณรงคและคณะ, 2543) ดวงเตาตัวห้ํามีพฤติ<br />

กรรมการเปนตัวห้ําทั้งระยะตัวหนอนและตัวเต็มวัย<br />

กินแมลงที่มีขนาดเล็ก<br />

เชน เพลี้ยออน<br />

(aphid)<br />

เพลี้ยแปง<br />

(mealybugs) เพลี้ยหอย<br />

(wex scale) แมลงหวี่ขาว<br />

(Whitefly) ไรที่กินพืช<br />

(phytophagous<br />

mites) และไขของแมลงศัตรูพืชชนิดตาง ๆ เปนอาหาร (Sasaji, 1971)<br />

ดวงเตาตัวห้ําสกุล<br />

Menochilus Agarwala et al. (1999, 2001) รายงานวา ดวงเตาตัวห้ํา<br />

M. sexmaculatus และ C. transversalis ทั้งระยะตัวออนและตัวเต็มวัยเปนตัวห้ําของเพลี้ยออน<br />

A. craccivora ที่เปนแมลงศัตรูพืช<br />

การกินอาหารของตัวออนมีผลตอขนาดของตัวเต็มวัย และเมื่อ<br />

เปรียบเทียบโดยใชระยะเวลาที่เทากันพบวาตัวเต็มวัยที่มีขนาดเล็กสามารถกินอาหารไดมากกวาตัวที่<br />

มีขนาดใหญกวา อัตราที่เหมาะสมที่ตัวออนของดวงเตาตัวห้ํา<br />

M. sexmaculatus หนึ่งตัวสามารถกิน<br />

เพลี้ยออน<br />

A. craccivora ไดสิบตัว ในขณะที่ตัวเต็มวัยหนึ่งตัวสามารถกินเพลี้ยออน<br />

A. craccivora<br />

ไดสี่สิบตัว<br />

ตอวัน และอัตราการเปลี่ยนแปลงของประชากรดวงเตาตัวห้ําทั้งสองชนิดจะเปลี่ยนแปลง<br />

ไปตามความหนาแนนของประชากรของเพลี้ยออน<br />

เมื่อความหนาแนนของประชากรเพลี้ยออนเพิ่ม<br />

ขึ้นจะทําใหจํานวนของดวงเตาตัวห้ําเพิ่มขึ้นตามไปดวย<br />

แตประสิทธิภาพการเปนตัวห้ําจะดีที่สุดเมื่อ<br />

ความหนาแนนของประชากรของเพลี้ยออนไมมากเกินไป<br />

Campbell et al. (1980) ไดทําการศึกษา<br />

ชีววิทยาของดวงเตาตัวห้ํา<br />

M. sexmaculatus ในหองปฏิบัติการโดยใชเพลี้ยออน<br />

Schizaphis<br />

graminum (Rond.) (Homoptera: Aphididae) ซึ่งเปนศัตรูพืชที่สําคัญในสหรัฐอเมริกา<br />

เปนอาหารใน<br />

19


การเลี้ยงดวงเตาตัวห้ําชนิดนี้<br />

Khan et al. (2002) ศึกษาการเลี้ยงดวงเตาตัวห้ํา<br />

M. sexmaculatus<br />

บนอาหารที่ไดจากธรรมชาติ<br />

คือเพลี้ยออน<br />

Myzus persicae (live) (Homoptera: Aphididae) ที่ยังมี<br />

ชีวิต เปรียบเทียบกับอาหารสังเคราะหที่มีสวนผสมของ<br />

เพลี้ยออน<br />

M. persicae แชแข็งผสมกับตับ<br />

ไก พบวา ดวงเตาตัวห้ํา<br />

M. sexmaculatus ที่เลี้ยงบนอาหารจากธรรมชาติมีน้ําหนักตัว<br />

อัตราการออก<br />

ลูกที่ดีกวาที่เลี้ยงบนอาหารสังเคราะห<br />

และสามารถมีอายุไดนานถึง 116 วัน ในขณะที่ดวงเตาตัวห้ํา<br />

ที่เลี้ยงบนอาหารสังเคราะห<br />

มีอายุอยูไดเพียง<br />

63 วัน ขอดีของอาหารสังเคราะหคือใชไดดีในกรณีที่<br />

อาหารจากธรรมชาติขาดแคลน แตไมเหมาะสมถาตองการเลี้ยงเพื่อเพิ่มปริมาณประชากร<br />

Ulrichs<br />

et al. (2001) รายงานวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

M. sexmaculatus สามารถนํามาทดแทนการใชสารเคมีในการ<br />

กําจัดเพลี้ยออน<br />

A. craccivora อัมพรและจุฑารัตน (2544) รายงานวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. coeruleus<br />

ทั้งตัวออนและตัวเต็มวัยกินเพลี้ยออนถั่ว<br />

A. glycinesตัวออนแมลงหวี่ขาว<br />

Aleurocanthus spiniferus<br />

(Quaintance) (Homoptera: Alerodidae) ไขของหนอนเจาะสมอฝายอเมริกัน Helicoverpa armigera<br />

(Hubner) (Lepidoptera: Noctuidae) เพลี้ยแปง<br />

Planococcus citri (Risso) (Homoptera:<br />

Pseudococcidae) เพลี้ยหอย<br />

Crypticerya jacobsoni (Green) และเพลี้ยหอย<br />

Icerya seychellarum<br />

(Westwood) (Homoptera: Margarodidae) ดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. coeruleus เปนแมลงตัวห้ําที่มีประสิทธิ<br />

ภาพสามารถดํารงชีวิต ปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมไดดี นอกจากนั้น<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. coeruleus<br />

มีประสิทธิภาพในการกําจัดแมลงศัตรูพืชไดดีกวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

M. sexmaculatus และ<br />

H. octomaculatus (อัมพรและจุฑารัตน, 2544)<br />

ดวงเตาตัวห้ําสกุล<br />

Scymnus Brown et al. (2003) รายงานวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

S. louisianae<br />

เปนแมลงตัวห้ําของเพลี้ยออนถั่ว<br />

A. glycines ที่พบในทางตอนใตของอเมริกา<br />

ตลอดชั่วอายุของดวง<br />

เตาตัวห้ํา<br />

S. louisianae ตัวเต็มวัยตัวเมียสามารถกินเพลี้ยออนถั่วได<br />

1,261 ตัว ดวงเตาตัวห้ําตัวผู<br />

สามารถกินเพลี้ยออนถั่วได<br />

665 ตัว Patima (2002) ไดศึกษาประสิทธิภาพการเปนแมลงตัวห้ําของ<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus sp. ในการกินเพลี้ยออนฝาย<br />

Aphis gossypii Glover (Homoptera:<br />

Aphididae) ที่ลงทําลายมะเขือเทศ<br />

พบวาตัวเต็มวัยมีอัตราการกินมากที่สุด<br />

และพบลงทําลายเพลี้ย<br />

ออนหลายชนิด คือ เพลี้ยออนสมสีเหลือง<br />

Aphis citricola Van de Goot เพลี้ยออนถั่ว<br />

A. craccivora<br />

เพลี้ยออนฝาย<br />

A. gossypii และเพลี้ยออนตนรัก<br />

Aphis nerii Boyer de Fonscolombe<br />

ดวงเตาตัวห้ําสกุล<br />

Stethorus ชนิดของดวงเตาตัวห้ําสกุล<br />

Stethorus ที่ไดมีการศึกษาไว<br />

ปรากฏวามีจํานวนชนิดมากถึง 28 ชนิด โดยพบวาดวงเตาตัวห้ําสกุลนี้<br />

กินไรศัตรูพืช ชนิดตางๆ เปน<br />

20


อาหาร (Chazeau, 1985) ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Stethorus vegans Blackburn (Coleoptera: Coccinellidae)<br />

ทั้งตัวออนและตัวเต็มวัยกินไรแดงไดทุกระยะการเจริญเติบโต<br />

(ฉัตรชัย, 2517) วัฒนาและคณะ<br />

(2544) กลาววา ดวงเตาตัวห้ําสกุล<br />

Stethorus เปนแมลงตัวห้ําของไรศัตรูพืช<br />

ตัวออนทุกวัยและตัว<br />

เต็มวัยของดวงเตาตัวห้ําชนิดนี้สามารถกินไรไดเปนปริมาณมาก<br />

ฉัตรชัยและคณะ (2537) ศึกษา<br />

ชีววิทยาและประสิทธิภาพ การกินของดวงเตาตัวห้ํา<br />

S. pauperculus และสรุปไดวาตัวออนระยะที่<br />

4 และตัวเต็มวัย ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

S. pauperculus (Weise) มีความสามารถในการกินไรแดงออย<br />

O. simus ไดมากที่สุดและสามารถกินไขไรแดงออย<br />

(Acari: Tetranychidae) ไดมากถึง 229 ฟองตอ<br />

วัน กินตัวออนวัยที่<br />

1 ของไรแดงออยได 192 ตัวตอวัน Crop Protection Compendium (2003) ราย<br />

งานชนิดอาหารของดวงเตาตัวห้ํา<br />

S. pauperculus ไดแก Eutetranychus sorientalis Klein,<br />

Eutetranychus banksi McGregor, Tetranychus cinnabarinus (Boisduval), Tetranychus piercei<br />

McGregor, Tetranychus ludeni Zacher, Tetranychus tumidus Banks<br />

ดวงเตาตัวห้ําสกุลอื่นๆ<br />

ที่มีการศึกษา<br />

ไดแก ดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. nigritus โดยมีการศึกษาเลี้ยง<br />

โดยใชเพลี้ยหอย<br />

Pulvinaria maxima Green (Homoptera: Coccidae) เปนอาหาร พบวาตัวหนอน<br />

ดวงเตาตัวห้ําหนึ่งตัวสามารถกินเพลี้ยหอย<br />

P. maxima ได 8 ตัวตอวัน และดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. nigritus<br />

ยังเปนแมลงตัวห้ําของเพลี้ยหอย<br />

Parlotoria ziziphus (Lucas) และ Aspidotus destructor Sighn<br />

(Homoptera: Diaspididae) (Tirumala et al., 1954) ศรีสมรและคณะ (2544) รายงานวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

Coccinella repanda Thunberg Fabricius, M. discolor และ S. grandis เปนแมลงตัวห้ําเพลี้ยออนถั่ว<br />

เหลือง A. glycines ปาหนัน (2530) ไดศึกษาบทบาทของดวงเตาตัวห้ํา<br />

M. discolor ในการควบคุม<br />

ศัตรูพืชโดยชีววิธีและพบวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

M. discolor เปนแมลงศัตรูธรรมชาติที่สําคัญของเพลี้ย<br />

ออนหลายชนิด และ รายงานวา เพลี้ยออนถั่ว<br />

A. craccivora เปนอาหารที่เหมาะสมกวาเพลี้ยออน<br />

M. persicae และเพลี้ยออน<br />

Lipaphis erysimi (Kaltenbach) สําหรับการแพรกระจายของดวงเตาตัว<br />

ห้ํา<br />

M. discolor ปาหนัน (2530) ไดสรุปวา มีการกระจายตัวเปนแบบกลุม<br />

(random) เมื่อเปรียบเทียบ<br />

ประชากรของดวงเตาตัวห้ํา<br />

M. discolor กับเพลี้ยออน<br />

A. craccivora ตลอด 2 ฤดูปลูก พบวามี<br />

ความสัมพันธกันอยางสูง นิสิตและคณะ (2544) รายงานวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

Rodolia sp. เปนแมลง<br />

ศัตรูธรรมชาติที่สําคัญของเพลี้ยหอยวงศ<br />

Margarodidae บุปผาและชลิดา (2543) ไดรายงานวาพบ<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Rodolia breviusculata Weise ลงทําลายเพลี้ยหอยวงศ<br />

Margarodidae คือ เพลี้ยหอย<br />

Crypticerya jacobsoni (Green) และเพลี้ยหอย<br />

Icerya seychellarum Westweed<br />

21


อุปกรณและวิธีการ<br />

อุปกรณ<br />

1. เครื่องมือจับแมลง<br />

เชน สวิงตาขาย (insect net), ปากคีบ (foerceps) พูกัน<br />

กลองพลาสติก<br />

หลอดดูดแมลง (aspirator) เครื่องนับจํานวน<br />

(counter) และอื่น<br />

ๆ ขวดฆาแมลง<br />

(killing jar)<br />

2. อุปกรณจัดรูปรางแมลง ตูอบแมลง<br />

3. กลองเก็บตัวอยางแมลง<br />

4. กลองจุลทรรศน (Stereo microscope, Compound microscope)<br />

5. กลองถายภาพ<br />

6. แวนขยาย<br />

7. เครื่องมือผาตัดแมลง<br />

เชน ปากคีบ พูกัน<br />

เข็มเขี่ย<br />

แผนสไลดแกว (glass slide) แผนแกว<br />

ปดสไลด (cover slip)<br />

8. สารเคมี ไดแก เอทธิล อะซิเตด (ethyl acetate), เอทธิล แอลกอฮอล (ethyl alchohol) 75<br />

เปอรเซ็นต โปแทสเซียมไฮดรอกไซด (potassium hydroxide) 10 เปอรเซนต แคนาดา<br />

บัลซัม (Canada balsum) โคลฟออย (clove oil) น้ํากลั่น<br />

(distilled water)<br />

9. กลองพลาสติกใสขนาด 4X4X2.5 เซนติเมตร ใชสําหรับเลี้ยงตัวออนดวงเตาตัวห้ํา<br />

กลอง<br />

พลาสติกใสขนาด 15X21X10.5 เซนติเมตร ใชสําหรับเลี้ยงตัวเต็มวัยดวงเตาตัวห้ํา<br />

10. คูมือจําแนกชนิดดวงเตาตัวห้ําของ<br />

สมหมาย (2545) และ Sasaji (1971)<br />

11. กระดาษบันทึกขอมูลเกี่ยวกับตัวอยางแมลงที่เก็บได<br />

12. แมลง<br />

1.1 ดวงเตาตัวห้ํา<br />

8 ชนิด ไดแก Stethorus indira Kapur, Stethorus pauperculus (Weise),<br />

Cryptogonus orbiculus (Gyllenhal), Cryptogonus sp.1, Coccinella transversalis<br />

Fabricius, Micraspis discolor (Fabricius), Harmonia octomaculata Fabricius และ<br />

Cheilomenes sexmaculatus (Fabricius) ซึ่งเปนชนิดที่สํารวจพบสม่ําเสมอในแปลง<br />

ทดลอง แตละแปลงเลือกมา 5 ชนิดเพื่อศึกษาประสิทธิภาพการเปนตัวห้ํา<br />

จับทั้งตัว<br />

ออนและตัวเต็มวัยจากแปลงทดลองมาเลี้ยงในหองปฏิบัติการ<br />

22


12.2 เพลี้ยแปง<br />

เพลี้ยแปง<br />

Planococcus citri (Risso) (Homoptera: Pseudococcidae) เปน<br />

เพลี้ยที่สํารวจพบในแปลงทดลองนํามาเลี้ยงเพื่อเพิ่มปริมาณในหองปฏิบัติการ<br />

12.3 เพลี้ยออนเพลี้ยออนถั่ว<br />

Aphis glycines Matsumura (Homoptera: Aphididae), เพลี้ย<br />

ออนฝาย Aphis gossypii Glover (Homoptera: Aphididae), เพลี้ยออนตนรัก<br />

Aphis<br />

nerii Boyer de Fonscolombe (Homoptera: Aphididae) เปนเพลี้ยที่สํารวจพบในแปลง<br />

ทดลองนํามาเลี้ยงเพื่อเพิ่มปริมาณในหองปฏิบัติการ<br />

12.4 ไรแดง Oligonychus sp. (Acari: Tetranychidae) เปนเพลี้ยที่สํารวจพบในแปลงทดลอง<br />

นํามาเลี้ยงเพื่อเพิ่มปริมาณในหองปฏิบัติการ<br />

13. พืชอาหาร ถั่วฝกยาว<br />

ถั่วพลู ผักคะนา ใชสําหรับเลี้ยงเพลี้ยออน<br />

A. gossypii,<br />

A. glycines ใบรักใชสําหรับเลี้ยงเพลี้ยออน<br />

A. nerii ผลฟกทองใชสําหรับเลี้ยงเพลี้ย<br />

แปง P. citri และใบถั่วฝกยาว<br />

ใบถั่วพลูใชสําหรับเลี้ยง<br />

ไรแดง Oligonychus sp.<br />

วิธีการ<br />

1. ดําเนินการสํารวจพื้นที่ที่ตองการศึกษา<br />

และกําหนดตําแหนงของจุดเก็บตัวอยางเพื่อเปนตัวแทน<br />

ของพื้นที่ใหญ<br />

โดยแบงพื้นที่ออกเปน<br />

3 สวนดวยกัน ในแตละสวนจะเปนตัวแทนของสภาพพื้น<br />

ที่ที่แตกตางกัน<br />

ไดแก<br />

1.1 พื้นที่ปลูกผักที่มีพื้นที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

(ภาพผนวกที่<br />

1)<br />

1.2 พื้นที่ปลูกผักที่ทําการยกรอง<br />

โดยมีคูน้ํากั้นแตละรองออกจากกัน<br />

(ภาพผนวกที่<br />

2)<br />

1.3 พื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผัก<br />

(ภาพผนวกที่<br />

3)<br />

2. การเก็บตัวอยาง โดยวิธีการสุมสํารวจทั่วแปลงเพื่อเปนตัวแทนของพื้นที่<br />

และทําการเก็บตัวอยาง<br />

แตละจุด<br />

2.1 โดยการเดินสํารวจอยางละเอียด ใชหลอดดูดแมลงสําหรับดูดแมลงจากใบพืชหรือบน<br />

ดิน หรืออาจเด็ดใบหรือกิ่งพืชใสถุงพลาสติกเพื่อนําไปตรวจในหองปฏิบัติการ<br />

2.2 ใชสวิงโฉบ โดยโฉบตามพื้นหญาและตนพืชทั่วบริเวณแปลงผัก<br />

โดยโฉบจากดานหนึ่ง<br />

ไปอีกดานหนึ่ง<br />

กําหนดจํานวนครั้งของการโฉบและการเคลื่อนไหวอยางสม่ําเสมอ<br />

23


2.3 ทําการเก็บตัวอยางตลอดป โดยกําหนดชวงเวลาเก็บตัวอยาง รวม 12 ครั้ง<br />

เปนเวลา 1 ป<br />

จากนั้นนําตัวอยางที่เก็บได<br />

มาวินิจฉัยจําแนกชนิดภายในหองปฏิบัติการ<br />

3. นําตัวอยางที่สํารวจไดมาวินิจฉัยชนิดในหองปฏิบัติการ<br />

ใชลักษณะสัณฐานวิทนาภายนอก และ<br />

อวัยวะสืบพันธุของดวงเตาตัวห้ําเพศผูในการจําแนก<br />

โดยใชคูมือจําแนกชนิดดวงเตาตัวห้ําของ<br />

Sasaji (1971) และเทียบตัวอยางจากพิพิธภัณฑแมลง กลุมงานอนุกรมวิธานแมลง<br />

กลุมกีฏและ<br />

สัตววิทยา สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร<br />

4. การวิเคราะหขอมูล<br />

4.1 นําตัวอยางดวงตัวห้ําที่วินิจฉัยชนิดแลว<br />

มานับจํานวน จํานวนชนิด วิเคราะหหาความหลาก<br />

หลายในสภาพแปลงปลูกผักเกษตรอินทรียที่แตกตางกัน<br />

คาดัชนีความหลากหลาย (diversity indices) เปนสมการสําหรับวัดความหลากหลาย ซึ่ง<br />

ไดรวมคาความหลากชนิด และคาความสม่ําเสมอ<br />

เพื่อเปรียบเทียบคาความหลากหลายในแตละ<br />

สภาพพื้นที่แปลงปลูก<br />

โดยใชสูตรของ Shannon-Wiener , s Index ตาม Ludwing และ<br />

Reynoldes (1998) ดังนี้<br />

s<br />

H΄ = - ∑ (pi) (ln pi)<br />

i=1<br />

เมื่อ<br />

H΄ คือ ความหลากหลายของ Shannon-Wiener , s Index<br />

S คือ จํานวนชนิด<br />

pi คือ สัดสวนระหวางจํานวนตัวอยางของสิ่งมีชีวิต<br />

(i = 1, 2, 3,…)<br />

ln คือ log e (the natural logarithm)<br />

24


4.2 นําขอมูลความหลากชนิดของดวงเตาตัวห้ํา<br />

มาวิเคราะหโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร<br />

PC-ORD สําหรับ Windows Version 4 (McCune และ Mefford, 1999)<br />

5. ตัวอยางดวงเตาตัวห้ําที่สํารวจไดทุกชนิด<br />

ไดนําไปเก็บไวที่พิพิธภัณฑแมลง<br />

กลุมงานอนุกรม<br />

วิธานแมลง กลุมกีฏและสัตววิทยา<br />

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร<br />

กรุงเทพฯ<br />

การศึกษาประสิทธิภาพการเปนตัวห้ําของดวงเตาตัวห้ํา<br />

1. การเตรียมการทดลอง โดยปลูกพืชที่ใชเลี้ยงใชสําหรับเลี้ยงเพลี้ยออน<br />

A. gossypii, A. glycines<br />

เพลี้ยออน<br />

A. nerii เพลี้ยแปง<br />

P. citri ลงในกระถาง โดยนํากระถางวางไวในกรงเลี้ยงแมลง<br />

ขนาด 60x60x60 เซนติเมตร ในหองปฎิบัติการ จากนั้นนําเพลี้ยออน<br />

เพลี้ยแปงหรือเพลี้ยหอย<br />

ที่นํามาจากแปลงเกษตรอินทรีย<br />

จ. ปทุมธานี ปลอยบนตนพืชเพื่อเพาะเลี้ยงใหมีปริมาณมากพอ<br />

สําหรับใชในการทดลอง<br />

2. การเก็บตัวอยางดวงเตาตัวห้ํา<br />

โดยวิธีการสุมสํารวจทั่วแปลง<br />

เดินสํารวจอยางละเอียด ใชหลอด<br />

ดูดแมลงสําหรับดูดแมลงจากตนพืช เด็ดใบหรือกิ่งพืชที่มีตัวออนดวงเตาตัวห้ําใสถุงพลาสติก<br />

