27.06.2013 Views

53/24 เรื่อง ผลของ 2,4-Dร่วมกับ TDZ

53/24 เรื่อง ผลของ 2,4-Dร่วมกับ TDZ

53/24 เรื่อง ผลของ 2,4-Dร่วมกับ TDZ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

วารสาร ISSN 0125-0369<br />

วิทยาศาสตรเกษตร<br />

AGRICULTURAL SCIENCE JOURNAL<br />

ปที่<br />

41 ฉบับที่<br />

2 (พิเศษ) พฤษภาคม – สิงหาคม 25<strong>53</strong><br />

Vol.41 No.2 (Suppl.) May – August 2010<br />

พัฒนาพืชสวนไทยเพื่อไทยเขมแข็ง<br />

การประชุมวิชาการพืชสวนแหงชาติครั้งที่<br />

9<br />

The 9 th National Horticultural Congress 2010<br />

11 – 14 พฤษภาคม 25<strong>53</strong> ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา<br />

จัดโดย<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ


สมาคมวิทยาศาสตรการเกษตรแหงประเทศไทย<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ<br />

นายกสมาคม<br />

ศาสตราจารย ดร.เจริญศักดิ์<br />

โรจนฤทธิ์พิเชษฐ<br />

อุปนายก<br />

รศ.วิชัย หฤทัยธนาสันติ์<br />

ศ.ดร.พีระศักดิ์<br />

ศรีนิเวศน<br />

รศ.ดร.วิจารณ วิชชุกิจ<br />

เลขาธิการ เหรัญญิก<br />

รศ.ดร.กลาณรงค ศรีรอต นางยุพา ปานแกว<br />

วารสารวิทยาศาสตรเกษตร<br />

Agricultural Science Journal<br />

บรรณาธิการ<br />

รศ.ดร.นิพนธ ทวีชัย<br />

กองบรรณาธิการ<br />

ศ.ดร.อังศุมาลย จันทราปตย รศ.ดร.อําไพวรรณ ภราดรนุวัฒน<br />

ศ.ประดิษฐ พงศทองคํา รศ.ดร.วรวิทย สิริพลวัฒน<br />

ศ.ดร.สายัณห ทัดศรี รศ.ดร.ณรงค จึงสมานญาติ<br />

ศ.ดร.เอิบ เขียวรื่นรมณ<br />

รศ.ดร.อมรา ทองปาน<br />

ศ.ดร.สายชล เกตุษา รศ.ดร.กังวาลย จันทรโชติ<br />

ศ.ดร.จริงแท ศิริพานิช รศ.ดร.กัญจนา ธีระกุล<br />

เจาของ<br />

สมาคมวิทยาศาสตรการเกษตรแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ<br />

ตู<br />

ปณ. 1070 ปทฝ. เกษตรศาสตร กรุงเทพมหานคร 10903<br />

สํานักงานกองบรรณาธิการ<br />

คณะอุตสาหกรรมเกษตร อาคาร 3 ชั้น<br />

8<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ 10900<br />

โทร.02-579-1259 ตอ 1<strong>24</strong> โทรสาร.02-940-5634


บทบรรณาธิการ<br />

วารสารวิทยาศาสตรเกษตรฉบับพิเศษนี้<br />

สมาคมวิทยาศาสตรเกษตรแหงประเทศไทย จัดทํา<br />

ขึ้นเพื่อเผยแพรผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการพืชสวนแหงชาติครั้งที่<br />

๙ ระหวางวันที่<br />

๑๑ – ๑๔<br />

พฤษภาคม ๒๕๕๓ ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา<br />

ซึ่งประกอบดวย<strong>เรื่อง</strong>เต็มจากการประชุมวิชาการที่นําเสนอทั้งภาคบรรยายและโปสเตอร<br />

โดยมี<br />

วัตถุประสงคเพื่อใหนักวิชาการ<br />

นักวิจัย นิสิต นักศึกษา ผูสนใจทั้งภาครัฐและเอกชนได<br />

แลกเปลี่ยนความรูและประสบการณ<br />

ตลอดจนไดเผยแพรผลงานวิจัยสูสาธารณะ<br />

ซึ่งกอใหเกิดการ<br />

สรางเครือขายวิจัย อีกทั้งเปนการพัฒนาแนวทางการวิจัยและเทคโนโลยีทางดานพืชสวนของไทยให<br />

มีคุณภาพ และชวยเพิ่มศักยภาพในการผลิต<br />

การตลาดทั้งภายในประเทศและตางประเทศ<br />

สมาคมวิทยาศาสตรเกษตรแหงประเทศไทย ใครขอขอบคุณผูเขารวมประชุมทุกทาน<br />

วิทยากรบรรยายพิเศษ โดยเฉพาะคณะกรรมการจัดการประชุมจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล<br />

สุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัยในเครือขาย สมาคมพืชสวนแหงประเทศไทย องคกรภาครัฐและเอกชน<br />

ตลอดจนบุคลากรที่ใหการชวยเหลือสนับสนุน<br />

ทําใหการประชุมวิชาการในครั้งนี้บรรลุ<br />

วัตถุประสงคและประสบความสําเร็จดวยดีทุกประการ<br />

รองศาสตราจารย ดร.นิพนธ ทวีชัย<br />

บรรณาธิการ


คํานํา<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล<br />

สุวรรณภูมิ ไดดําเนินจัดประชุมวิชาการพืชสวนแหงชาติครั้งที่<br />

๙ ระหวางวันที่<br />

๑๑-๑๔ พฤษภาคม<br />

๒๕๕๓ ภายใตหัวขอ “ พัฒนาพืชสวนไทย เพื่อไทยเขมแข็ง<br />

” ในความรวมมือของสมาคมพืช<br />

สวนแหงประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหนักวิจัย<br />

นักวิชาการ นิสิต นักศึกษา จาก<br />

สถาบันการศึกษาและหนวยงานตางๆของภาครัฐและเอกชน รวมทั้งผูสนใจ<br />

ไดมีโอกาสเผยแพร<br />

ผลงานวิจัย และแลกเปลี่ยนความรู<br />

ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน<br />

เพื่อเปนชองทางในการรับความรู<br />

ขอมูลที่คนพบ<br />

นําไปสูการขยายฐานขอมูลงานวิจัยใหกวางขวางมากขึ้นและเปนการสรางเครือขาย<br />

เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีทางดานพืชสวนของไทยตอไป<br />

