27.06.2013 Views

53/24 เรื่อง ผลของ 2,4-Dร่วมกับ TDZ

53/24 เรื่อง ผลของ 2,4-Dร่วมกับ TDZ

53/24 เรื่อง ผลของ 2,4-Dร่วมกับ TDZ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Agricultural Sci.J. 41(2) (Suppl.) : 3<strong>53</strong>-356 (2010) ว.วิทย.กษ. 41(2) (พิเศษ) : 3<strong>53</strong>-356 (25<strong>53</strong>)<br />

<strong>ผลของ</strong> 2,4-D รวมกับ <strong>TDZ</strong> ตอการเพาะเลี้ยงใบกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีนในสภาพปลอดเชื้อ<br />

Effect of 2,4-D and <strong>TDZ</strong> on in vitro leaf culture of Paphiopedilum concolor.<br />

ปยมาศ เกิดนอย 1 , สุเม อรัญนารถ 1 และ กัญจนา แซเตียว 1<br />

Piyamas Kerdnoi 1 , Sumay Arunyanart 1 and Kanjana Saetiew 1<br />

Abstract<br />

In vitro leaf culture of Paphiopedilum concolor was studied. Leaves from aseptic culture<br />

were cultured on Murashige and Skoog (1962) (MS) medium supplemented with 0, 1, 2 and 3 mg/l<br />

2,4-D and 0, 0.1, 0.2, 0.4 and 1 mg/l <strong>TDZ</strong> for 20 weeks. The 4x5 factorial in randomized<br />

complete block design was used. It was found that MS medium with 0.4 mg/l <strong>TDZ</strong> gave the best<br />

shoot formation and the highest shoot number was 0.40 shoots per explant. MS medium with<br />

3 mg/l 2,4-D and 0.1 mg/l <strong>TDZ</strong> gave the highest average score of explant growth which was 1.97<br />

and the highest percentage of shoot regeneration which was 13.33 percent. Shoot and callus did<br />

not develop when explants cultured on medium with 2 mg/l 2,4-D and 0 and 0.1 mg/l <strong>TDZ</strong> and<br />

3mg/l 2,4-D and 0.2 mg/l <strong>TDZ</strong>.<br />

Keywords ; 2,4-D, <strong>TDZ</strong>, Paphiopedilum concolor<br />

บทคัดยอ<br />

การศึกษาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีนในสภาพปลอดเชื้อ<br />

โดยการนําเอาใบจาก<br />

สภาพปลอดเชื้อ<br />

ไปเพาะเลี้ยงในอาหารสูตร<br />

Murashige and Skoog (1962) (MS) ที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 0, 1, 2<br />

และ 3 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> เขมขน 0, 0.1, 0.2, 0.4 และ 1 mg/l โดยวางแผนการทดลองแบบ 4x5 factorial in<br />

randomized complete block design เปนเวลา 20 สัปดาห พบวา อาหารสูตร MS ที่เติม<br />

<strong>TDZ</strong> เขมขน<br />

0.4 mg/l ชิ้นสวนมีการพัฒนาเปนยอดไดดีที่สุด<br />

และมีจํานวนยอดเฉลี่ยสูงที่สุดคือ<br />

0.40 ยอดตอชิ้นสวน<br />

อาหารสูตร<br />

MS ที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 3 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> 0.1 mg/l ชิ้นสวนมีคะแนนการเจริญเติบโตเฉลี่ยสูงที่สุดคือ<br />

1.97 คะแนน และมีเปอรเซ็นตการเกิดยอดสูงที่สุดคือ<br />

13.33 เปอรเซ็นต สวนอาหารที่ไมมีสารควบคุมการเจริญเติบโต<br />

ของพืช อาหารที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 2 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> เขมขน 0 และ 0.1 mg/l และอาหารที่เติม<br />

2,4-D<br />

เขมขน 3 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> เขมขน 0.2 mg/l ไมสามารถทําใหชิ้นสวนพัฒนาไปเปนยอดหรือแคลลัสได<br />

คําสําคัญ ; 2,4-D, <strong>TDZ</strong>, Paphiopedilum concolor<br />

คํานํา<br />

กลวยไมรองเทานารี (Lady’s Slipper) มี 5 สกุล 137 ชนิด สําหรับประเทศไทยพบกลวยไมรองเทานารีพันธุ<br />

พื้นเมืองเพียงสกุลเดียว<br />

คือ Paphiopedilum (อุไร, 2541) ซึ่งดอกมีลักษณะสวยงามแปลกตามีกลีบงุมงอเปนกระเปา<br />

คลายรูปรองเทาแตะของผูหญิง<br />

ดอกบานทนทาน และมีราคาที่ดีกวากลวยไมสกุลอื่นๆ<br />

(ระพี , 2<strong>53</strong>5) ปจจุบันการ<br />

เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อการขยายพันธุกลวยไมรองเทานารี<br />

โดยปกตินิยมทําโดยการเพาะเมล็ด ซึ่งทําใหตนกลวยไมในรุน<br />

ตอมามีความแปรปรวนทางพันธุกรรมเกิดขึ้นได<br />

ดังนั้นการขยายพันธุแบบไมอาศัยเพศสามารถชวยลดปญหาดังกลาวได<br />

(ดวงพร, 2544) จากปญหาดังกลาวเปนสาเหตุใหเกิดการศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมสําหรับการชักนําใหเกิดยอดของ<br />

ชิ้นสวนใบกลวยไมรองเทานารีในสภาพปลอดเชื้อ<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

ศึกษา<strong>ผลของ</strong> 2,4-D รวมกับ <strong>TDZ</strong> ตอการเพาะเลี้ยงใบกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีนในสภาพปลอดเชื้อ<br />

โดยใชชิ้นสวนใบของกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีนตัดเอาแตสวนโคนใบซึ่งวัดจากโคนขึ้นมาประมาณ<br />

0.5 cm. นํา<br />

ชิ้นสวนที่ตัดได<br />

มาเพาะเลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร<br />

Murashige and Skoog (1962) ซี่งเติมสารควบคุมการเจริญเติบโต<br />

คือ<br />

1 สาชาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520<br />

1 Department of Plant Production Technology , Faculty of Agricultural Technology, King Mongkut’s institute of Technology Ladkrabang, Bangkok 10520

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!