เพื่อนําไปเลี้ยงในหองปฏิบัติการ<br />

ใชสวิงโฉบ โดยโฉบตามพื้นหญาและตนพืชทั่วบริเวณแปลง<br />

ผักเพื่อจับตัวเต็มวัย<br />

โดยโฉบจากดานหนึ่งไปอีกดานหนึ่ง<br />

กําหนดจํานวนครั้งของการโฉบและ<br />

การเคลื่อนไหวอยางสม่ําเสมอ<br />

จากนั้นนําตัวอยางที่เก็บได<br />

มาเลี้ยงเพื่อวินิจฉัยจําแนกชนิดภาย<br />

ในหองปฏิบัติการ<br />

3. การศึกษาพฤติกรรมในการกินอาหารซึ่งแสดงถึงประสิทธิภาพการเปนตัวห้ําของดวงเตาตัวห้ํา<br />

โดยเลือกชนิดตัวออนดวงเตาตัวห้ําที่ตองการศึกษา<br />

จากชนิดที่สุมสํารวจแลวพบตัวอยางบอย<br />

ครั้ง<br />

และมีปริมาณตัวอยางของตัวออนดวงเตาชนิดนั้นมีจํานวนมาก<br />

ทําการเก็บตัวออนและตัว<br />

เต็มวัยดวงเตาตัวห้ําจากแปลงผักเกษตรอินทรียมาเลี้ยงในหองปฏิบัติการ<br />

โดยใชกลองพลาสติก<br />

ขนาด 4X4X2.5 เซนติเมตร สําหรับเลี ้ยงตัวออนดวงเตาตัวห้ํา<br />

และกลองพลาสติกใสขนาด<br />

15X21X10.5 เซนติเมตร ใชสําหรับเลี้ยงตัวเต็มวัยดวงเตาตัวห้ํา<br />

มีฝาปดสนิทและเจาะรูระบาย<br />

อากาศ และใหเหยื่อที่เปนอาหารของตัวออนดวงเตาตัวห้ํา<br />

คอยเติมเพลี้ยออน<br />

A. gossypii, A.<br />

glycines เพลี้ยออน<br />

A. nerii เพลี้ยแปง<br />

P. citri และไรแดง Oligonychus sp. ทุกวัน จดบันทึก<br />

25


ชนิดอาหารที่ดวงเตาตัวห้ําสามารถกินได<br />

รวมทั้งจดบันทึกชนิดอาหารที่ดวงเตาตัวห้ําสามารถ<br />

กินไดจากแปลงทดลอง<br />

แนวทางการวินิจฉัย Subfamily ของดวงเตาตัวห้ําในแปลงปลูกผักเกษตรอินทรีย<br />

ดัดแปลงมาจาก Sasaji (1971)<br />

1. ก) หัวมีลักษณะเปนแคปซูล ฐานริมฝปากบน (Clypeus) ไมขยายกวาง ปลอง<br />

ปลายสุดของรยางคฟน (maxillary palps) มีรูปรางเปนรูปกรวยหรือรูปทรง<br />

กระบอกยาว ปลองทองมองเห็นได 5-6 ปลอง อวัยวะสืบพันธุของตัวผู<br />

(Sipho)<br />

โคงและบอบบาง………………………………...……….Subfamily Sticholotinae<br />

ข) หัวมีลักษณะเปนแคปซูล ฐานริมฝปากบนไมขยายกวาง ปลองปลายสุดของ<br />

รยางคฟนมีรูปรางคลายขวานหรือรูปทรงกระบอกสั้นสวนปลายตัด…………….2<br />

2(1ข) ก) ขอบดานนอกของอกปลองแรกเวา ฐานของปกหนากวางกวาฐานของอกปลอง<br />

แรก……………………………………………………………………….…...…..3<br />

ข) ขอบดานนอกของอกปลองแรกเวาไมมาก ฐานของปกหนาไมกวางกวาฐาน<br />

ของอกปลองแรก หนวดสั้นมาก<br />

มีความยาวประมาณ 2 ใน 3 ของความกวางของ<br />

หัว ปลองปลายสุดของรยางคฟนมีความแข็งแรงรูปรางคลายขวาน ทารไซ (tarsi)<br />

มีสามปลอง.............………………………....Subfamily Scymninae…….……....4<br />

3(2ก) ก) หนวดสั้นตั<br />

้งเยื้องไปทางขางหนา<br />

ฐานริมฝปากบนขยายกวางทางดานขาง<br />

ปลองปลายสุดของรยางคฟนสวนโคนและปลายขนาดเกือบเทากัน อกปลองแรก<br />

เปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมูขอบดานบนเวาลึกมากโคนปกหนากวางกวาฐานอกปลอง<br />

แรก................………………..………………..Subfamily Chilocorinae………...5<br />

ข) หนวดมี 11 ปลอง รูปรางยาวคลายกระบอง ปลองตรงปลายขยายกวางเล็กนอย<br />

ปลองปลายสุดของรยางคฟนขยายกวางคลายขวาน สวนปลายของกราม<br />

26


(mandible) มีทั้งแบบที่แยกเปน<br />

2 ซี่และหลายซี่<br />

เปนแบบชนิดที่มีฐาน<br />

สวนทองมี<br />

6 ปลองทั้วตัวผูและตัวเมีย<br />

ขายาวแข็งแรง ทารไซมี 4 ปลอง…………………..…<br />

…………………………………………..…..Subfamily Coccinellinae........….....6<br />

4(2ข) ก) หนวดมี 8-9 ปลอง ปลองตรงปลายหนวดมีรูปรางยาวลักษณะเปนรูปกระบอง<br />

แบน ปลองปลายสุดของรยางคฟนยาวรูปไข ปลองทองมองเห็นได 5 ปลอง<br />

ปลองทองปลองที่<br />

5 ยาวที่สุดมีความยาวมากกวาปลองที่<br />

2, 3 และ 4 รวมกัน<br />

(ภาพผนวกที่12)<br />

.....................................……………………...….Tribe Serangiini<br />

ข) หนวดมีลักษณะเปนรูปกระบอง มี 11 ปลอง ไมสั้นมาก<br />

ปลองปลายสุดของ<br />

รยางคฟนเรียวบางปลายตัดมีความยาวมากกวาความกวาง พื้นที่ดานลางของอก<br />

ปลองแรกซึ่งอยูระหวางปลองฐานขากวาง<br />

ฐานของปกหนาเวาเล็กนอย ทารไซ<br />

(tarsi) มีสามปลอง ปลองทองมี 6 ปลอง (ภาพผนวกที่13)<br />

..........…Tribe Stethorini<br />

5(3ก) ก) หนวดคอนขางสั้นลักษณะคลายกระบอง<br />

มีจํานวน 8 – 11 ปลอง ปลองปลาย<br />

สุดของรยางคฟนไมยาวมาก มีรูปรางคลายขวานโดยขอบดานขางเกือบจะขนาน<br />

กัน ขอบดานบนของอกปลองแรกโคงเวาเขาดานในเล็กนอย ปกหนาคอนขางสั้น<br />

และแคบขอบดานนอกของปกหนามักจะมีรอยเวา ปลองทองมี 6 ปลองเห็นไดชัด<br />

เจน ปลองฐานขากวาง ทารไซมี 3 ปลอง หรือ 4 ปลอง (ภาพผนวกที่<br />

14)<br />

...…………… …………………………………………………….Tribe Scymnini<br />

ข) ขอบตาดานหนาแคบ หนวดสั ้นมากหักเปนขอศอก มี 9 ปลอง โดยที่<br />

2 ปลอง<br />

แรกยาวและกวางกวาปลองอื่น<br />

ๆ ปลองปลายสุดของรยางคฟนมีความกวางมาก<br />

กวาความยาวและสวนปลายขยายกวาง ตนขาขยายกวาง ปลองทองมี 6 ปลองที่<br />

มองเห็นได ชัดเจน (ผนวกภาพที่<br />

15) ………………………...Tribe Aspidimerini<br />

่<br />

6(3ข) ก) ตัวมันเปนเงางามและบางชนิดปกคลุมดวยขนละเอียด เพศเมียมีปลองทอง 5<br />

ปลองที่มองเห็นไดชัดเจน<br />

เพศผูมี<br />

6 ปลองที่มองเห็นไดชัดเจน<br />

และปลองที 6 สั้น<br />

27


มาก ขาตรงสวนของ หนาแขง (tibia) ไมมีหนามแข็ง ทารไซ (tarsi) 4 ปลอง<br />

(ภาพผนวกที่<br />

16) ..............………………………………………Tribe Chilocorini<br />

ข) ลําตัวมันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม โคงนูนเปนครึ่งวงกลมหรือยาวรูป<br />

ไข หนวดคอนขางยาวมี 11 ปลอง รูปรางคลายกระบองปลองตรงปลายขยายกวาง<br />

เล็กนอย ปลองปลายสุดของรยางคฟนขยายกวางคลายขวาน สวนปลายของกราม<br />

แยกเปน 2 ซี่<br />

อกปลองแรกทางดานหนาเวามากและมุมทางดานหนาเปนมุมแหลม<br />

(ภาพผนวกที่<br />

17)…….. ..……………………..……..…...…… Tribe Coccinellini<br />

28


สถานที่<br />

สถานที่และระยะเวลาศึกษา<br />

สํารวจและเก็บตัวอยางดวงตัวห้ําในแปลงผักเกษตรอินทรีย<br />

จังหวัดปทุมธานี<br />

(ขนาดพื้นที่<br />

50 ไร)<br />

หองปฏิบัติการภาควิชากีฏวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ.<br />

หองปฏิบัติการกลุมงานอนุกรมวิธานแมลง<br />

กลุมกีฏและสัตววิทยา<br />

สํานักวิจัยพัฒนาการ<br />

อารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ<br />

ระยะเวลา<br />

ระยะเวลาเริ่มการทดลอง<br />

1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546<br />

ระยะเวลาสิ้นสุดการทดลอง<br />

31 ตุลาคม พ.ศ. 2547<br />

29


ผลการทดลองและวิจารณ<br />

ผลการศึกษาชนิดของดวงเตาตัวห้ํา<br />

จากการศึกษาชนิดดวงเตาตัวห้ําในแปลงปลูกผักเกษตรอินทรีย<br />

จังหวัดปทุมธานี พบดวง<br />

เตาตัวห้ําทั้งหมด<br />

4 วงศยอย 6 ไทรบ 12 สกุล 28 ชนิด<br />

Subfamily Sticholotinae<br />

Tribe Serangiini<br />

Subfamily Scymninae<br />

Genus Serangium Blackburn<br />

Serangium sp.<br />

Tribe Stethorini<br />

Tribe Scymnini<br />

Genus Stethorus Weise<br />

Stethorus indira Kapur<br />

Stethorus pauperculus (Weise)<br />

Genus Nephus Mulsant<br />

Nephus ryuguus (H.Kamiya)<br />

Genus Scymnus Kugelann<br />

Scymnus rectoides Sasaji<br />

30


Tribe Aspidimerini<br />

Subfamily Chilocorinae<br />

Scymnus sodalis (Weise)<br />

Scymnus nigrosuturalis H.Kamiya<br />

Scymnus fuscatus Boheman<br />

Scymnus pallidicollis Mulsant<br />

Scymnus sp.1<br />

Genus Cryptogonus Mulsant<br />

Cryptogonus orbiculus (Gyllenhal)<br />

Cryptogonus trioblitus (Gyllenhal)<br />

Cryptogonus fulvoterminatus Boheman<br />

Cryptogonus fulvocinctus (Mulsant)<br />

Cryptogonus sp. 1<br />

Cryptogonus sp. 2<br />

Cryptogonus sp. 3<br />

Tribe Chilocorini<br />

Genus Brumus<br />

Brumus lineatus (Weise)<br />

Genus Chilocorus Leach<br />

Chilocorus gressitti Miyatake<br />

31


Subfamily Coccinellinae<br />

Tribe Coccinellini<br />

Genus Coccinella Linnaeus<br />

Coccinella transversalis Fabricius<br />

Coccinella septempunctata Linnaeus<br />

Genus Harmonia Mulsant<br />

Harmonia octomaculata Fabricius<br />

Harmonia sedecimnotata (Fabricius)<br />

Genus Micraspis Dejean<br />

Micraspis discolor (Fabricius)<br />

Micraspis vincta (Gorham)<br />

Genus Cheilomenes Mulsant<br />

Cheilomenes sexmaculatus (Fabricius)<br />

Genus Coelophola Mulsant<br />

Coelophora inaequalis Fabricius<br />

32


Subfamily Sticholotinae<br />

ดวงเตาตัวห้ําในวงศยอย<br />

Sticholotinae เปนดวงเตาตัวห้ําที่มีขนาดเล็กมาก<br />

โดยทั่วไปจะมี<br />

ขนาดเล็กกวาสามมิลลิเมตร ประมาณ 0.8-3 มิลลิเมตร หัวมีลักษณะเปนแคปซูล ลําตัวมีทั้งชนิดที่<br />

มันเปนเงางามและชนิดที่ปกคลุมดวยขนละเอียด<br />

ฐานริมฝปากบน ไมขยายกวาง ปลองปลายสุด<br />

ของรยางคฟน มีรูปรางเปนรูปกรวยหรือรูปทรงกระบอกยาว ปกหลังบางใสปลายปกคอนขางมน<br />

มองเห็นเสนปกหลักไดเพียงบางเสน ปลองทองมองเห็นไดหาถึงหกปลอง อวัยวะสืบพันธุของตัวผู<br />

โคงและบอบบาง<br />

Tribe Serangiini (ภาพผนวกที่<br />

12)<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็กมาก<br />

ลักษณะลําตัวมันเปนเงาหรือมีขนกระจายไมหนาแนน หนวด<br />

มีแปดถึงเกาปลอง ปลองตรงปลายหนวดมีรูปรางยาวลักษณะเปนรูปกระบองแบน ปลองปลายสุด<br />

ของรยางคฟน ยาวรูปไข ปลองทองมองเห็นไดหาปลอง ปลองทองปลองที่หายาวที่สุดมีความยาว<br />

มากกวาปลองที่<br />

สอง สาม และสี่รวมกัน<br />

Genus Serangium Blackburn<br />

ลําตัวโคงนูนรูปทรงกลม ลักษณะมันเปนเงาหรือมีขนกระจายไมหนาแนน หนวดมีเกา<br />

ปลอง ปลองที่สามยาว<br />

ปลายหนวดปลองสุดทายยาว ลักษณะคลายมีด หรือยาวเรียวรูปไข ตนขา มี<br />

ขนาดใหญและแบน หนาแขง รูปรางผอมบาง ปลองขาที่อยูตอจากหนาแขง<br />

มีสี่ปลอง<br />

ปลองที่<br />

สามจะสั้นมาก<br />

33


ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Serangium sp. (ภาพที่<br />

7 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

เปนดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็กมาก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 0.8-1.0 มิลลิเมตร ยาว<br />

1.1-1.3 มิลลิเมตร ลําตัวโคงนูนรูปทรงกลม สวนหัวและอกมีสีน้ําตาล-แดง<br />

มีขนละเอียดปกคลุมทั่ว<br />

ตัว หนาคอนขางแคบ (ภาพที่<br />

7 จ และ ฉ) หนวดเกาปลอง หนวดคอนขางยาว ปลองที่สามยาวมาก<br />

กวาปลองอื่น<br />

หนวดปลองสุดทายยาวและขยายกวางกวาปลองอื่น<br />

มีลักษณะคลายมีด (ภาพที่<br />

7 ข)<br />

อกปลองแรกแข็งแรงขอบดานขางของอกปลองแรกแคบ (ภาพที่<br />

7 ช) ปกหนาสีดําเงามีลักษณะเปน<br />

หลุมเล็ก ๆ หนาแนน (ภาพที่<br />

7 ฌ) ปกหลังปลายปกโคงมน มีเสนปกนอย ขาเล็กบอบบาง ตนขา<br />

ขยายกวาง ทารไซมีสี่ปลอง<br />

(ภาพที่<br />

7 ฎ) สวนทองสีน้ําตาลแดง<br />

(ภาพที่<br />

7 ญ) จําแนกชนิดโดยใช<br />

อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

7 ฏ และ ฐ)<br />

Subfamily Scymninae<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง<br />

ลําตัวมันเปนเงางามปกคลุมดวยขนละเอียด หนวด<br />

คอนขางสั้น<br />

มีความยาวประมาณสองในสามของความกวางของหัว ปลองปลายสุดของรยางคฟนมี<br />

ความแข็งแรงรูปรางคลายขวาน ขอบดานนอกของอกปลองแรกเวาไมมาก ฐานของปกหนาไม<br />

กวางกวาฐานของอกปลองแรก ทารไซมีสามปลอง<br />

Tribe Stethorini (ภาพผนวกที่<br />

13)<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ลําตัวสีดําปกคลุมดวยขนละเอียด หนวดมีลักษณะเปนรูปกระบอง<br />

มี 11 ปลอง ไมสั้นมาก<br />

ปลองปลายสุดของรยางคฟนคอนขางบางปลายตัดมีความยาวมากกวาความ<br />

กวาง ฐานของปกหนาเวาเล็กนอย พื้นที่ดานลางของอกปลองแรกซึ่งอยูระหวาง<br />

ปลองตนขากวาง<br />

ทารไซมีสามปลอง ปลองทองมีหกปลอง<br />

34


Genus Stethorus Weise<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ลําตัวเรียวยาวหรือรีเปนรูปไข ปกหนาแคบ ปลองทองมีหกปลอง<br />

สวนลางของปลองทองปลองแรก มีเสนฟเมอรรอลที่สมบูรณยาวชนขอบดานขางของปลองทอง<br />

ปลองที่สาม<br />

หนาแขงคอนขางบอบบาง ทารไซมีสามปลอง<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Stethorus indira Kapur (ภาพที่<br />

8 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 1.2-1.4 มิลลิเมตร ยาว 1.0-1.2<br />

มิลลิเมตร ลําตัวสีดํารูปไข ปกคลุมดวยขนละเอียด หนวดมีลักษณะเปนรูปกระบอง มี 11 ปลอง<br />

(ภาพที่<br />

8 ข) ปลองปลายสุดของรยางคฟนมีความแข็งแรงรูปรางคลายขวาน (ภาพที่<br />

8 ง) ฐานปก<br />

หนาแคบ มีความกวางเทากับฐานของอกปลองแรก สวนปลายขอบดานขางของปกหนาเวาเล็กนอย<br />

(ภาพที่<br />

8 ฌ) ปกหลังบางใส มองเห็นเสนปกไดเพียงบางเสน หนาแขงคอนขางบอบบาง ทารไซมี<br />

สามปลอง (ภาพที่<br />

8 ฎ) ปลองทองมีหกปลอง (ภาพที่<br />

8 ญ) จําแนกชนิดโดยใชอวัยวะสืบพันธุเพศ<br />

ผู<br />

(ภาพที่<br />

8 ฏ และ ฐ)<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Stethorus pauperculus (Weise) (ภาพที่<br />

9 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็กมาก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 0.7-0.9 มิลลิเมตร ยาว 1.0-<br />

1.2 มิลลิเมตร ลําตัวสีดํารูปไข ปกคลุมดวยขนละเอียด หนวดเปนรูปกระบอง มี 11 ปลอง (ภาพที่<br />

9<br />

ข)ปลองปลายสุดของรยางคฟนมีความแข็งแรงรูปรางคลายขวาน (ภาพที่<br />

9 ง) ปกหนาแคบ ฐานปก<br />

หนาแคบ มีความกวางเทากับฐานของอกปลองแรก (ภาพที่<br />

9 ฌ) ขอบดานขางของปกหนาเวานอย<br />

กวา S. indira ปกหลังบางใส มองเห็นเสนปกไดเพียงบางเสน หนาแขงคอนขางบอบบาง ทารไซ<br />

มีสามปลอง (ภาพที่<br />

9 ฎ) ปลองทองมีหกปลอง (ภาพที่<br />

9 ญ) จําแนกชนิดโดยใชอวัยวะสืบพันธุเพศ<br />

ผู<br />

(ภาพที่<br />

9 ฏ และ ฐ)<br />

35


ภาพที่<br />

7 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Serangium sp.<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (40X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (40X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (40X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (40X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(40X)<br />

ฌ. ปกหนา (40X)<br />

ญ. ปลองทอง (40X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุ เพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

36


ภาพที่<br />

8 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Stethorus indira Kapur<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (40X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (40X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (40X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (40X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(40X)<br />

ฌ. ปกหนา (40X)<br />

ญ. ปลองทอง (40X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุ เพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