ในการนี้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล<br />

สุวรรณภูมิ ไดรวบรวมผลงานวิจัยที่นําเสนอทั้งภาคบรรยาย<br />

และภาคโปสเตอร จัดรวมเลมเพื่อเปน<br />

การบริการทางวิชาการ แกผูเขารวมประชุมสัมมนาทุกทาน<br />

อันจะนําไปสูการใชประโยชนของ<br />

แหลงขอมูลการวิจัยทางดานพืชสวนตอไป<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ในฐานะเจาภาพในการจัดประชุมพืชสวน<br />

แหงชาติครั้งที่<br />

๙ นี้<br />

ขอขอบคุณ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) สํานักงาน<br />

คณะกรรมการการวิจัยแหงชาติ (วช) บริษัทโรจนกสิกิจเฟอรติไลเซอร จํากัด ที่สนับสนุน<br />

งบประมาณในการดําเนินการจัดประชุม ตลอดจนมหาวิทยาลัยในเครือขาย สมาคมพืชสวนแหง<br />

ประเทศไทย วิทยากร สถาบันการศึกษา หนวยงานภาครัฐและเอกชน และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ<br />

ทุกทาน ที่ใหการชวยเหลือสนับสนุน<br />

ทําใหการประชุมวิชาการครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค<br />

และ<br />

ประสบความสําเร็จดวยดี จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้<br />

ผู<br />

ชวยศาสตราจารยฐิติมา จิโนวัฒน<br />

คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร


ก<br />

สารบัญ<br />

1. ภาคบรรยายสาขาไมผล/ไมยืนตน<br />

การศึกษาพื้นที่เหมาะสมสําหรับการปลูกเงาะโดยใชเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ<br />

1<br />

ยุพา ลิ้มสวัสดิ์<br />

และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>แหลงเพาะปลูกและระดับความแกออนตอปริมาณเกลือแร น้ําตาลและ<br />

5<br />

ความสามารถในการเปนสารตานอนุมูลอิสระในน้ํามะพราวน้ําหอม<br />

อินทิรา คุมญาติ<br />

และคณะ<br />

การศึกษาการคัดเลือกพันธุและการผลิตมะขามปอมเพื่ออุตสาหกรรม<br />

9<br />

นคร เหลืองประเสริฐ และคณะ<br />

คุณภาพสับปะรดพันธุภูเก็ตและลักษณะลูกผสมชั่วที่<br />

1 ที่ปลูกในจังหวัดลําปาง<br />

13<br />

อรุณ โสตถิกุล และคณะ<br />

ปฏิกิริยาสัมพันธระหวางพันธุกรรมกับสภาพแวดลอมของลักษณะผลผลิตทะลายสดของ 17<br />

ปาลมน้ํามัน<br />

สุดนัย เครือหลี และคณะ<br />

การศึกษาและทดสอบระบบใหน้ําที่เหมาะสมสําหรับแปลงปลูกปาลมน้ํามันในภาค<br />

21<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

นาวี จิระชีวี และคณะ<br />

อิทธิพลของตนตอตางพันธุตอปริมาณจุลธาตุของกานใบในองุนพันธุ<br />

Shiraz ปลูกในดินที่<br />

25<br />

เกิดจากหินปูน<br />

จิระนิล แจมเกิด และคณะ<br />

อิทธิพลของการปลิดชอผลและGA3 ที่มีตอคุณภาพของผลองุนพันธุเพอรเลท<br />

29<br />

กิตติพงศ ตรีตรุยานนท และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>สาร GA3 ที่มีตอน้ําหนักชอผลและคุณภาพของผลองุนพันธุ<br />

Perlette 33<br />

กิตติพงศ ตรีตรุยานนท และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>สาร GA3 และ CPPU ตอการผลิตองุนพันธุ<br />

Marroo Seedless 37<br />

สุรศักดิ์<br />

นิลนนท และคณะ<br />

หนา


ข<br />

สารบัญ<br />

การผลิตสตรอเบอรี่ในแนวตั้งโดยใชโครงสรางแบบตัว<br />

A ในพื้นที่อําเภอนาแหว<br />

41<br />

จังหวัดเลย<br />

รพีพรรณ หิดกําปง และคณะ<br />

อาการขาดธาตุสังกะสีและโบรอนของลําไยที่ปลูกในกระถางทราย<br />

45<br />

วินัย วิริยะอลงกรณ และคณะ<br />

การประเมินความอุดมสมบูรณของดินปลูกยางพาราโดยวิธีกระถางทดสอบ 49<br />

ปราโมทย ทิมขํา และคณะ<br />

การคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียปฏิปกษเพื่อควบคุมโรครากเนาของสมสายน้ําผึ้งและการผลิต<br />

<strong>53</strong><br />

เอนไซม<br />

ปนัดดา อินพิทักษ และคณะ<br />

การใชจุลินทรียปฎิปกษและโซเดียมไบคารบอเนตเพื่อควบคุมโรคผลเนาราเขียว<br />

57<br />

(Penicillium digitatum ) ของสม<br />

สุมิตรา แสงวนิชย และคณะ<br />

2. ภาคบรรยายสาขาพืชผัก/สมุนไพร<br />

การสกัดสายพันธุแทในแตงกวาใหมีความตานทานตอโรคราน้ําคาง<br />

61<br />

ธนิยา เอกธรรมกุล และคณะ<br />

พริกพื้นเมือง<br />

พันธุคีรีราษฎร<br />

1 65<br />

จานุลักษณ ขนบดี<br />

ลักษณะพันธุและผลพริกตอการเขาทําลายของแมลงวันพริก<br />

Bactrocera latifrons 69<br />

(Hendel)<br />

อโนทัย วิงสระนอย และคณะ<br />

ปจจัยที่มีผลตอการงอกของเรณูพริก<br />

ชนิด Capsicum baccatum L. และ Capsicum 73<br />

chinense Jacq.<br />

วีระ คําวอน และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>การทํา seed priming เมล็ดพันธุแตงกวาลูกผสมดวยสารเคมีตางชนิดกัน<br />

77<br />

ชินานาตย ไกรนารถ และคณะ<br />

หนา


ค<br />

สารบัญ<br />

<strong>ผลของ</strong>การกระตุนการงอกดวยปุยทางใบ<br />

2 ชนิด ตอคุณภาพเมล็ดพันธุแตงกวาลูกผสม<br />

81<br />

พจนา สีขาว และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>ชนิดพืชอาหารแมลงหวี่ขาวและอาหารทดแทนตอพัฒนาการเจริญเติบโตและ<br />

85<br />

อายุขัยของดวงเตาตัวห้ํา<br />

Serangium sp.<br />

วิภาลัย พุตจันทึก และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>สารเคลือบตอคุณภาพเมล็ดพันธุหลังการเคลือบและหลังการเก็บรักษาของเมล็ด<br />

89<br />

พันธุขาวโพดหวานลูกผสม<br />

2 พันธุ<br />

บุญมี ศิริ และคณะ<br />

วิจัยและพัฒนาอุปกรณใหปุยพรอมระบบน้ําหยดสําหรับการปลูกพืชโดยใชพลาสติกคลุม<br />

93<br />

ดิน<br />

นาวี จิระชีวี และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>แคลเซียมที่มีตอการเจริญเติบโตและการเกิดสีน้ําตาลของผักกาดหอม<br />

97<br />

ชมดาว ขําจริง และคณะ<br />

ศึกษาเทคโนโลยีการผลิตถั่วฝกยาวอินทรียที่เหมาะสมในเขตภาคเหนือตอนลาง<br />

101<br />

สุมาลี สุวรรณบุตร และคณะ<br />

การเพิ่มการเจริญเติบโตและผลผลิตของคะนาดวยเชื้อรา<br />

Trichoderma spp. ซึ่งแยกได<br />

105<br />

จากดินขุยไผ สายพันธุดั้งเดิมและสายพันธุที่ผานการฉายรังสี<br />

UV<br />

อรรถกร พรมวี และคณะ<br />

สารสกัด Trypsin Inhibitors จากเมล็ดขี้กาแดง<br />

(Gymnopetalum integrifolim Kurz.) 109<br />

อรวรรณ แสวงสุข และคณะ<br />

ความสัมพันธระหวางไรขาวและประสิทธิภาพของไรตัวห้ํา<br />

Amblyseius cinctus Corpuz 113<br />

and Rimando ตออาการใบหงิกของพริก<br />

จุรีรัตน รัตนทิพย และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>สารควบคุมการเจริญเติบโตพืช ตอการสรางสารอารทีมิซินินในรากเพาะเลี้ยงของ<br />

117<br />

ชิงเฮา<br />

พิทักษ อินธิมา และคณะ<br />

หนา


ง<br />

สารบัญ<br />

การศึกษาการผลิตหัวพันธุขมิ้นเชิงพาณิชย<br />

121<br />

พฤกษ คงสวัสดิ์<br />

และคณะ<br />

ผลการพรางแสงที่มีตอการเจริญเติบโต<br />

ผลผลิต และปริมาณสารสําคัญของฟาทะลายโจร 125<br />

จรัญ ดิษฐไชยวงศ และคณะ<br />

อิทธิพลของระบบการปลูกไพลแซมในแปลงปลูกปาลมน้ํามันและยางพาราและ<br />

ระยะ 129<br />

ปลูกที่มีตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของไพล<br />

กิตติพงศ ตรีตรุยานนท และคณะ<br />

การลดความชื้นเมล็ดพันธุขาวโพดหวานลูกผสมหลังการเคลือบตอคุณภาพและอายุการ<br />

133<br />

เก็บรักษา<br />

ธีระศักดิ์<br />

สาขามุละ และคณะ<br />

การประเมินคุณภาพเมล็ดพันธุขาวโพดหวานที่แตกตางกันโดยวิธีการเรงอายุ<br />

137<br />

วิทวัส ธีรธิติ และคณะ<br />

3. ภาคบรรยายสาขาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว<br />

<strong>ผลของ</strong>วัสดุหอหุมหรือสารเคลือบผิวตอการสูญเสียคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผลสม<br />

141<br />

พันธุสายน้ําผึ้งระหวางการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ<br />

25 องศาเซลเซียส<br />

วิลาวัลย คําปวน และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>บรรจุภัณฑในสภาพบรรยากาศดัดแปลงตอคุณภาพผลแกวมังกร (Hylocereus 145<br />

undatus) ในระหวางการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ํา<br />