37


ภาพที่<br />

9 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Stethorus pauperculus (Weise)<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (40X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (40X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (40X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (40X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(40X)<br />

ฌ. ปกหนา (40X)<br />

ญ. ปลองทอง (40X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

38


Tribe Scymnini (ภาพผนวกที่<br />

14)<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

รูปรางยาวรีเปนรูปไขเกือบกลม ลําตัวปกคลุมดวยขนละเอียด<br />

หนวดคอนขางสั้นลักษณะคลายกระบอง<br />

มีจํานวน 8–11 ปลอง ปลองปลายสุดของรยางคฟนไมยาว<br />

มาก มีรูปรางคลายขวานโดยขอบดานขางเกือบจะขนานกัน ขอบดานบนของอกปลองแรกโคงเวา<br />

เขาดานในเล็กนอย ปกหนาคอนขางสั้นและแคบขอบดานนอกของปกหนามักจะมีรอยเวา<br />

ปลอง<br />

ทองมีหกปลองเห็นไดชัดเจน ปลองฐานขากวาง ทารไซมีสามปลอง หรือสี่ปลอง<br />

Genus Nephus Mulsant<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

รูปรางเปนรูปไขยาวรี ลําตัวโคงนูนปกคลุมดวยขนละเอียด หนวด<br />

มี 11 ปลอง โดยที่ปลองที่หนึ่งและสองเชื่อมตอกันจึงนับไดเพียง<br />

10 ปลอง ปลองปลายสุดของ<br />

รยางคฟนยาวขนาดเกือบเทากันตลอดปลอง เสนฟเมอรรอลของปลองทองปลองแรกยาวเกือบชน<br />

ขอบดานขาง ปลองฐานขากวาง ทารไซมีสามปลอง ปลายเล็บเรียวแหลม<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Nephus ryuguus (H. Kamiya) (ภาพที่<br />

10 ก)<br />

Scymnus (Nephus) ryuguus H. Kamiya<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 1.3 มิลลิเมตร ยาว 2.0 มิลลิเมตร<br />

รูปรางเปนรูปไขยาวรี ลําตัวเปนสีดําปกคลุมดวยขนละเอียด ขอบดานขางของอกปลองแรกเวาเล็ก<br />

นอย (ภาพที่<br />

10 ช) ปกหนาสีดํามีจุดสีน้ําตาลแดงรูปไขขางละหนึ่งจุด<br />

ตั้งอยูกลางปกเยื้องไปทาง<br />

ปลายปกเกือบถึงขอบปก บริเวณขอบปลายปกเปนสีเหลือง-สม ขอบปกดานนอกเวาเล็กนอย (ภาพ<br />

ที่<br />

10 ฌ) ปลองทองมีหกปลองเห็นไดชัดเจน (ภาพที่<br />

10 ญ) ปลองฐานขากวาง ทารไซมีสามปลอง<br />

หรือสี่ปลอง<br />

(ภาพที่<br />

10 ฎ) จําแนกชนิดโดยใชอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

10 ฏ และ ฐ)<br />

39


ภาพที่<br />

10 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Nephus ryuguus (H. Kamiya)<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (25X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (40X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (40X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (40X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(40X)<br />

ฌ. ปกหนา (40X)<br />

ญ. ปลองทอง (40X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

40


Genus Scymnus Kugelann<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

รูปรางยาวรีเปนรูปไขเกือบกลม ลําตัวโคงนูนปกคลุมดวยขน<br />

ละเอียด หนวดคอนขางสั้นลักษณะคลายกระบอง<br />

มีจํานวน 11 ปลอง บางครั้งนับได<br />

10 ปลองเนื่อง<br />

จากปลองที่หนึ่งและสองรวมกันเปนปลองเดียว<br />

ปลองปลายสุดของรยางคฟนไมยาวมาก มีรูปราง<br />

คลายขวาน ขอบดานขางของอกปลองแรกโคงเวาเขาดานในเล็กนอย มีลักษณะเปนหลุมเล็ก ๆ ทั่ว<br />

ไป ปกหนาคอนขางสั้นและแคบ<br />

ขอบดานนอกของปกหนามีรอยเวาเล็กนอย ปลองทองมีหกปลอง<br />

เห็นไดชัดเจน ขาสั้นคอนขางกวาง<br />

ปลองฐานขากวาง หนาแขงไมกวางหรือบางครั้งสวนปลายของ<br />

หนาแขงขยายกวาง ทารไซมีสี่ปลอง<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus rectoides Sasaji (ภาพที่<br />

11 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 1.1 มิลลิเมตร ยาว 1.8 มิลลิเมตร<br />

รูปรางเรียวยาวรูปไข ลําตัวโคงนูนปกคลุมดวยขนละเอียด หัว สีน้ําตาลแดง<br />

ตาสีดํา (ภาพที่<br />

11 จ<br />

และ ฉ) หนวดคอนขางสั้นลักษณะคลายกระบอง<br />

มีจํานวน 11 ปลอง ปลองที่สี่ยาวกวาปลองที่สาม<br />

และหา (ภาพที่<br />

11 ข) อกปลองแรกสีน้ําตาลแดง<br />

กลางอกปลองแรกติดกับสคูเทลลัม (Scutellum) มี<br />

สีดําเล็กนอย (ภาพที่<br />

11 ช) ปกหนาแข็งสีน้ําตาลเขม<br />

ปลายปกสวนที่มีสีเหลืองสมมีพื้นที่เทากับหนึ่ง<br />

สวนสี่ของปกหนาอกปลองแรกสีน้ําตาลแดง<br />

(ภาพที่<br />

11 ฌ) ปกหลังบางใสมองเห็นเสนปกชัดเจน<br />

ขาสั้นคอนขางกวาง<br />

ปลองฐานขากวาง หนาแขงไมกวางหรือบางครั้งสวนปลายของหนาแขงขยาย<br />

กวาง ทารไซมีสี่ปลอง<br />

ทองสีน้ําตาล<br />

(ภาพที่<br />

11 ญ) จําแนกชนิดโดยใชอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

11 ฏ และ ฐ)<br />

41


ภาพที่<br />

11 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus rectoides Sasaji<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (25X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (40X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (40X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (40X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(40X)<br />

ฌ. ปกหนา (40X)<br />

ญ. ปลองทอง (40X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

42


ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus sodalis (Weise) (ภาพที่<br />

12 ก)<br />

Pullus sodalis Weise, 1923<br />

Scymnus (Pullus) sodalis Korschefsky, 1931<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 1.2 มิลลิเมตร ยาว 1.9 มิลลิเมตร<br />

รูปรางเรียวยาวรูปไข ดานขางของลําตัวโคงนูนปกคลุมดวยขนละเอียด หัวและลําตัวสีดํา (ภาพที่<br />

12<br />

จ และ ฉ) อกปลองแรกสีน้ําตาลแดง<br />

กลางอกปลองแรกสีดําเหนือบริเวณสคูเทลลัม (ภาพที่<br />

12 ช)<br />

ปกหนาสีน้ําตาลเขม<br />

ปลายปกสีเหลืองสมมีแถบสีน้ําตาลออนเล็กนอย<br />

พื้นที่ปลายปกเทากับหนึ่ง<br />

สวนสี่ของปกหนา<br />

(ภาพที่<br />

12 ฌ) อกปลองที่สองและสามสีน้ําตาลเขม<br />

(ภาพที่<br />

12 ซ) ทองปลองที่<br />

หนึ่งมีเสนฟเมอรรอลที่สมบูรณยาวชนขอบดานขางของปลองทองปลองที่สาม<br />

(ภาพที่<br />

12 ญ)<br />

จําแนกชนิดโดยใชอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

12 ฏ และ ฐ)<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus nigrosuturalis H. Kamiya (ภาพที่<br />

13 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 1.2 มิลลิเมตร ยาว 2.0 มิลลิเมตร<br />

ลําตัวคอนขางยาวรูปไข หลังโคงนูนสีน้ําตาลสม<br />

ปกคลุมดวยขนละเอียด ตาขนาดเล็ก รยางคสวน<br />

หัวมองเห็นไดชัดเจน (ภาพที่<br />

13 จ และ ฉ) หนวดยาวมี 10 ปลอง (ภาพที่<br />

13 ข) รยางคฟนคอนขาง<br />

ยาว (ภาพที่<br />

13 ง) กลางอกปลองแรกมีสีน้ําตาลเขม<br />

ขอบดานนอกโคงเล็กนอยสีน้ําตาลสม<br />

(ภาพที่<br />

13 ช) ปกหนาแข็งโคนปกสีน้ําตาลเขม<br />

กลางและปลายสีน้ําตาลสมยาวรี<br />

(ภาพที่<br />

13 ฌ) ปกหลังบาง<br />

ใสมองเห็นเสนปกชัดเจน ขายาว ปลองฐานขากวาง หนาแขงเรียวยาว ทารไซมีสามปลอง (ภาพ<br />

ที่<br />

13 ฎ) ปลองทองมีหกปลองเห็นไดชัดเจน (ภาพที่<br />

13 ญ) จําแนกชนิดโดยใชอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

13 ฏ และ ฐ)<br />

43


ภาพที่<br />

12 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus sodalis (Weise)<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (25X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (40X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (40X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (40X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(40X)<br />

ฌ. ปกหนา (40X)<br />

ญ. ปลองทอง (40X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

44


ภาพที่<br />

13 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus nigrosuturalis H. Kamiya<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (25X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (40X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (40X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (40X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(40X)<br />

ฌ. ปกหนา (40X)<br />

ญ. ปลองทอง (40X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

45


ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus quadrillum Motschulsky (ภาพที่<br />

14 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 1.3 มิลลิเมตร ยาว 1.9 มิลลิเมตร<br />

รูปรางรูปไข ลําตัวยาวเปนสองเทาของความกวาง ปกคลุมดวยขนละเอียด หัวสีน้ําตาลเขม<br />

(ภาพที่<br />

14 จ และ ฉ) อกปลองแรกสีดําขอบดานบนเวาเล็กนอย (ภาพที่<br />

14 ช) ปกหนาแข็งสีดําแตละขางมี<br />

แถบสีน้ําตาลสมสองแถบ<br />

แถบดานบนใหญกวาแถบดานลาง ปลายปกสีน้ําตาลสม<br />

(ภาพที่<br />

14 ฌ)<br />

ปลองฐานขากวาง ทารไซมีสามปลอง ปลายเล็บเรียวแหลม (ภาพที่<br />

14 ฎ) ปลองทองมีหกปลองเห็น<br />

ไดชัดเจน (ภาพที่<br />

14 ญ) จําแนกชนิดโดยใชลักษณะอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

14 ฏ และ ฐ)<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus pallidicollis Mulsant (ภาพที่<br />

15 ก)<br />

Pullus pallidicollis (Muls.)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 1.1 มิลลิเมตร ยาว 1.7 มิลลิเมตร<br />

ลําตัวโคงนูนรูปไขกวาง ปกคลุมดวยขนละเอียด หัว (ภาพที่<br />

15 จ และ ฉ) และอกปลองแรก (ภาพที่<br />

15 ช) สีน้ําตาลเขม<br />

ขอบดานขางของอกปลองแรกสีน้ําตาล<br />

ปกหนาแข็งสีน้ําตาลเขม<br />

โคนปกมีสี<br />

น้ําตาลเขมตรงกลางปกมีแถบสีน้ําตาลแดงเวาเขาไปบริเวณโคนปก<br />

และสวนปลายปกสีน้ําตาลแดง<br />

(ภาพที่<br />

15 ฌ) ปกหลังสีใส มองเห็นเสนปกชัดเจน (ภาพที่<br />

15 ฏ) ปลองฐานขากวาง ตนขาขยาย<br />

กวาง ทารไซมีสามปลอง ปลายเล็บ เรียวแหลม (ภาพที่<br />

15 ฎ) ปลองทองมีหกปลองเห็นไดชัดเจน<br />

(ภาพที่<br />

15 ฌ)<br />

46


ภาพที่<br />

14 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus quadrillum Motschulsky<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (25X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (40X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (40X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (40X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(40X)<br />

ฌ. ปกหนา (40X)<br />

ญ. ปลองทอง (40X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

47


ภาพที่<br />

15 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus pallidicollis Mulsant<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (25X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (40X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (40X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (40X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(40X)<br />

ฌ. ปกหนา (40X)<br />

ญ. ปลองทอง (40X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. ปกหลัง (40X)<br />

48


ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus sp.1 (ภาพที่<br />

16 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 1.5 มิลลิเมตร ยาว 2.0 มิลลิเมตร<br />

รูปไข หลังโคงปกคลุมดวยขนละเอียดคอนขางหนาแนน หัวสีสม ตาสีดํา (ภาพที่<br />

16 จ และ ฉ)<br />

หนวดยาวปลองปลายขยายใหญ (ภาพที่<br />

16 ข) ปลองปลายรยางคฟนขยายใหญ (ภาพที่<br />

16 ง) อก<br />

ปลองแรกสีดําขอบทางดานหนาและดานขางสีสม ขอบดานขางของอกปลองแรกเวาเล็กนอย (ภาพที่<br />

16 ช) ปกหนาแข็งสีดํา ปลายปกมีสีสม (ภาพที่<br />

16 ฌ) ปกหลังบางเนื้อปกเปนสีน้ําตาลออนมองเห็น<br />

เสนปกชัดเจน ปลองฐานขากวาง ตนขาขยายกวาง ทารไซมีสามปลอง ปลายเล็บเรียวแหลม (ภาพที่<br />

16 ฎ) ปลองทองมีหกปลองเห็นไดชัดเจน (ภาพที่<br />

16 ฌ) จําแนกชนิดโดยใชลักษณะอวัยวะ สืบ<br />

พันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

16 ฏ และ ฐ)<br />

Tribe Aspidimerini (ภาพผนวกที่<br />

15)<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็กถึงขนาดกลาง<br />

รูปรางมีทั้งลักษณะเกือบกลมและรูปไขสั้น<br />

ลําตัว<br />

โคงนูนปกคลุมดวยขนละเอียด ขอบตาดานหนาแคบ หนวดสั้นมากหักเปนขอศอก<br />

มีเกาปลอง โดย<br />

ที่สองปลองแรกยาวและกวางกวาปลองอื่น<br />

ๆ ปลองปลายสุดของรยางคฟนมีความกวางมากกวา<br />

ความยาวและสวนปลายปลองสุดทายขยายกวาง ตนขาขยายกวาง ปลองทองมีหกปลองที่มองเห็น<br />

ไดชัดเจน<br />

Genus Cryptogonus Mulsant<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็กถึงขนาดกลาง<br />

รูปรางมีทั้งลักษณะเกือบกลมและรูปไขสั้น<br />

ลําตัว<br />

โคงนูนปกคลุมดวยขนละเอียด หนวดสั้นมากมีเกาปลอง<br />

หักเปนขอศอก ขอบดานขางของอกปลอง<br />

แรกเวาเปนมุมแหลมเล็กนอย อกปลองที่สองแคบและขยายกวางไปยังฐานของอกปลองที่สาม<br />

ฐาน<br />

ของปกหนากวางและโคงนูน ตนขาขยายกวาง ปลองทองมีหกปลองที่มองเห็นไดชัดเจนลักษณะ<br />

คลายครึ่งวงกลม<br />

49


ภาพที่<br />

16 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Scymnus sp.1<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (25X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (40X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (40X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (40X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(40X)<br />

ฌ. ปกหนา (40X)<br />

ญ. ปลองทอง (40X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

50


ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus orbiculus (Gyllenhal) (ภาพที่<br />

17 ก)<br />

Coccinella orbiculus Gyllenhal, 1808<br />

Cryptogonus orbiculus Mulsant, 1850<br />

Diomus futahoshii Ohta, 1929<br />

Diomus futahoshii ab. Koshunus Ohta, 1929<br />

Aspidimerus fulvocinctus Mulsant, 1853<br />

Platynaspis oculata Motschulsky, 1858<br />

Cryptogonus centroguttatus Boheman, 1859<br />

Coccinella antica Walker, 1859<br />

Cryptogonus malasiae Crotch, 1874<br />

Cryptogonus orbiculus var. nigripennis Weise, 1895<br />

Cryptogonus orbiculus var. apicalis Weise, 1900<br />

Cryptogonus orbiculus var. sellatus Weise, 1900<br />

Cryptogonus orbiculus var. japonicus Weise, 1900<br />

Cryptogonus orbiculus var. lunatus Kapur, 1948<br />

Scymnus (Pullus) mitsuhashii Takizawa, 1917<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 2.0 มิลลิเมตร ยาว 2.5 มิลลิเมตร<br />

ลําตัวรูปไขโคงนูน ปกคลุมดวยขนละเอียด หัวสีสม ตาสีดํา (ภาพที่<br />

17 จ และ ฉ) เพศผูหนามีสีสม<br />

เพศเมียหนามีสีดํา อกปลองแรกสีดําขอบดานบนเวาเปนมุมแหลมเล็กนอย ขอบดานขางแคบสีน้ํา<br />

ตาลแดง (ภาพที่<br />

17 ช) ปกหนาแข็งสีดําแตละขางมีจุดสีสม ขางละหนึ่งจุด<br />

รูปรางของจุดมีหลายรูป<br />

แบบและขนาดที่ตางกัน<br />

บางครั้งจุดสีสมอาจมีขนาดเล็กหรือขยายกวาง<br />

(ภาพที่<br />

17 ฌ) ปกหลังบาง<br />

ใสปลายปกสีน้ําตาลออนมองเห็นเสนปกชัดเจน ดานใตของลําตัวสวนและทองสีดํา-สีน้ําตาล<br />

(ภาพ<br />

ที่<br />

17 ญ) ขอตอขาและตนขาสีน้ําตาลเปนมัน<br />

บางสวนสีน้ําตาลออน<br />

ตนขาขยายกวางมาก หนาแขง<br />

และทารไซสีเหลือง-น้ําตาล<br />

(ภาพที่<br />

17 ฎ) จําแนกชนิดโดยใชลักษณะอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

17 ฏ และ ฐ)<br />

51


ภาพที่<br />

17 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus orbiculus (Gyllenhal)<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (25X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (25X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (25X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (25X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(25X)<br />

ฌ. ปกหนา (25X)<br />

ญ. ปลองทอง (25X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

52


ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus trioblitus (Gyllenhal) (ภาพที่<br />

18 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 1.8 มิลลิเมตร ยาว 2.5 มิลลิเมตร<br />

รูปรางรูปไขเกือบกลม ลําตัวโคงนูนปกคลุมดวยขนละเอียด หัวสีดํา บริเวณรอยตอกับอกปลองแรก<br />

สีเหลืองสม (ภาพที่<br />

18 จ และ ฉ) อกปลองแรกสีน้ําตาลเขม-ดํา<br />

ขอบดานหนาและมุมสองขางสี<br />

เหลืองสม (ภาพที่<br />

18 ช) ปกหนาแข็งสีเหลืองสม ปกแตละขางมีจุดสีน้ําตาลเขมหรือดําสี่จุด<br />

กลาง<br />

ปกมีจุดสีดําสองจุด โคนปกมีแถบสีดําหนึ่งแถบ<br />

และปลายปกมีแถบสีดําหนึ่งแถบ<br />

(ภาพที่<br />

18 ฌ)<br />

ปกหลังบางใสปลายปกสีน้ําตาลออนมองเห็นเสนปกชัดเจน<br />

สวนทองดานใตของลําตัวสีดํา-สีน้ํา<br />

ตาล (ภาพที่<br />

18 ญ) ขอตอขา และตนขาสีน้ําตาลเปนมัน<br />

บางสวนสีน้ําตาลออน และทารไซสีเหลือง-<br />

น้ําตาล<br />

(ภาพที่<br />

18 ฎ) จําแนกชนิดโดยใชลักษณะอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

18 ฏ และ ฐ)<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus fulvocinctus (Mulsant) (ภาพที่<br />

19 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 1.3 มิลลิเมตร ยาว 2.0 มิลลิเมตร<br />

รูปรางรูปไขเกือบกลม ลําตัวโคงนูนปกคลุมดวยขนละเอียด หัวสีสม ตาสีดํา (ภาพที ่ 19 จ และ ฉ)<br />

อกปลองแรกสีดําขอบดานหนาสีสม (ภาพที่<br />

19 ช) ปกหนาแข็งสีดําขอบปกดานลางสีสมแดง กวาง<br />

ประมาณหนึ่งในสามของปก<br />

(ภาพที่<br />

19 ฌ) ปกหลังบางใสปลายปกสีน้ําตาลออนมองเห็นเสนปก<br />

ชัดเจน ขอตอขา และตนขาสีน้ําตาลเปนมัน<br />

บางสวนสีน้ําตาลออน<br />

หนาแขง และทารไซ สีเหลือง-<br />

น้ําตาล<br />

(ภาพที่<br />

19 ฎ) ทองดานใตของลําตัวสีดํา-สีน้ําตาล<br />

(ภาพที่<br />

19 ญ) จําแนกชนิดโดยใชลักษณะ<br />

อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

19 ฏ และ ฐ)<br />

53


ภาพที่<br />

18 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus trioblitus (Gyllenhal)<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (25X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (25X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (25X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (25X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(25X)<br />

ฌ. ปกหนา (25X)<br />

ญ. ปลองทอง (25X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

54


ภาพที่<br />

19 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus fulvocinctus (Mulsant)<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (25X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (25X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (25X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (25X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(25X)<br />

ฌ. ปกหนา (25X)<br />

ญ. ปลองทอง (25X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

55


ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus fulvoterminatus Boheman (ภาพที่<br />