วรเศรษฐ ไตรสีห และคณะ<br />

4. ภาคบรรยายสาขาไมดอก/ไมประดับ<br />

การปลูกและเลี้ยงเอื้องแซะหอมเพื่อการอนุรักษและผลิตเปนน้ําหอม<br />

149<br />

นันทฤทธิ์<br />

โชคถาวร และคณะ<br />

การขยายพันธุกลวยไมสกุลแวนดาโดยการเลี้ยงเนื้อเยื่อในระบบ<br />

TIB 1<strong>53</strong><br />

ยุพิน กสินเกษมพงษ และคณะ<br />

หนา


จ<br />

สารบัญ<br />

การใช Polymerase Chain Reaction ในการตรวจเชื้อรา<br />

Pseudocercospora<br />

157<br />

dendrobii สาเหตุโรคใบปนเหลืองของกลวยไมสกุลหวาย<br />

จิรภา อิ่มประสิทธิชัย<br />

และคณะ<br />

การใชมวนเพชฌฆาต Sycanus sp. (Hemiptera: Reduviidae) ควบคุมหนอนเจาะสมอ 161<br />

ฝาย Helicoverpa armigera (Hubner) (Lepidoptera: Noctuidae) ในดอกดาวเรือง<br />

ยุวรัตน บุญเกษม และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>แสงสีที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของแกลดิโอลัสในสภาพปลอดเชื้อ<br />

165<br />

อัญชลี จาละ<br />

<strong>ผลของ</strong>วุนวานหางจระเขตอการเพิ่มจํานวน<br />

protocorm-like bodies ของกลวยไมสกุล 169<br />

หวายในสภาพปลอดเชื้อ<br />

วรรณิดา แซตั้ง<br />

และคณะ<br />

5. ภาคบรรยายสาขานวัตกรรมทางพืชสวนและการแปรรูป<br />

ศึกษาแนวทางการนําเหงามันสําปะหลังมาใชเปนเชื้อเพลิงชีวมวลในเตาเผาแบบไซโคลน<br />

173<br />

สําหรับการลดความชื้นผลิตผลเกษตร<br />

พุทธธินันทร จารุวัฒน และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>การลวกและการแชในสารละลายออสโมติกตอคุณภาพสีของมะมวงแชอิ่มอบแหง<br />

177<br />

ชนิดหวานนอย<br />

นวคุณ ประสิทธิ์ศิลป<br />

และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>การนึ่งตอกิจกรรมตานออกซิเดชันและปริมาณสารประกอบฟนอลิคทั้งหมดของผล<br />

181<br />

มะเขือบางสายพันธุ<br />

ชนิกาญจน จันทรมาทอง และคณะ<br />

การพัฒนาผลิตภัณฑดอกโสนเชื่อมอบแหง<br />

185<br />

นิษฐกานต ประดิษฐศรีกุล และคณะ<br />

หนา


ฉ<br />

สารบัญ<br />

1. ภาคโปสเตอรสาขาไมผล/ไมยืนตน<br />

สถานภาพการผลิตและวิถีเศรษฐกิจพอเพียงในการผลิตฝรั่งของเกษตรกรในเขตอําเภอ<br />

189<br />

เมือง จ.นครสวรรค<br />

กฤษณา บุญศิริ และคณะ<br />

การศึกษาศักยภาพเบื้องตนของพันธุยางพาราที่คัดเลือกจากแปลงเกษตรกรทางภาคใต<br />

193<br />

ของประเทศไทย<br />

จรัสศรี นวลศรี และคณะ<br />

การศึกษาคาใชจายและรายไดของการปลูกปาลมน้ํามันของเกษตรกรจังหวัดสระบุรี<br />

197<br />

ชสนา หยกสหชาติ<br />

การฟนฟูสวนสมที่เริ่มทรุดโทรมในภาคเหนือโดยมีการจัดการดินปุยและศัตรูพืชอยางมี<br />

201<br />

ประสิทธิผล<br />

ประนอม ใจอาย และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>ชนิดสายเชื้ออะโกรแบคทีเรียมและอายุของเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสตอประสิทธิภาพ<br />

205<br />

การถายยีนเขาสูเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสปาลมน้ํามัน<br />

สุรีรัตน เย็นชอน และคณะ<br />

การคัดเลือกสายตนตาลโตนดพันธุดีในประเทศไทย<br />

209<br />

นรินทร พูลเพิ่ม<br />

และคณะ<br />

ลักษณะประจําพันธุของนอยหนาและนอยหนาลูกผสมพันธุ<br />

A0013 B0003 C0001 และ 213<br />

D0005<br />

เรืองศักดิ์<br />

กมขุนทด และคณะ<br />

การศึกษาขนาดของตนพันธุที่ไดจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการใหปุยที่เหมาะสมใน<br />

217<br />

การผลิตกลวยไขพันธุ<br />

“เกษตรศาสตร 2”<br />

กัลยาณี สุวิทวัส และคณะ<br />

หนา


ช<br />

สารบัญ<br />

อิทธิพลของความเขมแสงและชวงแสงที่มีตอการออกดอกของแกวมังกรสายพันธุเบอร<br />

221<br />

100 ในสภาพวันสั้น<br />

กิ่งกานท<br />

พานิชนอก และคณะ<br />

อิทธิพลของระบบการจัดการทรงพุมตนที่มีตอการเจริญเติบโตและคุณภาพของผลองุนไร<br />

225<br />

เมล็ด<br />

กิตติพงศ ตรีตรุยานนท และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>ความเขมขนของซูโครสและ adenine sulfate ตอการเพิ่มปริมาณเซลลซัสเพนชั่น<br />

229<br />

ของปาลมน้ํามัน<br />

คมกฤษณ อินเปอย<br />

และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>การไวผลตออัตราการใชน้ํา<br />

การสังเคราะหแสงและการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา<br />