20 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 1.8 มิลลิเมตร ยาว 2.3 มิลลิเมตร<br />

รูปรางรูปไขเกือบกลม ลําตัวโคงนูนปกคลุมดวยขนละเอียด หัวสีสม ตาสีดํา (ภาพที่<br />

20 จ และ ฉ)<br />

อกปลองแรกสีดําขอบดานหนาสีสมประมาณหนึ่งในสามของอก<br />

(ภาพที่<br />

20 ช) ปกหนาแข็งสีดํา<br />

ขอบปกดานลางสีสมแดง กวางประมาณหนึ่งในสี่ของปก<br />

(ภาพที่<br />

20 ฌ) ปกหลังบางใสปลายปกสี<br />

น้ําตาลออนมองเห็นเสนปกชัดเจน<br />

(ภาพที่<br />

20 ฏ) ขอตอขา และตนขา สีน้ําตาลเปนมัน<br />

บางสวนสี<br />

น้ําตาลออน<br />

หนาแขง และทารไซ สีเหลือง-น้ําตาล<br />

(ภาพที่<br />

20 ฎ) ทองดานใตของลําตัวสีดํา-สีน้ํา<br />

ตาล (ภาพที่<br />

20 ญ)<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus sp. 1 (ภาพที่<br />

21 ก)<br />

ลักษณะทั ่วไป ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 1.6 มิลลิเมตร ยาว 2.2 มิลลิเมตร<br />

รูปรางรูปไขเกือบกลม ลําตัวโคงนูนปกคลุมดวยขนละเอียด หัวสีสม ตาสีดํา (ภาพที่<br />

21 จ และ ฉ)<br />

อกปลองแรกสีดําขอบดานหนาสีสมกวางประมาณหนึ่งในสองของอกปลองแรก<br />

(ภาพที่<br />

21 ช) ปก<br />

หนาแข็งสีดําขอบปกดานขางและดานลางสีสม (ภาพที่<br />

21 ฌ) ปกหลังบางใสปลายปกสีน้ําตาลออน<br />

มองเห็นเสนปกชัดเจน ขอตอขา และตนขาสีน้ําตาลเปนมัน<br />

บางสวนสีน้ําตาลออน<br />

หนาแขง และ<br />

ทารไซ สีเหลือง-น้ําตาล<br />

(ภาพที่<br />

21 ฎ) ทองดานใตของลําตัวสีดํา-สีน้ําตาล<br />

(ภาพที่<br />

21 ญ) จําแนก<br />

ชนิดโดยใชลักษณะอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

21 ฏ และ ฐ)<br />

56


ภาพที่<br />

20 ตัวเต็มวัยดานบน และลักษณะอวัยวะภายนอกของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus fulvoterminatus Boheman<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (25X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (25X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (25X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (25X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(25X)<br />

ฌ. ปกหนา (25X)<br />

ญ. ปลองทอง (25X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. ปกหลัง (25X)<br />

57


ภาพที่<br />

21 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus sp. 1<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (25X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (25X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (25X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (25X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(25X)<br />

ฌ. ปกหนา (25X)<br />

ญ. ปลองทอง (25X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

58


ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus sp. 2 (ภาพที่<br />

22 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 1.6 มิลลิเมตร ยาว 2.1 มิลลิเมตร<br />

รูปรางรูปไขเกือบกลม ลําตัวโคงนูนปกคลุมดวยขนละเอียด หัวสีสม ตาสีดํา (ภาพที่<br />

22 จ และ ฉ)<br />

อกปลองแรกสีดําขอบดานหนาและดานขางมีแถบสีสมเล็กนอย (ภาพที่<br />

22 ช) ปกหนาแข็งสีดําขอบ<br />

ปกดานขางและปลายปกสีสมประมาณสองในสามของความยาวปก (ภาพที่<br />

22 ฌ) ปกหลังบางใส<br />

ปลายปกสีน้ําตาลออนมองเห็นเสนปกชัดเจน<br />

ขอตอขา และตนขา สีน้ําตาลเปนมัน<br />

บางสวนสีน้ํา<br />

ตาลออน หนาแขง และทารไซสีเหลือง-น้ําตาล<br />

(ภาพที่<br />

22 ฎ) ทองดานใตของลําตัวสีดํา-สีน้ําตาล<br />

(ภาพที่<br />

22 ญ) จําแนกชนิดโดยใชลักษณะอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

22 ฏ และ ฐ)<br />

ดวงเตาตัวห้ ํา Cryptogonus sp. 3 (ภาพที่<br />

23 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็ก<br />

ขนาดลําตัว กวาง 1.9 มิลลิเมตร ยาว 2.5 มิลลิเมตร<br />

รูปรางรูปไขเกือบกลม ลําตัวโคงนูนปกคลุมดวยขนละเอียด หัวสีสม ตาสีดํา (ภาพที่<br />

23 จ และ ฉ)<br />

อกปลองแรกสีดําขอบดานหนาและดานขางมีแถบสีสมเล็กนอย (ภาพที่<br />

23 ช) ปกหนาแข็งสีดํามีจุด<br />

สีสมกลางสีดําขอบปกดานขางและปลายปกสีสม (ภาพที่<br />

23 ฌ) ปกหลังบางใสปลายปกสีน้ําตาล<br />

ออนมองเห็นเสนปกชัดเจน ขอตอขา และตนขาสีน้ําตาลเปนมัน<br />

บางสวนสีน้ําตาลออน<br />

หนาแขง<br />

และทารไซ สีเหลือง-น้ําตาล<br />

(ภาพที่<br />

23 ฎ) ทองดานใตของลําตัวสีดํา-สีน้ําตาล<br />

(ภาพที่<br />

23 ญ)<br />

จําแนกชนิดโดยใชลักษณะอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

23 ฏ และ ฐ)<br />

59


ภาพที่<br />

22 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus sp. 2<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (25X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (25X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (25X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (25X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(25X)<br />

ฌ. ปกหนา (25X)<br />

ญ. ปลองทอง (25X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

60


ภาพที่<br />

23 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus sp. 3<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (25X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (25X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (25X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (25X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(25X)<br />

ฌ. ปกหนา (25X)<br />

ญ. ปลองทอง (25X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

61


Subfamily Chilocorinae<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง<br />

ลําตัวมีทั้งชนิดมันเปนเงางาม<br />

และชนิดที่ปกคลุม<br />

ดวยขนละเอียด หนวดสั้นตั้งเยื้องไปทางดานหนา<br />

ฐานริมฝปากบนขยายกวางทางดานขาง ปลอง<br />

ปลายสุดของรยางคฟนสวนโคนและสวนปลายขนาดเกือบเทากัน อกปลองแรกเปนรูปสี่เหลี่ยมคาง<br />

หมูขอบดานบนเวาลึกมาก ฐานปกหนากวางกวาฐานอกปลองแรก<br />

Tribe Chilocorini (ภาพผนวกที่<br />

16)<br />

ดวงเตาขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ลําตัวมันเปนเงางามและบางชนิดปกคลุมดวยขน<br />

ละเอียด เพศเมียมีปลองทองหาปลองที่มองเห็นไดชัดเจน<br />

เพศผูมีหกปลองที่มองเห็นไดชัดเจน<br />

และ<br />

ปลองที่<br />

6 สั้นมาก<br />

ขาตรงสวนของ หนาแขงไมมีหนามแข็ง ทารไซมีสี่ปลอง<br />

Genus Brumus<br />

ดวงเตาขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ลําตัวมันเปนเงางาม หนวดมีแปดถึงเกาปลอง ปลอง<br />

ปลายสุดของรยางคฟนสวนโคนและปลายขนาดเกือบเทากันปลายยาวแหลมเล็กนอยเพศเมียมีปลอง<br />

ทองหาปลองที่มองเห็นไดชัดเจน<br />

เพศผูมีหกปลองที่มองเห็นไดชัดเจน<br />

และปลองที่หกสั้นมาก<br />

ขา<br />

ยาว หนาแขงไมมีหนามแข็ง ทารไซมีสี่ปลอง<br />

62


ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Brumus lineatus (Weise) (ภาพที่<br />

24 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาขนาดกลาง ขนาดลําตัว กวาง 2.5 มิลลิเมตร ยาว 3.4 มิลลิเมตร รูป<br />

รางรูปไข มีความยาวมากกวาความกวาง ลําตัวมันเปนเงางาม หัวเหลืองดํา หนาสีเหลือง (ภาพที่<br />

24<br />

จ และ ฉ) อกปลองแรกสีเหลืองสมขอบดานหนาเวาลึก ขอบดานที่ติดกับสคูเทลลัม<br />

มีแถบสีดํา<br />

ดานลางของอกปลองแรกสีเหลือง (ภาพที่<br />

24 ช) ปกแข็งแตละขางมีลายตามยาวสีดําสลับสีเหลือง<br />

ออน ขอบปกมีสีเหลือง (ภาพที่<br />

24 ฌ) ปกหลังบางใสปลายปกสีน้ําตาลออนมองเห็นเสนปกชัดเจน<br />

ขาคอนขางยาว สีน้ําตาล-สีดํา<br />

หนาแขง ไมมีหนามแข็ง ทารไซสี่ปลอง<br />

(ภาพที่<br />

24 ฎ) จําแนกชนิด<br />

โดยใชลักษณะอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

24 ฏ และ ฐ)<br />

Genus Chilocorus Leach<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดกลาง<br />

ลําตัวกลมมันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม หนวดสั้นตั้งเยื้อง<br />

ไปทางขางหนา มีแปดปลอง ฐานริมฝปากบนขยายกวางทางดานขาง ปลองปลายสุดของรยางคฟน<br />

สวนโคนและปลายขนาดเกือบเทากัน อกปลองแรกเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมูขอบดานบนเวาลึกมาก<br />

โคนปกหนากวางกวาฐานอกปลองแรก เพศเมียมีปลองทองหาปลองที่มองเห็นไดชัดเจน<br />

เพศผูมีหก<br />

ปลองที่มองเห็นไดชัดเจน<br />

และปลองที่หกสั้นมาก<br />

ขาตรงสวนของ หนาแขงไมมีหนามแข็ง ทารไซ<br />

มีสี่ปลอง<br />

63


ภาพที่<br />

24 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Brumus lineatus (Weise)<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (10X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (25X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (25X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (25X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(25X)<br />

ฌ. ปกหนา (25X)<br />

ญ. ปลองทอง (25X)<br />

ฎ. ขาหนา (40X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

64


ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Chilocorus gressitti Miyatake (ภาพที่<br />

25 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดกลาง<br />

ขนาดลําตัว กวาง 3.5 มิลลิเมตร ยาว 3.7 มิลลิเมตร<br />

รูปรางทรงกลม ลําตัวมันเปนเงางามสีดํา หลังโคงมาก หัวสีเหลือง ตาดํา (ภาพที่<br />

25 จ และ ฉ)<br />

หนวด มีแปดปลอง (ภาพที่<br />

25 ข) ปลองปลายสุดของรยางคฟนสวนโคนและปลายขนาดเกือบเทา<br />

กัน (ภาพที่<br />

25 ง) อกปลองแรกสีดําขอบดานหนาเวาลึกเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมูสีเหลืองสม<br />

(ภาพที่<br />

25 ช) ปกหนาสีดําโคนปกกวางกวาฐานอกปลองแรก (ภาพที่<br />

25 ฌ) ปกหลังบางใสสีน้ําตาลออน<br />

มองเห็นเสนปกชัดเจน ขาสวนของหนาแขงไมมีหนามแข็ง ทารไซสี่ปลอง<br />

(ภาพที่<br />

25 ฎ) ปลอง<br />

ทองมี หกปลองที่มองเห็นไดชัดเจน<br />

(ภาพที่<br />

25 ญ) จําแนกชนิดโดยใชลักษณะอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

25 ฏ และ ฐ)<br />

Subfamily Coccinellinae<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดกลางถึงขนาดใหญ<br />

ลําตัวดานบนมันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม<br />

หนวดมี 11 ปลอง รูปรางยาวคลายกระบองปลองตรงปลายขยายกวางเล็กนอย ปลองปลายสุดของ<br />

รยางคฟนขยายกวางคลายขวาน สวนปลายของกราม มีทั้งแบบที่แยกเปนสองซี่และหลายซี่เปนแบบ<br />

ชนิดที่มีฐาน<br />

สวนทองมีหกปลองทั้วตัวผูและตัวเมีย<br />

ขายาวแข็งแรง ทารไซมีสี่ปลอง<br />

Tribe Coccinellini (ภาพผนวกที่<br />

17)<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดกลางถึงขนาดใหญ<br />

ลําตัวมันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม โคงนูน<br />

เปนครึ่งวงกลมหรือยาวรูปไข<br />

หนวดคอนขางยาวมี 11 ปลอง รูปรางคลายกระบองปลองตรงปลาย<br />

ขยายกวางเล็กนอย ปลองปลายสุดของรยางคฟนขยายกวางคลายขวาน สวนปลายของกราม แยก<br />

เปนสองซี่<br />

อกปลองแรกทางดานหนาเวามากและมุมทางดานหนาเปนมุมแหลม<br />

65


Genus Coccinella Linnaeus<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดกลางถึงขนาดใหญ<br />

ลําตัวมันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม โคงนูน<br />

เปนครึ่งวงกลมหรือยาวรูปไข<br />

หนวดเรียวบางยาวกวาหนา มี 11 ปลอง รูปรางคลายกระบอง สาม<br />

ปลองสุดทายขยายกวาง หนาคอนขางกวาง ขอบดานขางของอกปลองแรกโคงนูนและขยายกวาง<br />

ปลองดานใตของโคนขากวาง ฐานของปกหนากวางกวาอกปลองแรก ขอบดานขางของปกไมขยาย<br />

ออก ปลองทองปลองแรกมีเสนฟเมอรรอลที่ไมสมบูรณ<br />

ที่หนาแขงของขากลางมีหนามหนึ่งคู<br />

เล็บ<br />

คอนขางเล็ก<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Coccinella transversalis Fabricius (ภาพที่<br />

26 ก)<br />

Coccinella repanda Thunberg, 1781<br />

Coccinella repanda Bielawski & Chujo, 1961<br />

Coccinella repanda Sasaji, 1968<br />

Coccinella repanda transversalis Thunberg<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดกลาง<br />

ขนาดลําตัว กวาง 5.0 มิลลิเมตร ยาว 6.0 มิลลิเมตร<br />

ลําตัวยาวรูปไข มันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม หนาคอนขางกวาง (ภาพที่<br />

26 จ และ ฉ)<br />

หนวดเรียวบางยาวกวาหนา มี 11 ปลอง รูปรางคลายกระบอง สามปลองสุดทายขยายกวาง (ภาพที่<br />

26 ข) ขอบดานขางของอกปลองแรกสีเหลืองสม (ภาพที่<br />

26 ช) ปกหนามีแถบสีดําลายหยัก ขางละ<br />

สามแถบ โคนปกดานในมีจุดสีดําหนึ่งจุด<br />

(ภาพที่<br />

26 ฌ) ที่หนาแขงของขามีหนามหนึ่งคู<br />

เล็บ คอน<br />

ขางเล็ก (ภาพที่<br />

26 ฎ) ปลองทองปลองแรกมีเสนฟเมอรรอลที่ไมสมบูรณ<br />

(ภาพที่<br />

26 ญ) จําแนก<br />

ชนิดโดยใชลักษณะอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

26 ฏ และ ฐ)<br />

66


ภาพที่<br />

25 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Chilocorus gressitti Miyatake<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (10X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (16X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (16X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (16X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(16X)<br />

ฌ. ปกหนา (16X)<br />

ญ. ปลองทอง (16X)<br />

ฎ. ขาหนา (16X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

67


ภาพที่<br />

26 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Coccinella transversalis Fabricius<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (10X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (16X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (16X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (16X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(16X)<br />

ฌ. ปกหนา (16X)<br />

ญ. ปลองทอง (16X)<br />

ฎ. ขาหนา (16X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

68


ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Coccinella septempunctata Linnaeus (ภาพที่<br />

27 ก)<br />

Coccinella 7-punctata Linnaeus, 1758<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดกลาง<br />

ขนาดลําตัว กวาง 5.0 มิลลิเมตร ยาว 7.0 มิลลิเมตร<br />

ลําตัวยาวรูปไข มันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม หนวดเรียวบางยาวกวาหนา มี 11 ปลอง รูป<br />

รางคลายกระบอง สามปลองสุดทายขยายกวาง (ภาพที่<br />

27 ข) หนาคอนขางกวาง (ภาพที่<br />

27 จ และ<br />

ฉ) ขอบดานขางของอกปลองแรกสีเหลืองสม (ภาพที่<br />

27 ช) ปกหนามีจุดสีดํา ขางละสี่แถบ<br />

โดยจุดที่<br />

โคนปกดานในเมื่อปกมาชนกันจะเปนจุดใหญดานลางสคูเทลลัม<br />

(ภาพที่<br />

27 ฌ) ที่หนาแขง<br />

ของขามี<br />

หนามหนึ่งคู<br />

เล็บคอนขางเล็ก (ภาพที่<br />

27 ฎ) ปลองทองปลองแรกมีเสนฟเมอรรอลที่ไมสมบูรณ<br />

(ภาพที่<br />

27 ญ) จําแนกชนิดโดยใชลักษณะอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

27 ฏ และ ฐ)<br />

Genus Harmonia Mulsant<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดกลางถึงขนาดใหญ<br />

ลําตัวมันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม โคงนูนเปนครึ่ง<br />

วงกลมหรือยาวรูปไข หนวดคอนขางยาวมี 11 ปลอง รูปรางคลายกระบอง สามปลองสุดทายขยาย<br />

กวาง ปลองสุดทายขยายกวางมาก ปลองปลายสุดของรยางคฟนขยายกวางคลายขวาน สวนปลาย<br />

ของกราม แยกเปนสองซี่<br />

อกปลองแรกทางดานหนาเวามากและมุมทางดานหนาเปนมุมแหลม ขอบ<br />

ดานขางของปกไมขยายออก ปลองทองปลองแรกมีเสนฟเมอรรอลที่ไมสมบูรณ<br />

69


ภาพที่<br />

27 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Coccinella septempunctata Linnaeus<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (10X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (16X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (16X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (16X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(16X)<br />

ฌ. ปกหนา (16X)<br />

ญ. ปลองทอง (16X)<br />

ฎ. ขาหนา (16X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุ เพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

70


ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Harmonia octomaculata (Fabricius) (ภาพที่<br />

28 ก ข และ ค)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดใหญ<br />

ขนาดลําตัว กวาง 5.0 มิลลิเมตร ยาว 7.0 มิลลิเมตร<br />

ลําตัวยาวรูปไข มันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม ดวงเตาตัวห้ําชนิดนี้มีลายบนปกแข็งหลายรูป<br />

แบบดวยกัน หนวดเรียวบางยาวกวาหนา มี 11 ปลอง รูปรางคลายกระบอง สามปลองสุดทายขยาย<br />

กวางโดยเฉพาะปลองสุดทายขยายกวางมาก (ภาพที่<br />

28 ง) สวนปลายของกรามแยกเปน 2 ซี่<br />

(ภาพที่<br />

28 จ) ปลองปลายสุดของรยางคฟนขยายกวางคลายขวาน (ภาพที่<br />

28 ฉ) อกปลองแรกสีน้ําตาลมีจุด<br />

สีดําตรงกลางสี่จุด<br />

(ภาพที่<br />

28 ฌ) ปกหนาสีน้ําตาล<br />

ลวดลายบนปกมีหลายรูปแบบสวนมากเปนจุดสี<br />

ดํา ตําแหนงจุดแตกตางกันไป (ภาพที่<br />

28 ฎ) ขาคอนขางยาว (ภาพที่<br />

28 ฐ) ปลองทองปลองแรกมี<br />

เสน ฟเมอรรอลที่ไมสมบูรณ<br />

(ภาพที่<br />

28 ฏ) จําแนกชนิดโดยใชลักษณะอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

28 ฑ และ ฒ)<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Harmonia sedecimnotata (Fabricius) (ภาพที่<br />

29 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดใหญ<br />

ขนาดลําตัว กวาง 6.0 มิลลิเมตร ยาว 7.0 มิลลิเมตร<br />

ลําตัวยาวรูปไขกวาง หลังโคง ลําตัวมันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม หัวสีเหลืองหรือสีสม ตา<br />

ใหญสีดํา (ภาพที่<br />

29 จ และ ฉ) หนวดเรียวบางยาวกวาหนา มี 11 ปลอง รูปรางคลายกระบอง สาม<br />

ปลองสุดทายขยายกวางโดยเฉพาะปลองสุดทายขยายกวางมาก (ภาพที่<br />

29 ข) สวนปลายของกราม<br />

แยกเปนสองซี่<br />

(ภาพที่<br />

29 ค) ปลองปลายสุดของรยางคฟนขยายกวางคลายขวาน (ภาพที่<br />

29 ง) อก<br />

ปลองแรกสีเหลืองหรือสีสมมีจุดสีน้ําตาลหรือดําสองจุด<br />

(ภาพที่<br />

29 ช) ปกแข็งสีเหลืองหรือสีสมแต<br />

ละขางมีจุดสีน้ําตาลหรือดําขางละแปดจุด<br />

รวมปกแข็งทั้งสองขางมี<br />

16 จุด (ภาพที่ 29 ฌ) ปลองทอง<br />

ปลองแรกมีเสนฟเมอรรอลที่ไมสมบูรณ<br />

(ภาพที่<br />

29 ฎ) ขาคอนขางยาว จําแนกชนิดโดยใชลักษณะ<br />

อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

29 ฏ และ ฐ)<br />

71


่ <br />

<br />

<br />

ภาพที 28 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Harmonia octomaculata (Fabricius)<br />