233<br />

ของตนลําไยที่ปลูกในทราย<br />

ชิติ ศรีตนทิพย และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>คอลชิซีนตอการเจริญและพัฒนาของ SSE ปาลมน้ํามัน<br />

237<br />

ไซนียะ สะมาลา และคณะ<br />

ภาชนะและวัสดุเพาะกลาตาลโตนด <strong>24</strong>1<br />

ณรงค แดงเปยม<br />

และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>โพแทสเซียมที่ความเขมขนตางๆในสารละลายธาตุอาหารตอปริมาณและคุณภาพ<br />

<strong>24</strong>5<br />

ของผลผลิตมะละกอในวัสดุปลูก<br />

ธัญพิสิษฐ พวงจิก และคณะ<br />

การปลิดผลเพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิตมังคุดคุณภาพ<br />

<strong>24</strong>9<br />

ธีรวุฒิ ชุตินันทกุล และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>ระดับไนโตรเจนตอการใชน้ําและการเจริญเติบโตของสบูดําในไลซิมิเตอร<br />

2<strong>53</strong><br />

ปริญญาวดี ศรีตนทิพย และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>การตัดแตงตอการออกดอกและการติด<strong>ผลของ</strong>สมโอ 257<br />

พงษศักดิ์<br />

ยั่งยืน<br />

และคณะ<br />

หนา


ซ<br />

สารบัญ<br />

<strong>ผลของ</strong>ระยะเวลา ระยะดอกและระดับน้ําตาลตอเปอรเซ็นตการงอกของละอองเกสรของ<br />

261<br />

สับปะรดพันธุปตตาเวีย<br />

รุงนภา<br />

ชางเจรจา<br />

<strong>ผลของ</strong>ตนตอตางพันธุตอปริมาณจุลธาตุของกานใบในองุนพันธุ<br />

Chenin Blanc ปลูกใน 265<br />

ดินที่เกิดจากหินปูน<br />

จิระนิล แจมเกิด และคณะ<br />

ระบบการผลิตนอยหนาลูกผสมพันธุเพชรปากชองในจังหวัดนครราชสีมาและสระบุรี<br />

269<br />

เรืองศักดิ์<br />

กมขุนทด และคณะ<br />

การใชปุยยางพาราของเกษตรกรในจังหวัดชุมพร<br />

สุราษฎรธานี และนครศรีธรรมราช 273<br />

สายใจ สุชาติกูล และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>ระดับความชื้นดินตอการเจริญเติบโตของสมเกลี้ยงที่เชื่อมตอบนสมตนตอบาง<br />

277<br />

ชนิด<br />

สันติ ชางเจรจา และคณะ<br />

การประเมินคาปริมาณคลอโรฟลล ไนโตรเจน และ แมกนีเซียมอยางรวดเร็วในใบสมโอ 281<br />

โดยใชเครื่อง<br />

SPAD Chlorophyll Meter<br />

กาญจนา กัณหา และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>ไคตินและไคโตซานตอการเจริญของเชื้อรา<br />

Phytophthora parasitica 285<br />

อุไรวรรณ ขุนจันทร และคณะ<br />

การพนไคโตซานกอนการเก็บเกี่ยวตอการชักนําไคติเนสและเบตา-1,3-กลูคาเนส<br />

ในผล 289<br />

หมอนพันธุ<br />

'เชียงใหม'<br />

อุไรวรรณ ขุนจันทร และคณะ<br />

ประสิทธิภาพของสารสกัดของพืชวงศสม 3 ชนิดในการควบคุมการเจริญเติบโตของเชื้อ<br />

293<br />

Escherichia coli<br />

อรพิน เกิดชูชื่นและคณะ<br />

หนา


ฌ<br />

สารบัญ<br />

ประสิทธิภาพของน้ํามันหอมระเหยทีทรีในการยับยั้งจุลินทรียกอโรคในพืชในระดับ<br />

297<br />

หองปฏิบัติการ<br />

เฉลิมเกียรติ รุงนภากุล<br />

และคณะ<br />

การใชเทคนิคพีซีอารเพื่อการตรวจสอบและแยกความแตกตางของเชื้อราสาเหตุโรคแอน<br />

301<br />

แทรคโนสที่แยกจากสวนมะมวงน้ําดอกไมสีทองของอําเภอพราว<br />

จังหวัดเชียงใหม<br />

ปริญญา จันทรศรี และคณะ<br />

การศึกษาเบื้องตนในการแยกโปรโตพลาสตจากเซลลซัสเพนชั่นปาลมน้ํามัน<br />

305<br />

พันธุเทเนอรา<br />

สกุลรัตน สุวรรณโณ และคณะ<br />

ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการถายยีนเขาสูเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสของปาลมน้ํามัน<br />

โดย 309<br />

ใชเครื่องยิงอนุภาค<br />

สุนทรียา กาละวงศ และคณะ<br />

ปจจัยทางชีวภาพที่มีผลตอการสรางโซมาติกเอ็มบริโอชุดที่สองและการพัฒนาเปนพืชตน<br />

313<br />

ใหมของคูผสมปาลมน้ํามัน<br />

สกุลรัตน แสนปุตะวงษ และคณะ<br />

การศึกษาความสัมพันธทางพันธุกรรมของพืชสกุล Mangifera พื้นเมืองในภาคใต<br />

โดยใช 317<br />

เครื่องหมายอารเอพีดี<br />

ศรินทร แกนแกว และคณะ<br />

อิทธิพลของซีเลเนียมและอลูมิเนียมตอการเจริญเติบโตและปริมาณสาร catechins และ 321<br />

อนุพันธในชาอัสสัม<br />

อรพิน เกิดชูชื่น<br />

และคณะ<br />

ความสัมพันธระหวางอายุเก็บเกี่ยวกับการเกิดอาการเนื้อขาวสารของสมโอพันธุทองดีและ<br />

325<br />

ขาวน้ําผึ้ง<br />

โสฬส ธรรมรัตน และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>วัสดุหอผลตอคุณภาพของผลสมพันธุสายน้ําผื้ง<br />

329<br />

สุมิตร วิลัยพร และคณะ<br />

หนา


ญ<br />

สารบัญ<br />

<strong>ผลของ</strong>ชวงเวลาและความเขมขนสาร GA3 ตอปริมาณและคุณภาพผลผลิตองุนพันธุ<br />

333<br />

Beauty Seedless<br />

สุรศักดิ์<br />

นิลนนท และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>วัสดุหอและระยะการหอตอคุณภาพของผลชมพูพันธุเพชรสายรุง<br />

337<br />

ศิริวรรณ แดงฉ่ํา<br />

และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>คารบอนไดออกไซดตออัตราการเจริญเติบโตของตนกลากาแฟโรบัสตาในเรือน 341<br />

เพาะชํา<br />

ประภาพร ฉันทานุมัติ และคณะ<br />

ชนิดและปริมาณน้ําตาลในระยะพัฒนาตางๆ<br />

ของผลมะพราวน้ําหอม<br />

345<br />

เบญจพร สมจิต และคณะ<br />

การพัฒนาวิธีการตรวจสอบคุณภาพแบบไมทําลาย<strong>ผลของ</strong>กีวีฟรุตในประเทศไทย 349<br />

ปณวัตร สิขัณฑกสมิต และคณะ<br />

2. ภาคโปสเตอรสาขาไมดอก/ไมประดับ<br />

<strong>ผลของ</strong> 2,4-D รวมกับ <strong>TDZ</strong> ตอการเพาะเลี้ยงใบกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีน<br />

ใน 3<strong>53</strong><br />

สภาพปลอดเชื้อ<br />

ปยมาศ เกิดนอย และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>โคลชิซินตออัตราการรอดชีวิตและลักษณะทางสรีรวิทยา ของกลวยไมชางแดงจาก 357<br />

(Rhynchostylis gigantea var. rubrum Sagarik) การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ<br />

ณัฐพร เกิดสุวรรณ และคณะ<br />

สูตรอาหารที่เหมาะสมตอการเติบโตและการชักนําการเกิด<br />

PLBs ของโพรโทคอรมกลวย 361<br />

ไมเขากวางออนในสภาพปลอดเชื้อ<br />

สุพัตร ฤทธิรัตน และคณะ<br />

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเจริญของกลวยไมสกุลหวายเพื่อผลิตตนพันธุกลวยไมปลอดโรค<br />

365<br />

ไวรัส<br />

ศิริวรรณ บุรีคํา<br />

หนา


ฎ<br />

สารบัญ<br />

การฟอกฆาเชื้อชิ้นสวนและการชักนําใหเกิดหัวขนาดเล็กของตนหอมน้ํา<br />

369<br />

อภิชาติ ชิดบุรี และคณะ<br />

อิทธิพลของสารออริซาลินตอเนื้อเยื่อแคลลัสซอนกลิ่นไทย<br />

373<br />

อัญชลี จาละ<br />

การถายยีนเขาสูกลวยไมชางแดงโดยใชอะโกรแบคทีเรียม<br />

377<br />

เบญจวรรณ มณี และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>ออกซินตอการติดฝกและชวยชีวิตคัพภะลูกผสมขามกลวยไมสกุลมาวิ่ง<br />

381<br />

กาญจนา รุงรัชกานนท<br />

การเปรียบเทียบความมีชีวิตและการงอกของละอองเรณูปทุมมาลูกผสมดิพลอยดและ 385<br />

เททระพลอยด<br />

มะลิวรรณ จุรุทา และคณะ<br />

การคัดเลือกตนกลวยไมมาวิ่ง<br />

tetraploid ดวยวิธีการหาสหสัมพันธระหวางลักษณะ 389<br />

กายภาพ<br />

กาญจนา รุงรัชกานนท<br />

และคณะ<br />

ลักษณะของปากใบของกลวยไมสกุลชาง 393<br />

เพียงพิมพ ชิดบุรี และคณะ<br />

การประเมินความความสัมพันธทางพันธุกรรมของกลวยไมมาวิ่งโดยใชเทคนิค<br />

397<br />

เอเอฟแอลพี<br />

สุรีพร เกตุงาม<br />

การชักนําการออกดอกกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีนสําหรับผลิตเปนไมกระถาง 401<br />

ชมภู จันที และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>วัสดุปลูกตอการเจริญเติบโตและออกดอกของพิทูเนียในระบบ Substrate Culture 405<br />

เยาวพา จิระเกียรติกุล และคณะ<br />

การศึกษาลักษณะและการเจริญเติบโตของบัวหลวงที่เก็บจากแหลงน้ําธรรมชาติใน<br />

409<br />

จังหวัดอุบลราชธานี<br />

ศรีประไพ ธรรมแสง และคณะ<br />

หนา


ฏ<br />

สารบัญ<br />

<strong>ผลของ</strong>จิบเบอเรลลิค เอซิด ตอการเจริญเติบโตและการออกดอกของซอนกลิ่น<br />

413<br />

รุงนภา<br />

ชางเจรจา<br />

อิทธิพลของวันปลูกและระดับปุยเคมีตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของอังกาบดอย<br />