ก. ข. และ ค. ตัวเต็มวัยดานบน (10X)<br />

ง. หนวด (40X)<br />

จ. กราม (40X)<br />

ฉ. รยางคฟน (40X)<br />

ช. หัวดานบน (16X)<br />

ซ. หัวดานลาง (16X)<br />

ฌ. อกปลองแรกดานบน (16X)<br />

ญ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(16X)<br />

ฎ. ปกหนา (16X)<br />

ฏ. ปลองทอง (16X)<br />

ฐ. ขาหนา (16X)<br />

ฑ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฒ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

72


ภาพที่<br />

29 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Harmonia sedecimnotata (Fabricius)<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (10X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (16X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (16X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (16X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(16X)<br />

ฌ. ปกหนา (16X)<br />

ญ. ปลองทอง (16X)<br />

ฎ. ขาหนา (16X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

73


Genus Micraspis Dejean<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดกลางถึงขนาดใหญ<br />

ลําตัวมันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม โคงนูน<br />

เปนครึ่งวงกลมหรือยาวรูปไข<br />

หนวดคอนขางสั้นเมื่อเทียบกับ<br />

genus อื่นในไทรบเดียวกัน<br />

มี 11<br />

ปลอง รูปรางคลายกระบอง เรียวบางและยาวกวาหนา สามปลองสุดทายขยายกวาง หนาคอนขาง<br />

กวาง ปลองปลายสุดของรยางคฟนขยายกวางคลายขวาน ขอบดานขางของอกปลองแรกโคงนูนและ<br />

ขยายกวาง ฐานของปกหนากวางกวาอกปลองแรกไมมาก ขอบดานขางของปกไมขยายออก สวน<br />

ทองมีหกปลองทั้ง<br />

ตัวผูและตัวเมีย<br />

เสนฟเมอรรอลที่ไมสมบูรณขายาวแข็งแรง<br />

ทารไซมีสี่ปลอง<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Micraspis discolor (Fabricius) (ภาพที่<br />

30 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดกลางถึงขนาดใหญ<br />

ขนาดลําตัว กวาง 3.5 มิลลิเมตร ยาว<br />

4.6 มิลลิเมตร รูปไข ลําตัวมันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม โคงนูนเปนครึ่งวงกลมหรือยาวรูป<br />

ไข หัวสีเหลืองสม หนาคอนขางกวาง (ภาพที่<br />

30 จ และ ฉ) หนวดคอนขางสั้นมี<br />

11 ปลอง รูปราง<br />

คลายกระบอง เรียวบาง สามปลองสุดทายขยายกวาง (ภาพที่<br />

30 ข) ปลองปลายสุดของรยางคฟน<br />

ขยายกวางคลายขวาน (ภาพที่<br />

30 ง) อกปลองแรกสีเหลืองอมสม มีแถบรูปสามเหลี่ยมสีดําใกลฐาน<br />

อกและมีจุดเล็กสีดําสองจุดตรงกลาง (ภาพที่<br />

30 ช) ปกแข็งสีเหลืองสมไมมีลายแตขอบ ขอบดานใน<br />

สีดํา ฐานของปกหนากวางกวาอกปลองแรกแตไมมาก (ภาพที่<br />

30 ฌ) ปกหลังบางใสปลายปกสีน้ํา<br />

ตาลออนเห็นเสนปกชัดเจน ขายาวแข็งแรง ทารไซมีสี่ปลอง<br />

(ภาพที่<br />

30 ฎ) สวนทองมีหกปลอง<br />

เสนฟเมอรรอลที่ไมสมบูรณ<br />

(ภาพที่<br />

30 ญ) จําแนกชนิดโดยใชลักษณะอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

30 ฏ และ ฐ)<br />

74


ภาพที่<br />

30 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Micraspis discolor (Fabricius)<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (10X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (16X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (16X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (16X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(16X)<br />

ฌ. ปกหนา (16X)<br />

ญ. ปลองทอง (16X)<br />

ฎ. ขาหนา (16X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

75


ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Micraspis vincta (Gorham) (ภาพที่<br />

31 ก)<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดกลางถึงขนาดใหญ<br />

ขนาดลําตัว กวาง 3.2 มิลลิเมตร ยาว<br />

4.1 มิลลิเมตร รูปไข ลําตัวมันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม โคงนูนเปนครึ่งวงกลมหรือยาวรูป<br />

ไข หัวดํา หนาคอนขางกวาง ตาสีเทา (ภาพที่<br />

31 จ และ ฉ) หนวดคอนขางสั้นมี<br />

11 ปลอง รูปราง<br />

คลายกระบอง เรียวบาง สามปลองสุดทายขยายกวาง (ภาพที่<br />

31 ข) ปลองปลายสุดของรยางคฟน<br />

ขยายกวางคลายขวาน (ภาพที่<br />

31 ง) อกปลองแรกทางดานฐานสีดําประมาณครึ่งหนึ่ง<br />

สวนที่เหลือมี<br />

สีเหลืองออน (ภาพที่<br />

31 ช) ฐานของปกหนากวางกวาอกปลองแรกแตไมมาก ปกแข็งสีเหลืองสม<br />

ขอบปกสีดํากลางปกมีแถบตามยาวสีดําขางละแถบ (ภาพที่<br />

31 ฌ) ปกหลังบางใสปลายปกสีน้ําตาล<br />

ออนเห็นเสนปกชัดเจน (ภาพที่<br />

31 ฏ) สวนทองมีหกปลอง เสนฟเมอรรอลที่ไมสมบูรณ<br />

(ภาพที่<br />

31<br />

ญ) ขายาวแข็งแรง ทารไซมีสี่ปลอง<br />

(ภาพที่<br />

31 ฎ)<br />

Genus Cheilomenes Mulsant<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดกลางถึงขนาดใหญ<br />

ลําตัวมันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม โคงนูน<br />

เปนครึ่งวงกลมหรือยาวรูปไข<br />

หนาคอนขางกวาง หนวดมี 11 ปลอง รูปรางคลายกระบองขนาดเล็ก<br />

เรียวบางและยาวกวาหนา สามปลองสุดทายขยายกวางออก สวนปลายของปลองสุดทายแคบเขา<br />

ปลองฐานหนวดกวางกวายาว อยูใกลตา<br />

ฐานริมฝปากบนเปนวงกลม ปลองปลายสุดของรยางคฟน<br />

ขยายกวางคลายขวาน ขอบดานขางของอกปลองแรกโคงนูนขยายกวางและเวาลึก ฐานของปกหนา<br />

กวางกวาอกปลองแรกไมมาก ขอบดานขางของปกไมขยายออก สวนทองมีหกปลองทั้วตัวผูและตัว<br />

เมียเสนฟเมอรรอลที่ไมสมบูรณ<br />

ขายาวแข็งแรง หนาแขงของขากลางและ คูหลังมีหนามสองอัน<br />

ทารไซมีสี่ปลอง<br />

เล็บแหลมคลายฟน<br />

76


ภาพที่<br />

31 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Micraspis vincta (Gorham)<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (10X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (16X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (16X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (16X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(16X)<br />

ฌ. ปกหนา (16X)<br />

ญ. ปลองทอง (16X)<br />

ฎ. ขาหนา (16X)<br />

ฏ. ปกหลัง (16X)<br />

77


ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cheilomenes sexmaculatus (Fabricius) (ภาพที่<br />

32 ก)<br />

Coccinella 6-maculata Fabricius, 1781<br />

Cheilomenes sex-maculata Mulsant, 1850<br />

Cheilomenes sex-maculata, Crotch, 1874<br />

Coccinella 4-plagiata Swartz, 1808<br />

Cheilomenes quadriplagiata Lewis, 1873<br />

Cheilomenes hiugaensis Takizawa, 1917<br />

Menochilus sex-maculatus Timberlake, 1943<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดใหญ<br />

ขนาดลําตัว กวาง 4.6 มิลลิเมตร ยาว 5.6 มิลลิเมตร<br />

รูปไข ลําตัวมันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม ตัวสีเหลืองอมสม หัวสีดํา หนาคอนขางกวาง<br />

(ภาพที่<br />

32 จ และ ฉ) หนวดมี 11 ปลอง รูปรางคลายกระบองขนาดเล็กเรียวบางและยาวกวาหนา<br />

สามปลองสุดทายขยายกวางออก สวนปลายของปลองสุดทายแคบเขา ปลองฐานหนวดกวางกวายาว<br />

อยูใกลตา<br />

(ภาพที่<br />

32 ข) ฐานริมฝปากบนเปนรูกลม ปลองปลายสุดของรยางคฟนขยายกวางคลาย<br />

ขวาน (ภาพที่<br />

32 ง) อกปลองแรกสีเหลืองอมสมมีแถบสีดําที่ขอบดานลาง<br />

และแถบสีดําขนาดใหญ<br />

ตรงกลางเชื่อมติดแถบสีดําที่ขอบ<br />

ขอบดานขางของอกปลองแรกโคงนูนขยายกวางและเวาลึก (ภาพ<br />

ที่<br />

32 ช) ฐานของปกหนากวางกวาอกปลองแรกไมมาก ปกหนาทั้งสองขางสีเหลืองอมสม<br />

กลางปก<br />

มีแถบสีดําลายหยักดานบนสองแถบ และจุดสีดําดานลางหนึ่งจุด<br />

ขอบปกดานในมีแถบสีดําตามยาว<br />

(ภาพที่<br />

32 ฌ) ขายาวแข็งแรง หนาแขงของขากลางและ คูหลังมีหนามสองอัน<br />

ทารไซมีสี่ปลอง<br />

เล็บ<br />

แหลมคลายฟน (ภาพที่<br />

32 ฎ) สวนทองมีหกปลองทั้งตัวผูและตัวเมีย<br />

มีเสนฟเมอรรอลที่ไมสมบูรณ<br />

(ภาพที่<br />

32 ญ) จําแนกชนิดโดยใชลักษณะอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

32 ฏ และ ฐ)<br />

78


ภาพที่<br />

32 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cheilomenes sexmaculatus (Fabricius)<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (10X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (16X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (16X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (16X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(16X)<br />

ฌ. ปกหนา (16X)<br />

ญ. ปลองทอง (16X)<br />

ฎ. ขาหนา (16X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

79


Genus Coelophola Mulsant<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดกลางถึงขนาดใหญ<br />

ลําตัวโคงนูนเปนครึ่งวงกลมหรือยาวรูปไข<br />

มันเปน<br />

เงางาม ไมมีขนละเอียดปกคลุม หนาคอนขางกวาง หนวดมี 11 ปลอง รูปรางคลายกระบองขนาดเล็ก<br />

เรียวบางและยาวประมาณหนึ่งเทาครึ่งของหนา<br />

โดยสามปลองสุดทายขยายกวางออก ปลองที่เกายาว<br />

กวากวาง ปลองที่<br />

10 ยาวพอๆกับกวาง สวนปลองสุดทายปลายโคงมน ปลองฐานหนวดกวางกวา<br />

ยาว อยูใกลตา<br />

ฐานริมผีปากบนเปนรูกลมและแบนออกทางดานขาง ปลองปลายสุดของรยางคฟน<br />

ขยายกวางคลายขวาน ขอบดานขางของอกปลองแรกโคงนูนขยายกวางและเวาลึก ฐานของปกหนา<br />

กวางกวาอกปลองแรกไมมาก ขอบดานขางของปกขยายออก สวนทองมีหกปลองทั้งตัวผูและตัวเมีย<br />

มีเสนฟเมอรรอลที่ไมสมบูรณขายาวแข็งแรง<br />

หนาแขงของขากลางและ คูหลังมีหนามขนาดเล็กสอง<br />

อัน ทารไซสี่ปลอง<br />

เล็บแหลมคลายฟน<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Coelophora inaequalis (Fabricius) (ภาพที่<br />

33 ก)<br />

Coccinella inaequalis Fabricius, 1775<br />

Coelophora inaequalis Mulsant, 1850<br />

Coccinella novenpunctata Fabricius, 1775<br />

Coccinella novenmaculata Fabricius, 1781<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

ดวงเตาตัวห้ําขนาดกลางถึงขนาดใหญ<br />

ขนาดลําตัว กวาง 5.0 มิลลิเมตร<br />

ยาว 6.1 มิลลิเมตร ลําตัวโคงนูนเปนครึ่งวงกลม<br />

มันเปนเงางามไมมีขนละเอียดปกคลุม หัวสีเหลือง<br />

สม หนาคอนขางกวาง (ภาพที่<br />

33 จ และ ฉ) หนวดมี 11 ปลอง รูปรางคลายกระบองขนาดเล็กเรียว<br />

บาง (ภาพที่<br />

33 ข) ฐานริมผีปากบนเปนรูกลมและเบนออกทางดานขาง ปลองปลายสุดของรยางค<br />

ฟนขยายกวางคลายขวาน (ภาพที่<br />

33 ง) อกปลองแรกพื้นสีเหลืองสม<br />

มีจุดดําสองจุด ขอบดานขาง<br />

ของอกปลองแรกโคงนูนขยายกวางและเวาลึก (ภาพที่<br />

33 ช) ฐานของปกหนากวางกวาอกปลอง<br />

แรกไมมาก ปกหนามีจุดสีดําขางละหาจุด ขอบดานขางของปกขยายออก (ภาพที่<br />

33 ฌ) ขายาวแข็ง<br />

แรง หนาแขงของขามีหนามขนาดเล็กสองอัน ทารไซมีสี่ปลอง<br />

เล็บแหลมคลายฟน (ภาพที่<br />

33 ฎ)<br />

สวนทองมีหกปลองทั้งตัวผูและตัวเมีย<br />

มีเสนฟเมอรรอลที่ไมสมบูรณ<br />

(ภาพที่<br />

33 ญ) จําแนกชนิด<br />

โดยใชลักษณะอวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

(ภาพที่<br />

33 ฏ และ ฐ)<br />

80


ภาพที่<br />

33 ตัวเต็มวัยดานบน ลักษณะอวัยวะภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ<br />

ของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Coelophora inaequalis (Fabricius)<br />

ก. ตัวเต็มวัยดานบน (10X)<br />

ข. หนวด (40X)<br />

ค. กราม (40X)<br />

ง. รยางคฟน (40X)<br />

จ. หัวดานบน (16X)<br />

ฉ. หัวดานลาง (16X)<br />

ช. อกปลองแรกดานบน (16X)<br />

ซ. อกปลองที่สองและสาม<br />

(16X)<br />

ฌ. ปกหนา (16X)<br />

ญ. ปลองทอง (16X)<br />

ฎ. ขาหนา (16X)<br />

ฏ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Sipho (40X)<br />

ฐ. อวัยวะสืบพันธุเพศผู<br />

Tegmen (40X)<br />

81


ผลการเปรียบเทียบความหลากชนิดของดวงเตาตัวห้ําในสภาพพื้นที่เพาะปลูกที่แตกตางกัน<br />

จากการศึกษาพบวาพื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญมีความหนาแนนของดวงเตาตัว<br />

ห้ํา<br />

เทากับ 402+5.351 พื้นที่แปลงปลูกผักแบบยกรองมีคูน้ํากั้นมีความหนาแนนของดวงเตาตัวห้ํา<br />

เทากับ 485+5.790 และพื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผักมีคาความหนาแนนของดวงเตาตัวห้ําเทา<br />

กับ 254+4.595 (ตารางที่<br />

1 และภาพภาคผนวกที่<br />

4) และพบวาพื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืน<br />

ใหญมีคาความหลากหลายเทากับ 2.047+0.071 พื้นที่แปลงปลูกผักแบบยกรองมีคูน้ํากั้นมีคาความ<br />

หลากหลายเทากับ 2.034+0.045 และพื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผักมีคาความหลากหลายเทากับ<br />

2.039+0.032 (ตารางที่<br />

2 และ ภาพภาคผนวกที่<br />

5) จากผลดังกลาวเมื่อนําคาความหนาแนนและคา<br />

ความหลากหลายในแตละสภาพพื้นที่มาอธิบายเปรียบเทียบถึงความสัมพันธในรูปของแบบความ<br />

สม่ําเสมอ<br />

ซึ่ง<br />

Ludwig และ Reynolds (1998) กลาววา คาดัชนีความสม่ําเสมอ<br />

(evenness indices)<br />

บอกถึงการกระจายของชนิดพันธุในพื้นที่<br />

ซึ่งหากในพื้นที่มีการกระจายของชนิดพันธุที่สม่ําเสมอ<br />

กันหรือมีจํานวนในแตละชนิดพันธุใกลเคียงกันจะมีคาดัชนีความสม่ําเสมอสูง<br />

และมีคาดัชนีความ<br />

สม่ําเสมอลดลงเมื่อความสัมพันธุของการกระจายของชนิดพันธุในพื้นที่แตกตางกันไป<br />

ดังนั้นใน<br />

พื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญแมวามีความหนาแนนของดวงเตาตัวห้ํานอยกวาพื้นที่แปลง<br />

ปลูกผักแบบยกรองมีคูน้ํากั้นแตกลับมีคาความหลากหลายมากเปนลําดับที่หนึ่ง<br />

พื้นที่รอบแปลงที่ไม<br />

มีการปลูกผักแมวามีคาความหนาแนนนอยที่สุดเมื่อเทียบกับทั้งสามแปลงแตกลับพบวามีความ<br />

หลากหลายมากเปนลําดับที่สองรองจากพื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

และพื้นที่แปลง<br />

ปลูกผักแบบยกรองมีคูน้ํากั้นถึงแมจะมีความหนาแนนของดวงเตาตัวห้ํามากที่สุดแตกลับพบวามีคา<br />

ความหลากหลายนอยที่สุด<br />

เมื่อนําคาความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําทั้งสามพื้นที่มาวิเคราะหทาง<br />

สถิติ พบวา มีความแตกตางอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น<br />

95 เปอรเซ็นต (ตาราง<br />

ที่<br />

2) แสดงวาพื้นที่เพาะปลูกที่แตกตางกันทั้งสามแบบไมมีความแตกตางของความสม่ําเสมอของ<br />

จํานวนครั้งที่สํารวจพบดวงเตาตัวห้ํา<br />

วินิจ (2543) กลาววา ปจจัยที่เกี่ยวของกับระบบการปลูกพืช<br />

มี<br />

ทั้งปจจัยทางกายภาพ<br />

(abiotic factor) และปจจัยทางชีวภาพ (biotic factor) ปจจัยทางกายภาพไดแก<br />

ปจจัยสภาพแวดลอม เชน อุณหภูมิ ความชื้น<br />

แสง มลพิษรอบแปลง เปนตน สวนปจจัยที ่ทางชีวภาพ<br />

คือศัตรูพืชทั้งหลาย<br />

เชน แมลง โรค ไสเดือนฝอย รวมตลอดถึงวัชพืชดวย การระบาดของแมลงใน<br />

ชวงเวลาตาง ๆ กันของป เปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหการปลูกพืชชนิดเดียวกันไดผลผลิตที่แตกตางกัน<br />

ความสําคัญของอิทธิพลของแมลงที่มีตอระบบการปลูกพืชนอกจากจะเนื่องจากการกระจายตัวของ<br />

แมลงแลว ยังขึ้นกับความสัมพันธระหวางแมลงศัตรู<br />

กับแมลงตัวห้ํา<br />

แมลงตัวเบียน และพืชอาศัยอื่น<br />

82


ๆ ดวย Allaway (1957) รายงานวา ระบบการปลูกพืชที่แตกตางกัน<br />

สามารถควบคุมโรค และ แมลง<br />

ศัตรูพืชได เพราะ ทั้งโรคและแมลงจะระบาดมากในพื้นที่แปลงปลูกที่มีอาหารที่เหมาะสมเทานั้น<br />

ซึ่งในสภาพพื้นที่ศึกษาทั้งสามแปลง<br />

Perrin (1977) กลาววาการจัดสรรพื้นที่แปลงปลูกพืชเปน<br />

ปจจัยหลักที่มีผลตอการขึ้นลงของจํานวนประชากรแมลง<br />

พื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

มีการปลูกผักแบบสลับแถว ปญหาการเพิ่มของแมลงศัตรูผักมากขึ้นในชวงที่พืชผักมีการเจรญเติบ<br />

โตที่สมบูรณ<br />

แตการเลือกพืชที่เหมาะสมมาปลูกรวมกัน<br />

จะชวยควบคุมระดับของแมลงไมใหเพิ่ม<br />

สูงมากขึ้น<br />

การปลูกพืชแบบสลับก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่ทําใหเกิดความหลากหลายในชนิดของพืช<br />