417<br />

วิรัชญา จารุจารีต<br />

การขยายพันธุไผเลี้ยงโดยวิธีการปกชําสวนตางๆ<br />

ของลําตนที่อายุตางกัน<br />

421<br />

ธัญพิสิษฐ พวงจิก และคณะ<br />

เชื้อราสาเหตุโรคในดอกบัวหลังการเก็บเกี่ยว<br />

425<br />

สุวรินทร บํารุงสุข และคณะ<br />

การสํารวจหมอขาวหมอแกงลิงในตลาดจําหนายพันธุไมดอกไมประดับของประเทศไทย<br />

429<br />

พนม สุทธิศักดิ์โสภณ<br />

และคณะ<br />

การสํารวจพืชกินแมลงที่จําหนายเปนการคาในประเทศไทย<br />

433<br />

พนม สุทธิศักดิ์โสภณ<br />

และคณะ<br />

3. ภาคโปสเตอรสาขาพืชผัก/สมุนไพร<br />

การประเมินผลผลิตและองคประกอบของผลผลิตพันธุพริกพื้นเมืองจังหวัดตาก<br />

437<br />

ชัยวัฒน พงศสุขุมาลกุล และคณะ<br />

ลักษณะประจําพันธุ<br />

พริกพันธุปรับปรุงของมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

จํานวน 7 พันธุ<br />

441<br />

พัชราภรณ สุวอ และคณะ<br />

ปรับปรุงพันธุมะเขือเทศชนิดรับประทานสด<br />

445<br />

จตุรงค พวงมณี และคณะ<br />

ความแปรปรวนของผลผลิตและลักษณะบางประการของถั่วฝกยาวลูกผสมชั่วที่<br />

1 449<br />

สมภพ ฐิตะวสันต และคณะ<br />

การทํางานของยีนของผลผลิตและองคประกอบผลผลิตถั่วฝกยาว<br />

4<strong>53</strong><br />

สมภพ ฐิตะวสันต และคณะ<br />

หนา


ฐ<br />

สารบัญ<br />

ความแปรปรวนทางพันธุกรรมและความกาวหนาในการคัดเลือกลักษณะทางพืชสวนของ 457<br />

ประชากรมะระขี้นกพันธุพื้นเมือง<br />

ปราโมทย พรสุริยา และคณะ<br />

ประเมินลักษณะบางประการของผักเชียงดา 30 สายตน 461<br />

พิทักษ พุทธวรชัย และคณะ<br />

เปรียบเทียบผลผลิตและสารตานอนุมูลอิสระในผักเชียงดา 6 สายพันธุ<br />

465<br />

นภา ขันสุภา และคณะ<br />

การชักนําใหเกิดตนหนอไมฝรั่งที่มีชุดโครโมโซม<br />

1n โดยการเพาะเลี ้ยงอับเรณู 469<br />

ศิริวรรณ บุรีคํา<br />

การชักนําใหเกิดโพลีพลอยดในหอมแบงโดยใชสารโคลซิซิน 473<br />

จุฑามาศ ศุภพันธ และคณะ<br />

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชสกุล Cinnamomum ในภาคใตโดยใช 477<br />

เทคนิคอารเอพีดี<br />

จิตรา จันโสด และคณะ<br />

การเกิดสัณฐานของวานหางจระเข (Aloe barbadensis) จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อใน<br />

481<br />

อาหารสังเคราะห<br />

ศิวพงศ จํารัสพันธุ<br />

เอกลักษณของเมล็ดพันธุแตงกวาจากการเคลือบดวยดีเอ็นเอ<br />

485<br />

พจนา สีขาว และคณะ<br />

ประสิทธิภาพของชันโรง Trigona pegdeni ในการผสมเกสรแตงกวาพันธุลูกผสม<br />

489<br />

นพพล โพธิ์ศรี<br />

และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>การเคลือบเมล็ดดวยสารปองกันโรคและแมลงตอคุณภาพและอายุการเก็บรักษา 493<br />

เมล็ดพันธุแตงกวาลูกผสม<br />

บุญมี ศิริ และคณะ<br />

คุณภาพและอายุการเก็บรักษาเมล็ดพันธุแตงกวาที่เคลือบดวยสารเคมีบางชนิด<br />

497<br />

สิริรัตน ภาคสวรรค และคณะ<br />

หนา


ฑ<br />

สารบัญ<br />

ระยะเวลาพรางแสงและระยะสุกแกทางสรีรวิทยาตอคุณภาพเมล็ดพันธุมะเขือเทศที่ผลิต<br />

501<br />

ภายใตสภาพโรงเรือน<br />

วาจี สอนลาด และคณะ<br />

การจัดการอัตราการปลูก และการตัดแตง สําหรับผลผลิต และเมล็ดพันธุมะเขือเทศ<br />

505<br />

ภายใตสภาพการผลิตในโรงเรือนพลาสติก<br />

สุมาลี จันทรหาร และ<br />

การพัฒนาและการสุกแกของเมล็ดพันธุมะเขือเปราะ<br />

509<br />

ศานิต สวัสดิกาญจน และคณะ<br />

คุณภาพฝกและเมล็ดพันธุของถั่วฝกยาวที่เก็บเกี่ยวอายุตางกัน<br />

513<br />

ศานิต สวัสดิกาญจน และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>สาร IBA น้ําสมควันไมและกะปตอการปกชําไผกิมซุง<br />

517<br />

ธัญพิสิษฐ พวงจิก และคณะ<br />

การขยายพันธุไผหมาจูและไผลุยจู<br />

โดยการตัดชําลํา 521<br />

จรัล เห็นพิทักษ<br />

ลักษณะสัณฐานวิทยาของลําไผอายุ 2 ปของไผ 6 ชนิดที่ปลูก<br />

ณ สถานีวิจัยกาญจนบุรี 525<br />

จรัล เห็นพิทักษ<br />

การสงเสริมการผลิตผักปลอดภัยอยางมีสวนรวมของกลุมเกษตรกร<br />

ตําบลแมแฝก อําเภอ 529<br />

สันทราย จังหวัดเชียงใหม<br />

ชินกฤต สุวรรณคีรี และคณะ<br />

ศักยภาพในการผลิตผักพื้นบานเชิงพาณิชย<br />

<strong>53</strong>3<br />

กุหลาบ อุตสุข และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>การแชน้ํารอนตอความงอกและการเจริญเติบโตของตนกลาผักบุงจีน<br />