Siemens (1963) รายงานวาการปลูกพืชหมุนเวียนจะสามารถควบคุมแมลงใหไดผลดีนั้น<br />

แมลงจะ<br />

ตองมีการอพยพนอย และมีการขยายพันธุไมเร็วนักมีระยะเวลาที่ใชกินอาหารนาน<br />

นอกจากนี้จะตอง<br />

มีชนิดของพืชที่อาศัยอยูจํากัด<br />

Litsinger (1977 b) รายงานวาแมลงพวก polyphagous บางอยางชอบ<br />

พวกธัญพืชมากกวาพืชอื่น<br />

ขาวฟางจะชวยเปนแหลงอาศัยของตัวห้ํา<br />

ซึ่งจะเคลื่อนยายไปสูแปลงฝาย<br />

ตัวห้ําเหลานี้จะกินพวกเพลี้ยออนในขาวฟาง<br />

เมื่อขาวฟางแกจํานวนเพลี้ยออนลดลง<br />

พวกตัวห้ําจะ<br />

ยายไปกินไขของหนอนเจาะฝกขาวโพดแทน Perrin (1977) ยังกลาวอีกกลาววาการรวมกลุมของพืช<br />

จะทําให แมลงในกลุม<br />

Oligophagous และ Polyphagous สามารถกินหรือเจริญเติบโตบนพืชไดมาก<br />

กวาหนึ่งชนิด<br />

เมื่อไมมีพืชหลักก็สามารถเคลื่อนยายไปอาศัยพืชชนิดอื่นเพื่อเจริญเติบโตตอไปได<br />

พื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญซึ่งมีชนิดของดวงเตาตัวห้ํา<br />

20 ชนิด คือ S. indira,<br />

S. pauperculus, N. ryuguus, S. rectoides, S. fuscatus, S. frontalis quadripustulatus, S. pallidicollis,<br />

C. orbiculus, C. trioblitus, C. fulvoterminatus, C. fulvocinctus, Cryptogonus sp.1, Cryptogonus<br />

sp.2, C. gressitti, C. transversalis, H. octomaculata, M. discolor, M. vincta, C. sexmaculatus, C.<br />

inaequalis และพบวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

S. indira มีคาความหลากหลายมากที่สุด<br />

คือ 2.295+0.055<br />

ลําดับที่สองคือดวงเตาตัวห้ํา<br />

S. pauperculus มีคาความหลากหลายเทากับ 2.245+0.063 ซึ่งทั้งสอง<br />

ชนิดเปนตัวห้ํา<br />

ไรแดง Oligonychus sp. (Acari: Tetranychidae) ลําดับที่สามคือดวงเตาตัวห้ํา<br />

C.<br />

sexmaculatus มีคาความหลากหลายเทากับ 2.178+0.089 เปนตัวห้ํา<br />

เพลี้ยออนถั่ว<br />

A. glycines เพลี้ย<br />

ออนฝาย A. gossypii เพลี้ยออนตนรัก<br />

A. nerii ลําดับที่สี่คือดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. orbiculus มีคาความ<br />

หลากหลายเทากับ 1.871+0.158 เปนตัวห้ํา<br />

ไรแดง Oligonychus sp. (Acari: Tetranychidae) ลําดับที่<br />

หาคือดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. transversalis มีคาความหลากหลายเทากับ 1.641+0.170 เปนตัวห้ํา<br />

เพลี้ย<br />

ออนถั่ว<br />

A. glycines เพลี้ยออนฝาย<br />

A. gossypii เพลี้ยออนตนรัก<br />

A. nerii จากการศึกษาสภาพพื้นที่<br />

พบวามีการปลูกผักชนิดที่เหมาะสมกับการระบาดของแมลงศัตรูพืช<br />

เชน ถั่วพลู<br />

และถั่วฝกยาว<br />

ซึ่ง<br />

83


ปลูกมากตามขอบดานขางของแปลง เปนพืชอาหารของที่ดีของไรแดง<br />

Oligonychus sp. ทําใหมีการ<br />

ระบาดของไรแดง Oligonychus sp. ในปริมาณมากและสม่ําเสมอ<br />

เปนเหตุที่ทําให<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

S.<br />

indira, S. pauperculus และ C. orbiculus ซึ่งกิน<br />

ไรแดง Oligonychus sp. เปนอาหารมีความหลาก<br />

หลายมากในพื้นที่<br />

และมีการปลูก คะนาใบ คะนาดอก ผักกวางตุง<br />

กระเจี๊ยบเขียวซึ่งเปนอาหารของ<br />

เพลี้ยออนถั่ว<br />

A. glycines เพลี้ยออนฝาย<br />

A. gossypii เพลี้ยออนตนรัก<br />

A. nerii ทําใหเกิดการระบาด<br />

ของเพลี้ยออนทั้งสามชนิดในพื้นที่เชนกัน<br />

ซึ่งเพลี้ยออนดังกลาวเปนอาหารของดวงเตาตัวห้ํา<br />

C.<br />

sexmaculatus และ C. transversalis ทําใหดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. sexmaculatus และ C. transversalis มี<br />

ความหลากหลายมากในพื้นที่เชนกัน<br />

แตเนื่องจากถั่วพลูและถั่วฝกยาวมีวงจรชีวิตที่ยาวกวาพืชใน<br />

กลุมคะนาใบ<br />

คะนาดอก ผักกวางตุง<br />

กระเจี้ยบ<br />

จึงทําให ไรแดง Oligonychus sp. สามารถแพรพันธุ<br />

และกระจายพันธุอยูในพื้นที่ไดนานกวาเพลี้ยออนถั่ว<br />

A. glycines เพลี้ยออนฝาย<br />

A. gossypii เพลี้ย<br />

ออนตนรัก A. nerii เปนสาเหตุที่<br />

ดวงเตาตัวห้ํา<br />

S. indira, S. pauperculus และ C. orbiculus มี<br />

ความหลากหลายมากกวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. sexmaculatus และ C. transversalis<br />

พื้นที่แปลงปลูกผักแบบยกรองมีคูน้ํากั้นซึ่งมีชนิดของดวงเตาตัวห้ํา<br />

14 ชนิด คือ S. indira,<br />

S. pauperculus, N. ryuguus, S. rectoides, C. orbiculus, C. fulvocinctus, Cryptogonus sp.1,<br />

Cryptogonus sp.2, B. lineatus, C. transversalis, C. septempunctata, M. discolor, C. sexmaculatus,<br />

C. inaequalis และพบวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

S. pauperculus มีคาความหลากหลายมากที่สุดเทากับ<br />

2.290+0.045 ลําดับที่สองคือดวงเตาตัวห้ํา<br />

S. indira มีคาความหลากหลายเทากับ 2.078+0.055 ซึ่ง<br />

ทั้งสองชนิดเปนตัวห้ํา<br />

ไรแดง Oligonychus sp. (Acari: Tetranychidae) ลําดับที่สามคือดวงเตาตัว<br />

ห้ํา<br />

C. orbiculus มีคาความหลากหลายเทากับ 2.027+0.122 เปนตัวห้ํา<br />

ไรแดง Oligonychus sp.<br />

(Acari: Tetranychidae) ลําดับที่สี่คือดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus sp.1 มีคาความหลากหลายเทากับ<br />

1.978+0.077 เปนตัวห้ํา<br />

ไรแดง Oligonychus sp. (Acari: Tetranychidae) ลําดับที่หาคือดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. sexmaculatus มีคาความหลากหลายเทากับ 1.974+0.084 เปนตัวห้ํา<br />

เพลี้ยออนถั่ว<br />

A. glycines<br />

เพลี้ยออนฝาย<br />

A. gossypii เพลี้ยออนตนรัก<br />

A. nerii จากการศึกษาสภาพพื้นที่สาเหตุที่ทําใหมีความ<br />

หลากหลายของดวงเตาตัวห้ําทั้งหาชนิดมาก<br />

พบวามีลักษณะเดียวกับพื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปน<br />

ผืนใหญในเรื่องของชนิดพันธุพืชที่ปลูก<br />

คือมีการปลูก ถั่วพลู<br />

และถั่วฝกยาว<br />

ตามขอบดานขางของ<br />

แปลง ทําใหมีการระบาดของไรแดง Oligonychus sp. ในปริมาณมากและสม่ําเสมอ<br />

เปนเหตุที่ทํา<br />

ใหดวงเตาตัวห้ํา<br />

S. indira, S. pauperculus C. orbiculus และ Cryptogonus sp.1 ซึ่งกิน<br />

ไรแดง<br />

Oligonychus sp. เปนอาหาร มีความหลากหลายมากในพื้นที่<br />

และมีการปลูก คะนาใบ คะนาดอก<br />

84


ผักกวางตุง<br />

กระเจี๊ยบเขียว<br />

ทําใหเกิดการระบาดของเพลี้ยออนทั้งสามชนิดในพื้นที่<br />

ซึ่งเพลี้ยออนดัง<br />

กลาวเปนอาหารของดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. sexmaculatus และ C. transversalis ทําใหดวงเตาตัวห้ํา<br />

C.<br />

sexmaculatus มีความหลากหลายมากในพื้นที่เชนกัน<br />

แตเนื่องจากถั่วพลูและถั่วฝกยาวมีวงจรชีวิตที่<br />

ยาวกวาพืชในกลุมคะนาใบ<br />

คะนาดอก ผักกวางตุง<br />

กระเจี้ยบ<br />

จึงทําให S. indira, S. pauperculus C.<br />

orbiculus และ Cryptogonus sp.1 มีอาหารกินไดนานกวาจึงมีความหลากหลายมากกวาดวงเตาตัว<br />

ห้ํา<br />

C. sexmaculatus<br />

พื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผักซึ่งมีชนิดของดวงเตาตัวห้ํา<br />

13 ชนิด คือ Serangium sp.,<br />

S. indira, S. sodalis, S. pallidicollis, Scymnus sp.1, C. orbiculus, Cryptogonus sp.1, Cryptogonus<br />

sp.2, Cryptogonus sp.3, C. transversalis, H. octomaculata, M. discolor, C. sexmaculatus และ<br />

พบวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. sexmaculatus มีคาความหลากหลายมากที่สุดเทากับ<br />

1.940+0.095 เปนตัวห้ํา<br />

เพลี้ยออนถั่ว<br />

A. glycines เพลี้ยออนฝาย<br />

A. gossypii เพลี้ยออนตนรัก<br />

A. nerii ลําดับที่สองคือดวง<br />

เตาตัวห้ํา<br />

C. transversalis มีคาความหลากหลายเทากับ 1.822+0.095 เปนตัวห้ํา<br />

เพลี้ยออนถั่ว<br />

A.<br />

glycines เพลี้ยออนฝาย<br />

A. gossypii เพลี้ยออนตนรัก<br />

A. nerii ลําดับที่สามคือดวงเตาตัวห้ํา<br />

M.<br />

discolor มีคาความหลากหลายเทากับ 1.821+0.095 เปนตัวห้ํา<br />

เพลี้ยออนถั่ว<br />

A. glycines เพลี้ยออน<br />

ฝาย A. gossypii เพลี้ยออนตนรัก<br />

A. nerii ลําดับที่สี่คือดวงเตาตัวห้ํา<br />

Cryptogonus sp.1 มีคาความ<br />

หลากหลายเทากับ 1.561+0.270 เปนตัวห้ํา<br />

ไรแดง Oligonychus sp. (Acari: Tetranychidae) ลําดับที่<br />

หาคือดวงเตาตัวห้ํา<br />

H. octomaculata มีคาความหลากหลายเทากับ 1.729+0.100 เปนตัวห้ํา<br />

เพลี้ย<br />

ออนถั่ว<br />

A. glycines เพลี้ยออนฝาย<br />

A. gossypii เพลี้ยออนตนรัก<br />

A. nerii จากสภาพพื้นที่รอบ<br />

แปลงพบวามีชนิดพันธุของพืชที่หลากหลาย<br />

มีทั้งพืชและวัชพืชหลายชนิดที่เปนอาหารของแมลง<br />

ศัตรูพืชในแปลงผัก ในกรณีที่มีอาหารในแปลงผักนอย<br />

แมลงศัตรูพืชจะเคลื่อนยายออกจากแปลงหา<br />

แหลงอาหารบริเวณใกลเคียงแทน ดังที่<br />

กรมสงเสริม (2547) รายงานวา ศัตรูพืชเคลื่อนยายจากแหลง<br />

หนึ่งไปยังอีกแหลงหนึ่งที่มีความเหมาะสมมากกวา<br />

ทําใหมีการขยายพันธุและเกิดการระบาดทํา<br />

ความเสียหายในพื้นที่ใกลเคียงได<br />

โกศล และวิวัฒน (2538) รายงานวาดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. sexmaculatus<br />

เปนตัวห้ําของ<br />

เพลี้ยออนขาวโพด<br />

Rhopalosiphum maidis (Fitch), เพลี้ยออนผักกาด<br />

Lipaphis<br />

crysimi (Kaltenbach), เพลี้ยออนบุนนาค<br />

Greenidioda celoniae Van de Goot, เพลี้ยออนสําลี<br />

Ceratovacuna lanigera Zehntner, เพลี้ยออนฝาย<br />

A. gossypii, เพลี้ยออนรัก<br />

A. nerii, เพลี้ย<br />

ออนถั่วเหลือง<br />

A. glycines, เพลี้ยออนถั่ว<br />

A. craccivora, เพลี้ยออนสมเหลือง<br />

A. citricola, เพลี้ย<br />

จักจั่นฝาย Amrasca biguttata (Ishida), เพลี้ยจักจั่นละหุง<br />

Jacobiasca formosana (Paoli), เพลี้ย<br />

85


ไกฟากระถิน Heteropsylla cubana Crawford, เพลี้ยไกแจทุเรียน<br />

Allocaridara malayensis<br />

(Crawford), แมลงหวี่ขาวออย<br />

Aleurolobus barodensis (Maskell), เพลี้ยหอยออย<br />

Aulachaspis<br />

tegalensis Zehntner, ผีเสื้อหนอนคืบละหุง<br />

Achaea janata (L.) ดวงเตาตัวห้ํา<br />

C. transversalis<br />

เปนตัวห้ําของ<br />

เพลี้ยออนถั่ว<br />

A. craccivor, เพลี้ยออนถั่วเหลือง<br />

A. glycines, เพลี้ยออนผักกาด<br />

L.<br />

erysimi, เพลี้ยออน<br />

A. affinis, A. gossypii, A. nerii, Ceratovacuna lanigera Zehntner, Hyadaphis<br />

coriandri Das, Myzus persicae Sulzer, Pentalonia nigronervosa Coquerel, Sitobion miscanthi<br />

(Takahashi), Therioaphis trifolii Monell, Toxoptera citricida (Kirkaldy), Uroleucon carthami<br />

Hille Ris Lambers (Homoptera: Aphididae), เพลี้ยหอยออย A. tegalensis, เพลี้ยไกฟากระถิน<br />

H. cubana เพลี้ยแปง<br />

Planococcus citri (Risso) (Homoptera: Pseudococcidae), ตัวออนผีเสื้อ<br />

Helicoverpa armigera (Hubner) (Lepidoptera: Noctuidae), เพลี้ยจักจั่น<br />

Nephotettix nigropictus<br />

(Styl) (Homoptera: Cicadellidae), มวน Nysius vinitor Bergroth (Hemiptera: Lygaeidae) ดวงเตา<br />

ตัวห้ํา<br />

M. discolor เพลี้ยออนถั่ว<br />

A. craccivora, เพลี้ยออนถั่วเหลือง<br />

A. glycines, เพลี้ยออนฝาย<br />

A. gossypii, เพลี้ยออนผักกาด<br />

L. crysimi เพลี้ยออนขาวโพด<br />

Rhopalosiphum maidis (Fitch),<br />

เพลี้ยกระโดดหลังขาว<br />

S. furcifera , ผีเสื้อหนอนกอหัวดํา<br />

Chilotraca sp. สวนดวงเตาตัวห้ํา<br />

S.<br />

indira, S. pauperculus C. orbiculus และ Cryptogonus sp.1 เปนตัวห้ําของเพลี้ยออนไผ<br />

Pseudoregma bambusicola (Takahashi) (Homoptera: Aphididae), ไรแดงแอฟริกัน E. africanus<br />

และ ดวงเตาตัวห้ํา<br />

H. octomaculata เปนตัวห้ําของเพลี้ยออนฝาย<br />

A. gossypii, เพลี้ยออนผักกาด<br />

L. crgsimi, เพลี้ยไกฟากระถิน<br />

H. cubana, เพลี้ยกระโดดหลังขาว<br />

S. furcifera, ไขผีเสื้อหนอนกอ<br />

หัวดํา Chilotraea sp ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาชนิดอาหารดวงเตาตัวห้ําทั้งหาชนิด<br />

และ<br />

สนับสนุนผลการศึกษาวาในกรณีที่พื้นที่รอบแปลงถึงแมจะไมมีการปลูกผักที่เปนพืชหลักของแมลง<br />

ศัตรูพืช แตมีชนิดพันธุของพืชมากทําใหโอกาสที่มีพืชอาศัยของแมลงศัตรูพืชมากตามไปดวย<br />

จาก<br />

รายงานของโกศล และวิวัฒน (2538) พบวาดวงเตาตัวห้ําแตละชนิดสามารถกินอาหารไดหลายชนิด<br />

จึงเปนสาเหตุที่ทําใหพบดวงเตาตัวห้ําทั้งหาชนิดมีความหลากหลายมากเชนกัน<br />

86


ตารางที่<br />

1 ความหนาแนนของดวงเตาตัวห้ําทุกชนิดในแปลงปลูกผักเกษตรอินทรีย<br />

พื้นที่แปลงปลูกผักเกษตรอินทรีย<br />

ความหนาแนน (ตัว/แปลง)<br />

พื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

พื้นที่แปลงปลูกผักที่มีการยกรอง<br />

พื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผัก<br />

402+ 5.351<br />

485+ 5.790<br />

254+ 4.595<br />

ตารางที่<br />

2 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําทุกชิดในแปลงปลูกผักเกษตรอินทรีย<br />

พื้นที่แปลงปลูกผักเกษตรอินทรีย<br />

Shannon-Wiener's Index 1/<br />

พื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

พื้นที่แปลงปลูกผักที่มีการยกรอง<br />

พื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผัก<br />

หมายเหตุ 1/ Mean + SD<br />

ns ไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ<br />

2.047 + 0.071<br />

2.034 + 0.045<br />

2.039 + 0.032<br />

t-test<br />

0.146 ns<br />

0.093 ns<br />

-0.084 ns<br />

87


ตารางที่<br />

3 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําในแปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

ชนิดของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Shannon Wiener , s Index 1/<br />

1 Serangium sp. 0<br />

2 Stethorus indira Kapur 2.295 + 0.055<br />

3 Stethorus pauperculus (Weise) 2.245 + 0.063<br />

4 Nephus ryuguus (H.Kamiya) 0.636 + 0.302<br />

5 Scymnus rectoides Sasaji 1.097 + 0.333<br />

6 Scymnus sodalis (Weise) 0<br />

7 Scymnus nigrosuturalis H.Kamiya 0<br />

8 Scymnus fuscatus Boheman 0.693 + 0.354<br />

9 Scymnus quadrillum Motschulsky 0<br />

10 Scymnus pallidicollis Mulsant 0<br />

11 Scymnus sp.1 0<br />

12 Cryptogonus orbiculus (Gyllenhal) 1.871 + 0.158<br />

13 Cryptogonus trioblitus (Gyllenhal) 0<br />

14 Cryptogonus fulvoterminatus Boheman 0<br />

15 Cryptogonus fulvocinctus (Mulsant) 0<br />

16 Cryptogonus sp.1 1.040 + 0.176<br />

17 Cryptogonus sp.2 1.609 + 0.283<br />

18 Cryptogonus sp.3 0<br />

19 Brumus lineatus (Weise) 0<br />

20 Chilocorus gressitti Miyatake 0<br />

21 Coccinella transversalis Fabricius 1.641 + 0.170<br />

22 Coccinella septempunctata Linnaeus 0<br />

23 Harmonia octomaculata (Fabricius) 1.032 + 0.232<br />

24 Harmonia sedecimnotata (Fabricius) 0<br />

25 Micraspis discolor (Fabricius) 1.561 + 0.270<br />

26 Micraspis vincta (Gorham) 0<br />

27 Cheilomenes sexmaculatus (Fabricius) 2.178 + 0.089<br />

28 Coelophora inaequalis (Fabricius) 1.459 + 0.141<br />

หมายเหตุ 1/ Mean + SD<br />

88


ตารางที่<br />

4 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําในแปลงปลูกผักที่มีการยกรอง<br />

ชนิดของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Shannon Wiener , s Index 1/<br />

1 Serangium sp. 0<br />

2 Stethorus indira Kapur 2.078 + 0.055<br />

3 Stethorus pauperculus (Weise) 2.290 + 0.045<br />

4 Nephus ryuguus (H.Kamiya) 1.609 + 0.283<br />

5 Scymnus rectoides Sasaji 1.332 + 0.288<br />

6 Scymnus sodalis (Weise) 0<br />

7 Scymnus nigrosuturalis H.Kamiya 0<br />

8 Scymnus fuscatus Boheman 0<br />

9 Scymnus quadrillum Motschulsky 0<br />

10 Scymnus pallidicollis Mulsant 0<br />

11 Scymnus sp.1 0<br />

12 Cryptogonus orbiculus (Gyllenhal) 2.027 + 0.122<br />

13 Cryptogonus trioblitus (Gyllenhal) 0<br />

14 Cryptogonus fulvoterminatus Boheman 0<br />

15 Cryptogonus fulvocinctus (Mulsant) 0<br />

16 Cryptogonus sp.1 1.978 + 0.077<br />

17 Cryptogonus sp.2 0.868 + 0.315<br />

18 Cryptogonus sp.3 0<br />

19 Brumus lineatus (Weise) 0<br />

20 Chilocorus gressitti Miyatake 0<br />

21 Coccinella transversalis Fabricius 1.595 + 0.161<br />

22 Coccinella septempunctata Linnaeus 0<br />

23 Harmonia octomaculata (Fabricius) 0<br />

24 Harmonia sedecimnotata (Fabricius) 0<br />

25 Micraspis discolor (Fabricius) 1.330 + 0.243<br />

26 Micraspis vincta (Gorham) 0<br />

27 Cheilomenes sexmaculatus (Fabricius) 1.974 + 0.084<br />

28 Coelophora inaequalis (Fabricius) 1.765 + 0.118<br />

หมายเหตุ 1/ Mean + SD<br />

89


ตารางที่<br />

5 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผัก<br />

ชนิดของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Shannon Wiener , s Index 1/<br />

1 Serangium sp. 1.255 + 0.228<br />

2 Stethorus indira Kapur 0.693 + 0.354<br />

3 Stethorus pauperculus (Weise) 0<br />

4 Nephus ryuguus (H.Kamiya) 0<br />

5 Scymnus rectoides Sasaji 0<br />

6 Scymnus sodalis (Weise) 0.693 + 0.354<br />

7 Scymnus nigrosuturalis H.Kamiya 0<br />

8 Scymnus fuscatus Boheman 0<br />

9 Scymnus quadrillum Motschulsky 0<br />

10 Scymnus pallidicollis Mulsant 0.562 + 0.297<br />

11 Scymnus sp.1 1.055 + 0.235<br />

12 Cryptogonus orbiculus (Gyllenhal) 1.386 + 0.307<br />

13 Cryptogonus trioblitus (Gyllenhal) 0<br />

14 Cryptogonus fulvoterminatus Boheman 0<br />

15 Cryptogonus fulvocinctus (Mulsant) 0<br />

16 Cryptogonus sp.1 1.561 + 0.270<br />

17 Cryptogonus sp.2 0.693 + 0.118<br />

18 Cryptogonus sp.3 0.562 + 0.297<br />

19 Brumus lineatus (Weise) 0<br />

20 Chilocorus gressitti Miyatake 0<br />

21 Coccinella transversalis Fabricius 1.822 + 0.095<br />

22 Coccinella septempunctata Linnaeus 0<br />

23 Harmonia octomaculata (Fabricius) 1.729 + 0.100<br />

24 Harmonia sedecimnotata (Fabricius) 0<br />

25 Micraspis discolor (Fabricius) 1.821 + 0.095<br />

26 Micraspis vincta (Gorham) 0<br />

27 Cheilomenes sexmaculatus (Fabricius) 1.940 + 0.095<br />

28 Coelophora inaequalis (Fabricius) 0<br />

หมายเหตุ 1/ Mean + SD<br />

90


สรุปผลการทดลอง<br />

ชนิดของดวงเตาตัวห้ําที่พบในแปลงปลูกผักเกษตรอินทรีย<br />

มีทั้งหมด<br />

4 วงศยอย คือ<br />

Sticholotinae, Scymninae, Chilocorinae, Coccinellinae 6 ไทรบ คือ Serangiini, Stethoriri,<br />

Scymnini, Aspidimerini, Chilocorini, Coccinellini 12 สกุล Serangium Blackburn, Stethorus<br />

Weise, Nephus Mulsant, Scymnus Kugelann, Cryptogonus Mulsant, Brumus, Chilocorus Leach,<br />

Coccinella Linnaeus, Harmonia Mulsant, Micraspis Dejean, Cheilomenes Mulsant, Coelophola<br />

Mulsant และ 28 ชนิด คือ Serangium sp., S. indira, S. pauperculus, N. ryuguus, S. rectoides,<br />

S. sodalis, S. nigrosuturalis, S. fuscatus, S. frontalis quadripustulatus, S. pallidicollis,<br />

Scymnus sp. 1, C. orbiculus, C. trioblitus, C. fulvoterminatus, C. fulvocinctus, Cryptogonus<br />

sp. 1, Cryptogonus sp. 2, Cryptogonus sp. 3, B lineatus, C. gressitti, C. transversalis, C.<br />

septempunctata, H. octomaculata, H. sedecimnotata, M. discolor, M. vincta, C. sexmaculata,<br />

C. inaequalis ชนิดของดวงเตาตัวห้ําที่ไมสามารถจําแนกชนิดไดมี<br />

5 ชนิดดวยกัน คือ ดวงเตาตัวห้ํา<br />

Serangium sp., Scymnus sp. 1, Cryptogonus sp. 1, Cryptogonus sp. 2 และ Cryptogonus sp. 3<br />

ความหลากชนิดของดวงเตาตัวห้ําในสภาพพื้นที่เพาะปลูกที่แตกตางกันพบวาพื้นที่แปลง<br />

ปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

มีความหลากหลาย เทากับ 2.047+0.005 พื้นพื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการ<br />

ปลูกผักมีความหลากหลายเทากับ 2.040+0.001 และพื้นที่แปลงปลูกผักแบบยกรองมีคูน้ํากั้นมีความ<br />

หลากหลายเทากับ 2.034+0.002 วิเคราะหความหลากหลายพบวาไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น<br />

95 เปอรเซนต<br />

พื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญมีชนิดของดวงเตาตัวห้ํา<br />

20 ชนิด คือ S. indira, S.<br />

pauperculus, N. ryuguus, S. rectoides, S. fuscatus, S. frontalis quadripustulatus, S. pallidicollis,<br />

C. orbiculus, C. trioblitus, C. fulvoterminatus, C. fulvocinctus, Cryptogonus sp. 1, Cryptogonus<br />

sp. 2, C. gressitti, C. transversalis, H. octomaculata, M. discolor, M. vincta, C. sexmaculatus,<br />

C. inaequalis พบวาดวงเตาตัวห้ําทั้ง<br />

S. indira มีความหลากหลายมากที่สุดรองลงมาคือ<br />

S.<br />

pauperculus, C. sexmaculatus, C. orbiculus, และ C. transversalis ตามลําดับ<br />

พื ้นที่แปลงปลูกผักแบบยกรองมีคูน้ํากั้นมีชนิดของดวงเตาตัวห้ํา<br />

14 ชนิด คือ S. indira, S.<br />

91


pauperculus, N. ryuguus, S. rectoides, C. orbiculus, C. fulvocinctus, Cryptogonus sp. 1,<br />

Cryptogonus sp. 2, B. lineatus, C. transversalis, C. septempunctata, M. discolor, C. sexmaculatus,<br />

C. inaequalis พบวาดวงเตาตัวห้ําทั้ง<br />

S. pauperculus มีคาความหลากหลายมากที่สุดรองลงมาคือ<br />

S. indira, C. orbiculus, Cryptogonus sp., C. sexmaculatus ตามลําดับ<br />

พื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผักมีชนิดของดวงเตาตัวห้ํา<br />

13 ชนิด คือ Serangium sp., S.<br />

indira, S. sodalis, S. pallidicollis, Scymnus sp. 1, C. orbiculus, Cryptogonus sp.1 , Cryptogonus<br />

sp. 2, Cryptogonus sp. 3, C. transversalis, H. octomaculata, M. discolor, C. sexmaculatus พบวา<br />

ดวงเตาตัวห้ําทั้ง<br />

C. sexmaculatus มีความหลากหลายมากที่สุดรองลงมาคือ<br />

C. transversalis, M.<br />

discolor, Cryptogonus sp. 1, H. octomaculata ตามลําดับ<br />

ชนิดของดวงเตาตัวห้ําที่มีความหลากหลายมากทั้งสามแปลงรวมมีแปดชนิดไดแก<br />

S.<br />

indira, S. pauperculus, C. orbiculus, Cryptogonus sp. 1, C. transversalis, H. octomaculata, M.<br />

discolor และ C. sexmaculatus<br />

92


เอกสารอางอิง<br />

กรมวิชาการเกษตร. 2543. มาตรฐานการผลิตพืชอินทรียของประเทศไทย. โรงพิมพชุมนุมสหกรณ<br />

การเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด, กรุงเทพฯ. 28 น.<br />

กรมสงเสริมการเกษตร. 2547. การปลูกผักระบบเกษตรอินทรีย. กลุมสงเสริมการเกษตร<br />

สํานัก<br />

พัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร, กรุงเทพฯ. 14 น.<br />

โกศล เจริญสม และ วิวัฒน เสือสะอาด. 2538. ศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืชในประเทศไทย.<br />

เอกสารพิเศษ ฉบับที่<br />

6 ศูนยวิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรียแหงชาติ, มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตรและสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กรุงเทพฯ. 144 น.<br />

ฉัตรชัย ศฤงฆไพบูลย. 2517. การศึกษาเกี่ยวกับชีววิทยาและประสิทธิภาพในการทําลายของแมลงตัว<br />

ห้ําดวงปกแข็ง.<br />

วิทยานิพนธบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 50 น.<br />

ฉัตรชัย ศฤงฆไพบูลย, มานิตา คงชื่นสิน,<br />

เทวินทร กุลปยะวัฒนและวัฒนา จารณศรี. 2537. กาศึกษา<br />

ประสิทธิภาพในการกินไรแดงออย Oligonychus simus Baker and Pritchard ของแมลงตัว<br />

ห้ํา<br />

Stethorus pauperculus (Weise) ในหองปฎิบัติการ, น. 201–224. ใน รายงาน ผลการคน<br />

ควา 2538. กลุมงานอนุกรมวิธานและวิจัยไร,<br />

กองกีฏและสัตววิทยา, กรมวิชาการเกษตร,<br />

กรุงเทพฯ.<br />

ชาญณรงค ดวงสอาด, เชิด ชูยัง, นิสิต บุญเพ็ง, ชัยณรัตน สนศิริ และสมชาย ประดิษฐวนิช.<br />

2543. การสํารวจ รวบรวมและประเมินผลศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืชและวัชพืชใน<br />

ภาคเหนือของประเทศ. รายงานการประชุมวิชาการของศูนยวิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวิน<br />

ทรียแหงชาติประจําป 2543. 28-30 มิถุนายน 2543. โรงแรมเวียงอินทร เชียงราย. 26 น.<br />

นิสิต บุญเพ็ง และ ชาญณรงค ดวงสอาด. 2544. ชีววิทยาของดวงเตา Rodolia sp. (Coleoptera:<br />

Coccinellidae). ศูนยวิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรียแหงชาติภาคเหนือ, มหาวิทยาลัย<br />

แมโจ, เชียงใหม. 16 น.<br />

93


พิบูลย มณีปกรณ. 2543. ปจจัยบางประการที่มีผลตอการใชสารเคมีปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืชผัก<br />

ของเกษตรกรผูปลูกผักในเขตอําเภอไทรนอย<br />

จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ บัณฑิตวิทยาลัย<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 67 น.<br />

พิมลพร นันทะ. 2545. ศัตรูธรรมชาติหัวใจของ IPM. กลุมงานวิจัยการปราบศัตรูพืชทางชีวภาพ.<br />

กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. 215 น.<br />

บุปผา เหลาสินชัย และ ชลิดา อุณหวุฒิ. 2543. เพลี้ยแปงและเพลี้ยหอยศัตรูพืชที่สําคัญ.<br />

กลุมงาน<br />

อนุกรมวิธานแมลง กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. 70 น.<br />

ปาหนัน งามเมือง. 2530. การศึกษาดวงเตาลาย Micraspis discolor (F.) (Coloptera: Coccinellidae)<br />

และบทบาทในการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี. วิทยานิพนธ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 64 น.<br />

วิสุทธิ์<br />

ใบไม. 2544. ความหลากหลายทางชีวภาพ, น. 1-14. ใน การสัมมนาทางวิชาการเรื่องวัฒน<br />

ธรรมกับความหลากหลายทางชีวภาพ. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

และศูนยฝกอบรมวนศาสตรชุมชนแหงภูมิภาคเอเชียแปซิฟก, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,<br />

กรุงเทพฯ.<br />

วัฒนา จารณศรี, มานิตา คงชื่นสิน,<br />

เทวินทร กุลปยะวัฒน และพิเชฐ เชาวนวัฒนวงศ. 2544. ไรศัตรู<br />

พืช และการปองกันกําจัด. กลุมงานวิจัยไรและแมงมุม,<br />

กองกีฏและสัตววิทยา, กรมวิชาการ<br />

เกษตร, กรุงเทพฯ. 192 น.<br />

ศรีสมร พิทักษ, บุญทิวา วาทิรอยรัมย, เตือนจิตต สัตยาวิรุทธ, วิเชียร บํารุงศรี, วรัญญา มาลี, อัจฉรา<br />

หวังอาษา. 2544. แมลงศัตรูถั่วเหลือง<br />

และการปองกันกําจัด. กลุมงานวิจัยแมลงศัตรูพืชน้ํา<br />

มันและพืชไรตระกูลถั่ว<br />

กองกีฏและสัตววิทยา, กรมวิชาการเกษตร, กระทรวงเกษตรและ<br />

สหกรณ, กรุงเทพฯ. 53 น.<br />

94


สมหมาย ชื่นราม.<br />

2545. ดวงเตาในประเทศไทย. กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร,<br />

กรุงเทพฯ. 211 น.<br />

อัมพร วิโนทัย, จุฑารัตน อรรถจารุสิทธิ์.<br />

2544. การควบคุมเพลี้ยไกฟากระถิน<br />

(Heteropsylla<br />

cubana Crawford) โดยชีววิธี. เอกสารการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธีเพื่อการเกษตร<br />

ยั่งยืน.<br />

กองกีฎและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรุงเทพฯ.<br />

215 น.<br />

Agarwala, B.K. and P. Bardhanroy. 1999. Numerical response of ladybird beetles (Coleoptera:<br />

Coccinellidae) to aphid prey (Homtera: Aphididae) in a field bean in North-east<br />

India. Journal of Applied Entomology. 123(7): 401-406.<br />

Agarwala, B.K., P. Bardhanroy, H. Yasuda and T. Takizawa. 2001. Prey Consumption and<br />

Oviposition of the Aphidophagous Predator Menochilus sexmaculatus (Coleoptera:<br />

Coccinellidae) in Relation to Prey Density and Adult Size. Journal of Applied<br />

Entomology. 30(6): 1182-1187.<br />

Allaway, W.H. 1957. Cropping systems and soil. In Soil year book of agriculture. USDA.<br />

B86-396 p.<br />

Brown ,G.C., J. Sharkey and D.W. Johnson. 2003. Bionomics of Scymnus (Pullus) louisianae<br />

J. Chapin (Coleoptera: Coccinellidae) as a predator of the soybean aphid, Aphis<br />

glycines Matsumura (Homoptera: Aphididae). Journal of Economic Entomology. 96<br />

(1): 21-24.<br />

Bodenheimer F.S., 1951. Citrus Entomology in the Middle East. The Hague, Netherlands:<br />

Entomology. 50: 424–428.<br />

95


Campbell, R.K., T.N. Farris, T.M. Perring, M.E. Leonard, B.O. Cartwright and R.D. Eikenbary.<br />

1980. Biological observations of Menochilus sexmaculatus, reared on Schizaphis<br />

graminum. Annals of the Entomological Society of America 73: 153-15.<br />

Chazeau, J. 1985. Predaceous insects. pp. 211-246. In W. Helle and M.W. Sabelis, eds. World<br />

Crop Pests, Spider Mites: Their Biology, Natural Enemies and Control. Vol. 1B. Elsevier<br />

Science Publishing Company Inc., New York.<br />

Chunram, S. and H. Sasaji. 1980. A contribution to the Coccinellidae (Coleoptera) of<br />

Thailand. Oriental Insect. 14(4): 473-491.<br />

Clausen, C.P. 1978. Introduced Parasites and Predators of Arthropod Pests and Weeds: a<br />

World Review. Agricultural Handbook No. 480. Washington DC, USA: Agricultural<br />

Research Service, United States Department of Agriculture. 545 p.<br />

Crop Protection Compendium. 2003. Global Module 2nd Edition. Cab Internationnal, Walliniford.<br />

Feber, R.E., L.G. Firbank, P.J. Johnson and D.W. Macdonald. 1997. The effects of organic<br />

farming on pest and non-pest butterfly abundance. Agriculture, Ecosystems &<br />

Environment. 64: 133-139.<br />

Feber, R.E., J. Bell , P.J. Johnson, L.G Firbank and D.W. Macdonald. 1998. The effects of<br />

organic farming on spider assemblages in wheat in southern England. Journal of<br />

Arachnology. 26: 190-202.<br />

Ghorpade, K.D. 1981. Cryptolaemus montrousieri (Coleoptera: Coccinellidae) breeding on<br />

aphids. Colemania, 1(1):59.<br />

96


Hagen, K.S. 1962. Biology and ecology of predaceous Coccinellidae. Annual Review of<br />

Entomology. 7: 289-326.<br />

Jervis, M. and K. Neil. 1996. Insect Natural Enemics: Practical Approaches to Their Study<br />

and Evaluation. Chapman and Hall Co. Ltd., London. 491 p.<br />

Johnssen, A. 1930. Biology and ecology of predaceous Coccinellidae. Annual Review of<br />

Entomology. 7: 289-326.<br />

Junsung, L. 2001. Study on the coccinellid, Coccinella transversalis Fabricius (Coleoptera:<br />

Coccinellidae) and its role as biological control agent. M.S. Thesis. Kasetsart<br />

University. Bangkok. 56 p.<br />

Khan, M.R. 2002. Mass rearing of Menochilus sexmaculatus Fabricus (Coleoptera:<br />

Coccinellidae) on natural and artificial diets. International Journal of Agriculture and<br />

Biology 4: 107-109.<br />

Litsinger, J.A. 1977 b. Diversity and stability: Their roles in insect management strategies for<br />

agroecosystems, pp. 116-121. In Multiple cropping sourcebook. University of the<br />

Philippines at Los Banos<br />

Ludwing, J.A. and J.F. Reynolds. 1988. Statistical Ecology. John Wiley & Sons, New York.<br />

337 p.<br />

Mani, M. and A. Krishnamoorthy. 1997. Discovery of Australian ladybird beetle<br />

(Cryptolaemus montrouzieri) on spiralling whitefly (Aleurodicus dispersus) in India.<br />

Insect Environment. 3(1): 5-6.<br />

97


McCune, B. and M.J. Mefford. 1999. PC-Ord. Multivariate Analysis of Ecological Data<br />

Version 4. MjM Software Design, Gleneden. 126 p.<br />

Mineo, G. 1967. Sul Cryptolaemus montrouzieri Muls. (Osservazioni morphobiologische).<br />

Bollettino dell'Istituto di Entomologia Agraria e dell' Osservatorio di Fitopatologia di<br />

Palermo 6: 99-143.<br />

Molles, Mc. 1999. Ecology: Concepts and Application. Mc Graw-Hill. 509 p.<br />

Patima, P. 2002. Population Dynamics and Biological Control of Aphid, Aphis gossypii Glover<br />

(Homoptera: Aphididae), on Tomato under Proteced Cultivation in Thailand. M.S.<br />

Thesis, Kasetsart University, Bangkok. 61 p.<br />

Perrin, R.M. 1977. Pest management in multiple cropping systems. Agro-Ecosystems<br />

3: 93-118<br />

Pfiffner, L. 2000. Significance of organic farming for invertebrate diversity-enhancing beneficial<br />

organisms with field margins in combination with organic farming. pp. 52-66. In Stolton,<br />

S., Geier, B. and McNeely, J.A., eds. The Relationship Between Nature Conservation,<br />

Biodiversity and Organic Agriculture, Proceedings of an International Workshop.<br />

Vignola, Italy, 1999. IFOAM, Tholey-Theley Germany.<br />

Ponpinij, S. 2001. Taxonomic studies of predaceous coccinellid (Coleoptera: Coccinellidae)<br />

on citrus (Citrus reticulata Blanco) in Lampang Province, Thailand. M.S. Thesis.<br />

Kasetsart University. Bangkok. 103 p.<br />

Ponsonby D.J. and M.J.W. Copland. 1997. Coccinellidae and other Coleoptera, pp. 29-60. In<br />

Ben-Dov Y, Hodgson CJ, eds. Soft Scale Insects, their Biology, Natural Enemies and<br />

Control. World Crop Pests, Vol 7B. Amsterdam, Netherlands: Elsevier Press<br />

98


Sasaji, H. 1971. Coccinellidae (Insecta: Coleoptera). Fauna Japonica. Keigaku Publishing Co.<br />

Ltd. Tokyo. 340 p.<br />

Siemens, L.B. 1963. Cropping System : An evaluative review of literature. Tech. Bul. No.1.<br />

Faculty of Agriculture and Home Economics, University of Manitoba.<br />

Smith, D., G.A.C. Beattie and R. Broadley. 1997. Citrus pests and their natural enemies:<br />

integrated pest management in Australia. Queensland Agricultural Journal (111):<br />

249-259.<br />

Stolton, S. 2002. Organic Agriculture and Biodiversity. IFOAM World Board, Hivos and the<br />

Dutch. 28 p.<br />

Tirumala, R.V., A.L. David and K.R. Moha Rao. 1954. Attempts at the utilization of Chilocorus<br />

nigritus Fab. (Coleoptera: Coccinellidae) in the Madras State. Annual Review of<br />

Entomology. 44: 215-224<br />

Ulrichs, C.H., I. Mewis and W. H. Schnitzler. 2001. Efficacy of neem and diatomaceous earth<br />

against cowpea aphids and their deleterious effect on predating Coccinelidae. Journal<br />

of Applied Entomology. 125(9-10): 571-589<br />

Winoti, A. 1989. Biological control of leucaena psyllid, Hetropsylla cubana Crawford, in<br />

Thailand. Ph.D. Thesis. Kasetsart University. Bangkok. 128 p.<br />

99


ภาคผนวก<br />

100


ภาพผนวกที่<br />

1 พื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

ก. ลักษณะการปลูกผักและการใหน้ํา<br />

ข. การดูแลรักษาภายในแปลง<br />

ค. ลักษณะการแบงพื้นที่ปลูกเปนแปลงยอย<br />

101


ภาพผนวกที่<br />

2 พื้นที่แปลงปลูกผักที่มีการยกรอง<br />

ก. การดูแลรักษาและการใหน้ํา<br />

ข. ลักษณะการปลูกผัก<br />

ค. ลักษณะการแบงพื้นที่ปลูกเปนแปลงยอย<br />

102


ภาพผนวกที่<br />

3 พื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผัก<br />

ก. การปลูกพืชเปนแนวกันชน<br />

ข. การตัดถนนเขาแปลงเพื่อสะดวกในการปฏิบัติงาน<br />

ค. บอพักน้ํากอนนําไปใช<br />

103


ภาพผนวกที่<br />

4 ความหนาแนนของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่ภายใน<br />

แปลงผักเกษตรอินทรีย<br />

C1 = พื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

C2 = พื้นที่แปลงปลูกผักแบบยกรอง<br />

C3 = พื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผัก<br />

104


ภาพผนวกที่<br />

5 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่ภายใน<br />

แปลงผักเกษตรอินทรีย<br />

C1 = พื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

C2 = พื้นที่แปลงปลูกผักแบบยกรอง<br />

C3 = พื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผัก<br />

105


2 0 0<br />

0<br />

Serangium sp.<br />

Stethorus indira<br />

Stethorus pauperculus<br />

Nephus ryuguus<br />

cymnus rectoides<br />

Scymnus sodalis<br />

Scymnus nigrosuturalis<br />

Scymnus fuscatus<br />

Scymnus quadrillum<br />

Scymnus pallidicollis<br />

Scymnus sp.1<br />

Cryptogonus orbiculus<br />

Cryptogonus trioblitus<br />

Cryptogonus fulvoterminatus<br />

Cryptogonus fulvocinctus<br />

Cryptogonus sp.1<br />

Cryptogonus sp.2<br />

Cryptogonus sp.3<br />

Brumus lineatus<br />

Chilocorus gressitti<br />

Coccinella transversalis<br />

Coccinella septempunctata<br />

Harmonia octomaculata<br />

Harmonia sedecimnotata<br />

Micraspis discolor<br />

Micraspis vincta<br />

Cheilomenes sexmaculatus<br />

Coelophora inaequalis<br />

ภาพผนวกที่<br />

6 ความหนาแนนของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

106


2 0 0<br />

0<br />

Serangium sp.<br />

Stethorus indira<br />

Stethorus pauperculus<br />

Nephus ryuguus<br />

cymnus rectoides<br />

Scymnus sodalis<br />

Scymnus nigrosuturalis<br />

Scymnus fuscatus<br />

Scymnus quadrillum<br />

Scymnus pallidicollis<br />

Scymnus sp.1<br />

Cryptogonus orbiculus<br />

Cryptogonus trioblitus<br />

Cryptogonus fulvoterminatus<br />

Cryptogonus fulvocinctus<br />

Cryptogonus sp.1<br />

Cryptogonus sp.2<br />

Cryptogonus sp.3<br />

Brumus lineatus<br />

Chilocorus gressitti<br />

Coccinella transversalis<br />

Coccinella septempunctata<br />

Harmonia octomaculata<br />

Harmonia sedecimnotata<br />

Micraspis discolor<br />

Micraspis vincta<br />

Cheilomenes sexmaculatus<br />

Coelophora inaequalis<br />

ภาพผนวกที่<br />

7 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่แปลงปลูกผักที่ติดกันเปนผืนใหญ<br />

107


2 0 0<br />

0<br />

Serangium sp.<br />

Stethorus indira<br />

Stethorus pauperculus<br />

Nephus ryuguus<br />

cymnus rectoides<br />

Scymnus sodalis<br />

Scymnus nigrosuturalis<br />

Scymnus fuscatus<br />

Scymnus quadrillum<br />

Scymnus pallidicollis<br />

Scymnus sp.1<br />

Cryptogonus orbiculus<br />

Cryptogonus trioblitus<br />

Cryptogonus fulvoterminatus<br />

Cryptogonus fulvocinctus<br />

Cryptogonus sp.1<br />

Cryptogonus sp.2<br />

Cryptogonus sp.3<br />

Brumus lineatus<br />

Chilocorus gressitti<br />

Coccinella transversalis<br />

Coccinella septempunctata<br />

Harmonia octomaculata<br />

Harmonia sedecimnotata<br />

Micraspis discolor<br />

Micraspis vincta<br />

Cheilomenes sexmaculatus<br />

Coelophora inaequalis<br />

ภาพผนวกที่<br />

8 ความหนาแนนของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่แปลงปลูกผักแบบยกรอง<br />

108


2 0 0<br />

0<br />

Serangium sp.<br />

Stethorus indira<br />

Stethorus pauperculus<br />

Nephus ryuguus<br />

cymnus rectoides<br />

Scymnus sodalis<br />

Scymnus nigrosuturalis<br />

Scymnus fuscatus<br />

Scymnus quadrillum<br />

Scymnus pallidicollis<br />

Scymnus sp.1<br />

Cryptogonus orbiculus<br />

Cryptogonus trioblitus<br />

Cryptogonus fulvoterminatus<br />

Cryptogonus fulvocinctus<br />

Cryptogonus sp.1<br />

Cryptogonus sp.2<br />

Cryptogonus sp.3<br />

Brumus lineatus<br />

Chilocorus gressitti<br />

Coccinella transversalis<br />

Coccinella septempunctata<br />

Harmonia octomaculata<br />

Harmonia sedecimnotata<br />

Micraspis discolor<br />

Micraspis vincta<br />

Cheilomenes sexmaculatus<br />

Coelophora inaequalis<br />

ภาพผนวกที่<br />

9 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่แปลงปลูกผักแบบยกรอง<br />

109


2 0 0<br />

0<br />

Serangium sp.<br />

Stethorus indira<br />

Stethorus pauperculus<br />

Nephus ryuguus<br />

cymnus rectoides<br />

Scymnus sodalis<br />

Scymnus nigrosuturalis<br />

Scymnus fuscatus<br />

Scymnus quadrillum<br />

Scymnus pallidicollis<br />

Scymnus sp.1<br />

Cryptogonus orbiculus<br />

Cryptogonus trioblitus<br />

Cryptogonus fulvoterminatus<br />

Cryptogonus fulvocinctus<br />

Cryptogonus sp.1<br />

Cryptogonus sp.2<br />

Cryptogonus sp.3<br />

Brumus lineatus<br />

Chilocorus gressitti<br />

Coccinella transversalis<br />

Coccinella septempunctata<br />

Harmonia octomaculata<br />

Harmonia sedecimnotata<br />

Micraspis discolor<br />

Micraspis vincta<br />

Cheilomenes sexmaculatus<br />

Coelophora inaequalis<br />

ภาพผนวกที่<br />

10 ความหนาแนนของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผัก<br />

110


2 0 0<br />

0<br />

Serangium sp.<br />

Stethorus indira<br />

Stethorus pauperculus<br />

Nephus ryuguus<br />

cymnus rectoides<br />

Scymnus sodalis<br />

Scymnus nigrosuturalis<br />

Scymnus fuscatus<br />

Scymnus quadrillum<br />

Scymnus pallidicollis<br />

Scymnus sp.1<br />

Cryptogonus orbiculus<br />

Cryptogonus trioblitus<br />

Cryptogonus fulvoterminatus<br />

Cryptogonus fulvocinctus<br />

Cryptogonus sp.1<br />

Cryptogonus sp.2<br />

Cryptogonus sp.3<br />

Brumus lineatus<br />

Chilocorus gressitti<br />

Coccinella transversalis<br />

Coccinella septempunctata<br />

Harmonia octomaculata<br />

Harmonia sedecimnotata<br />

Micraspis discolor<br />

Micraspis vincta<br />

Cheilomenes sexmaculatus<br />

Coelophora inaequalis<br />

ภาพผนวกที่<br />

11 ความหลากหลายของดวงเตาตัวห้ําในพื้นที่รอบแปลงที่ไมมีการปลูกผัก<br />

111


ภาพผนวกที่<br />

12 โครงสรางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Tribe Serangiini<br />

ก. หัวดานบน<br />

ข. หัวดานลาง<br />

ค. อกปลองแรก<br />

ง. อกปลองที่สองและสาม<br />

จ. หนวด<br />

ฉ. กราม<br />

ช. รยางคฟน<br />

ซ. ปลองทอง<br />

ฌ. ปกหลัง<br />

ที่มา<br />

Sasaji (1971)<br />

112


ภาพผนวกที่<br />

13 โครงสรางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Tribe Stethorini<br />

ก. หัวดานบน<br />

ข. หัวดานลาง<br />

ค. หนวด<br />

ง. อกปลองแรก<br />

จ. อกปลองที่สองและสาม<br />

ฉ. รยางคฟน<br />

ช. ปลองทอง<br />

ซ. ปกหลัง<br />

ที่มา<br />

Sasaji (1971)<br />

113


ภาพผนวกที่<br />

14 โครงสรางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Tribe Scymnini<br />

ก. หัวดานบ<br />

ข. หัวดานลาง<br />

ค. อกปลองแรก<br />

ง. อกปลองที่สองและสาม<br />

จ. หนวด<br />

ฉ. รยางคฟน<br />

ช. ปลองทอง<br />

ซ. กราม<br />

ฌ. ปกหลัง<br />

ที่มา<br />

Sasaji (1971)<br />

114


ภาพผนวกที่<br />

15 โครงสรางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Tribe Aspidimerini<br />

ก. หัวดานบน<br />

ข. หัวดานลาง<br />

ค. อกปลองแรก<br />

ง. อกปลองที่สองและสาม<br />

จ. หนวด<br />

ฉ. กราม<br />

ช. ปลองทอง<br />

ซ. รยางคฟน<br />

ที่มา<br />

Sasaji (1971)<br />

115


ภาพผนวกที่<br />

16 โครงสรางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Tribe Chilocorini<br />

ก. หัวดานบน<br />

ข. หัวดานลาง<br />

ค. อกปลองแรก<br />

ง. อกปลองที่สองและสาม<br />

จ. หนวด<br />

ฉ. กราม<br />

ช. ปลองทอง<br />

ซ. รยางคฟน<br />

ฌ. ปกหลัง<br />

ที่มา<br />

Sasaji (1971)<br />

116


ภาพผนวก 17 โครงสรางของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Tribe Coccinellini<br />

ก. หัวดานบน<br />

ข. หัวดานลาง<br />

ค. อกปลองแรก<br />

ง. อกปลองที่สองและสาม<br />

จ. หนวด<br />

ฉ. รยางคฟน<br />

ช. ปลองทอง<br />

ซ. ปกหลัง<br />

ฌ. กราม<br />

ที่มา<br />

Sasaji (1971)<br />

117


ตารางผนวกที่<br />

1 ขอมูลดวงเตาตัวห้ําในแปลงปลูกผักเกษตรอินทรีย<br />

ชนิดดวงเตาตัวห้ํา<br />

ครั้งที่<br />

1 ครั้งที่<br />

2 ครั้งที่<br />

3<br />

C1. C2. C3. C1. C2. C3. C1. C2. C3.<br />

1 Serangium sp. 0 0 0 0 0 0 0 0 1<br />

2 Stethorus indira Kapur 14 4 1 6 13 1 2 15 0<br />

3 Stethorus pauperculus (Weise) 9 12 0 11 5 0 7 3 0<br />

4 Nephus ryuguus (H.Kamiya) 0 1 0 0 0 0 0 1 0<br />

5 Scymnus rectoides Sasaji 0 1 0 0 0 0 1 0 0<br />

6 Scymnus sodalis (Weise) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

7 Scymnus nigrosuturalis H.Kamiya 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

8 Scymnus fuscatus Boheman 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

9 Scymnus quadrillum Motschulsky 0 0 0 0 0 0 2 0 0<br />

10 Scymnus pallidicollis Mulsant 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

11 Scymnus sp.1 0 0 2 0 0 2 0 0 0<br />

12 Cryptogonus orbiculus (Gyllenhal) 3 1 1 0 7 1 2 4 0<br />

13 Cryptogonus trioblitus (Gyllenhal) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

14 Cryptogonus fulvoterminatus Boheman 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

15 Cryptogonus fulvocinctus (Mulsant) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

16 Cryptogonus sp.1 0 0 1 0 5 1 4 6 0<br />

17 Cryptogonus sp.2 0 0 0 1 4 0 1 1 0<br />

18 Cryptogonus sp.3 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

19 Brumus lineatus (Weise) 0 0 0 0 0 0 0 2 0<br />

20 Chilocorus gressitti Miyatake 1 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

21 Coccinella transversalis Fabricius 5 0 0 1 0 0 2 1 18<br />

22 Coccinella septempunctata Linnaeus 0 0 0 0 0 0 0 2 0<br />

23 Harmonia octomaculata (Fabricius) 0 0 4 1 0 4 0 0 5<br />

24 Harmonia sedecimnotata (Fabricius) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

25 Micraspis discolor (Fabricius) 0 1 3 0 0 3 1 0 7<br />

26 Micraspis vincta (Gorham) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

27 Cheilomenes sexmaculatus (Fabricius) 2 12 11 3 3 11 2 14 4<br />

28 Coelophora inaequalis (Fabricius) 5 12 0 11 8 0 2 0 0<br />

118


ตารางผนวกที่<br />

1 ขอมูลดวงเตาตัวห้ําในแปลงปลูกผักเกษตรอินทรีย<br />

(ตอ)<br />

ชนิดดวงเตาตัวห้ํา<br />

ครั้งที่<br />

4 ครั้งที่<br />

5 ครั้งที่<br />

6<br />

C1. C2. C3. C1. C2. C3. C1. C2. C3.<br />

1 Serangium sp. 0 0 1 0 0 0 0 0 0<br />

2 Stethorus indira Kapur 9 22 0 9 13 0 3 0 0<br />

3 Stethorus pauperculus (Weise) 18 10 0 4 7 0 14 0 0<br />

4 Nephus ryuguus (H.Kamiya) 0 0 0 0 1 0 1 1 0<br />

5 Scymnus rectoides Sasaji 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

6 Scymnus sodalis (Weise) 0 0 0 0 0 0 0 0 1<br />

7 Scymnus nigrosuturalis H.Kamiya 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

8 Scymnus fuscatus Boheman 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

9 Scymnus quadrillum Motschulsky 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

10 Scymnus pallidicollis Mulsant 0 0 0 0 0 1 0 0 0<br />

11 Scymnus sp.1 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

12 Cryptogonus orbiculus (Gyllenhal) 0 5 0 3 1 1 1 3 0<br />

13 Cryptogonus trioblitus (Gyllenhal) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

14 Cryptogonus fulvoterminatus Boheman 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

15 Cryptogonus fulvocinctus (Mulsant) 1 4 0 0 0 0 0 0 0<br />

16 Cryptogonus sp.1 0 8 0 2 0 0 0 7 1<br />

17 Cryptogonus sp.2 1 0 0 0 0 0 0 0 3<br />

18 Cryptogonus sp.3 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

19 Brumus lineatus (Weise) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

20 Chilocorus gressitti Miyatake 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

21 Coccinella transversalis Fabricius 4 10 18 1 3 0 2 1 8<br />

22 Coccinella septempunctata Linnaeus 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

23 Harmonia octomaculata (Fabricius) 1 0 5 0 0 2 0 0 2<br />

24 Harmonia sedecimnotata (Fabricius) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

25 Micraspis discolor (Fabricius) 0 0 7 0 2 6 1 0 0<br />

26 Micraspis vincta (Gorham) 0 0 0 1 0 0 0 0 0<br />

27 Cheilomenes sexmaculatus (Fabricius) 12 9 4 3 1 0 16 0 0<br />

28 Coelophora inaequalis (Fabricius) 1 7 0 0 4 0 1 1 0<br />

119


ตารางผนวกที่<br />

1 ขอมูลดวงเตาตัวห้ําในแปลงปลูกผักเกษตรอินทรีย<br />

(ตอ)<br />

ชนิดดวงเตาตัวห้ํา<br />

ครั้งที่<br />

7 ครั้งที่<br />

8 ครั้งที่<br />

9<br />

C1. C2. C3. C1. C2. C3. C1. C2. C3.<br />

1 Serangium sp. 0 0 0 0 0 3 0 0 3<br />

2 Stethorus indira Kapur 0 0 0 8 7 0 7 9 0<br />

3 Stethorus pauperculus (Weise) 2 16 0 25 20 0 4 8 0<br />

4 Nephus ryuguus (H.Kamiya) 0 0 1 0 0 0 2 1 0<br />

5 Scymnus rectoides Sasaji 0 1 0 0 0 0 0 2 0<br />

6 Scymnus sodalis (Weise) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

7 Scymnus nigrosuturalis H.Kamiya 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

8 Scymnus fuscatus Boheman 0 0 0 1 0 0 0 0 0<br />

9 Scymnus quadrillum Motschulsky 0 0 0 0 0 0 0 0 2<br />

10 Scymnus pallidicollis Mulsant 0 0 0 0 0 0 1 0 3<br />

11 Scymnus sp.1 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

12 Cryptogonus orbiculus (Gyllenhal) 0 11 1 0 4 0 0 0 0<br />

13 Cryptogonus trioblitus (Gyllenhal) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

14 Cryptogonus fulvoterminatus Boheman 0 0 0 2 0 0 0 0 0<br />

15 Cryptogonus fulvocinctus (Mulsant) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

16 Cryptogonus sp.1 0 3 2 0 4 0 0 0 0<br />

17 Cryptogonus sp.2 0 0 0 0 1 0 1 0 0<br />

18 Cryptogonus sp.3 0 0 0 0 0 3 0 0 0<br />

19 Brumus lineatus (Weise) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

20 Chilocorus gressitti Miyatake 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

21 Coccinella transversalis Fabricius 21 3 33 0 0 4 0 0 0<br />

22 Coccinella septempunctata Linnaeus 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

23 Harmonia octomaculata (Fabricius) 8 0 0 0 0 0 3 0 0<br />

24 Harmonia sedecimnotata (Fabricius) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

25 Micraspis discolor (Fabricius) 0 0 1 2 2 5 0 1 0<br />

26 Micraspis vincta (Gorham) 0 0 0 0 0 1 0 0 0<br />

27 Cheilomenes sexmaculatus (Fabricius) 3 9 1 7 1 1 16 17 11<br />

28 Coelophora inaequalis (Fabricius) 0 0 0 0 0 0 8 1 0<br />

120


ตารางผนวกที่<br />

1 ขอมูลดวงเตาตัวห้ําในแปลงปลูกผักเกษตรอินทรีย<br />

(ตอ)<br />

ชนิดดวงเตาตัวห้ํา<br />

ครั้งที่<br />

10 ครั้งที่<br />

11 ครั้งที่<br />

12<br />

C1. C2. C3. C1. C2. C3. C1. C2. C3.<br />

1 Serangium sp. 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

2 Stethorus indira Kapur 5 25 0 10 2 0 10 3 0<br />

3 Stethorus pauperculus (Weise) 2 11 0 7 17 0 9 14 0<br />

4 Nephus ryuguus (H.Kamiya) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

5 Scymnus rectoides Sasaji 0 1 0 1 0 0 1 0 0<br />

6 Scymnus sodalis (Weise) 0 0 0 0 0 0 0 0 1<br />

7 Scymnus nigrosuturalis H.Kamiya 0 0 0 0 0 2 0 0 0<br />

8 Scymnus fuscatus Boheman 0 0 0 0 0 0 1 0 2<br />

9 Scymnus quadrillum Motschulsky 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

10 Scymnus pallidicollis Mulsant 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

11 Scymnus sp.1 0 0 0 0 0 0 0 0 1<br />

12 Cryptogonus orbiculus (Gyllenhal) 1 1 0 2 0 0 2 2 0<br />

13 Cryptogonus trioblitus (Gyllenhal) 0 0 0 0 0 0 2 0 0<br />

14 Cryptogonus fulvoterminatus Boheman 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

15 Cryptogonus fulvocinctus (Mulsant) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

16 Cryptogonus sp.1 0 10 0 2 0 0 0 2 1<br />

17 Cryptogonus sp.2 1 0 0 0 0 3 0 0 0<br />

18 Cryptogonus sp.3 0 0 0 0 0 0 0 0 1<br />

19 Brumus lineatus (Weise) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

20 Chilocorus gressitti Miyatake 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

21 Coccinella transversalis Fabricius 0 0 3 3 1 9 2 7 7<br />

22 Coccinella septempunctata Linnaeus 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

23 Harmonia octomaculata (Fabricius) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

24 Harmonia sedecimnotata (Fabricius) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

25 Micraspis discolor (Fabricius) 0 0 0 1 0 0 1 0 0<br />

26 Micraspis vincta (Gorham) 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

27 Cheilomenes sexmaculatus (Fabricius) 2 3 5 4 0 3 4 2 0<br />

28 Coelophora inaequalis (Fabricius) 0 4 0 0 1 0 0 0 0<br />

121

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!