(Ipomoea <strong>53</strong>7<br />

aquatica)<br />

ภาณุมาศ ฤทธิไชย และคณะ<br />

หนา


ฒ<br />

สารบัญ<br />

<strong>ผลของ</strong>แหลงน้ําธรรมชาติและวันปลูกตอการเจริญเติบโตและฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระของ<br />

541<br />

ผักบุง<br />

พรพรรณ สุรการพินิจ และคณะ<br />

การปลูกเลี้ยงผักกูดดวยระบบไฮโดรโพนิก<br />

545<br />

ประทุมพร ยิ่งธงชัย<br />

และคณะ<br />

วัสดุปลูกที่มีตอการเจริญเติบโตของมันขี้หนูในระบบการปลูกโดยไมใชดินแบบวัสดุปลูก<br />

549<br />

มนูญ ศิรินุพงศ<br />

สารเสริมประสิทธิภาพ และ Trichoderma hazzianum CB-Pin-01 รวมกับสารละลาย 5<strong>53</strong><br />

ธาตุอาหารที่ใชแลวในระบบไฮโดรโปนิกสตอการสะสมธาตุอาหารของคะนาเห็ดหอมและ<br />

ผักกาดหอมคอส<br />

มาโนชญ ศรีสมบัติ และคณะ<br />

การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพริกผลใหญดวยกระบวนการการจัดการธาตุ<br />

557<br />

อาหารพืช<br />

สิทธิชัย ลอดแกว และคณะ<br />

การศึกษาวัสดุที่เหมาะสมสําหรับแทงเพาะกลามะเขือเทศโดยไมใชดิน<br />

561<br />

เอกนรินทร เรืองรักษ และคณะ<br />

ชนิดของพืชพื้นบานที่เหมาะสมในการผลิตผักไมโครกรีน<br />

565<br />

อุดมลักษณ มัจฉาชีพ และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>ไซโทไคนินและขนาดเมล็ดถั่วเขียวผิวดําตอคุณภาพและผลผลิตถั่วงอก<br />

569<br />

อารดา มาสริ และคณะ<br />

ความแปรปรวนในดานความกาวราวของเชื้อแบคทีเรีย<br />

Ralstonia solanacearum ที่แยก<br />

573<br />

มาจากพริก<br />

ชลิดา เล็กสมบูรณ และคณะ<br />

ฤทธิ์ของสารสกัดหยาบจากพืชวงศผักชี<br />

3 ชนิดในการยับยั้งเชื้อรา<br />

Botrytis cinerea 577<br />

ศิริรัตน ศิริพรวิศาล และคณะ<br />

หนา


ณ<br />

สารบัญ<br />

Bacillus subtilis BCB3-19: การผลิตกรด indole-3-acetic และการกระตุนการการเจริญ<br />

581<br />

ของมะเขือเทศ<br />

ศิริรัตน ศิริพรวิศาล แลคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>ปจจัยการเจริญของเชื้อแอคติโนมัยซีสที่อยูรอบราก<br />

และภายในตนพริกและมะเขือ 585<br />

เทศตอการควบคุมเชื้อ<br />

Colletotrichum sp. และ Pythium sp.<br />

วรัญญา กันฑาทรัพย และคณะ<br />

การปองกันโรคเหี่ยว<br />

Fusarium ของพริกและมะเขือเทศ โดยการใชเชื้อเอนโดไฟทติก<br />

589<br />

แอคติโนมัยซีสและเชื้อรา<br />

Trichoderma harzianum<br />

ณัฐสุดา บรรเลงสวรรค และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>การใชความรอนตอดินเพี่อควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียในดิน<br />

593<br />

จิรศักดิ์<br />

คงเกียรติขจร และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>สารสกัดดวยตัวทําละลายอินทรียจากใบเลี่ยนตอการงอกและ<br />

597<br />

การเจริญเติบโตของพืชทดสอบ<br />

วิรัตน ภูวิวัฒน และคณะ<br />

ประสิทธิภาพของสารธรรมชาติกําจัดวัชพืชจากพุทธชาดกานแดงตอการยับยั้งการงอก<br />

601<br />

และการเจริญเติบโตของพืชทดสอบ<br />

จันทณี สนธิ และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>สารสกัดจากพืชวงศขิงบางชนิดตอการยับยั้งการเจริญของเชื้อ<br />

Fusarium sp. เชื้อ<br />

605<br />

สาเหตุโรคเมล็ดดางของขาว<br />

ศานิต สวัสดิกาญจน และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>สารสกัดจากพืชบางชนิดตอการยับยั้งการเจริญเติบโตของหญาหนวด<br />

609<br />

ปลาดุก<br />

ศานิต สวัสดิกาญจน และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>สารสกัดจากพืชบางชนิดตอการยับยั้งการเจริญเติบโตของหญาขน<br />

613<br />

ศานิต สวัสดิกาญจน และคณะ<br />

หนา


ด<br />

สารบัญ<br />

<strong>ผลของ</strong>สารสกัดจากพืชบางชนิดตอการยับยั้งการเจริญเติบโตของคะนาที่อายุตางกัน<br />

617<br />

ศานิต สวัสดิกาญจน และคณะ<br />

ประสิทธิภาพของแมลงหางหนีบสีน้ําตาลและแตนเบียนไข<br />

Trichogramma sp. ในการ 621<br />

ควบคุมหนอนเจาะลําตนขาวโพด<br />

จิรวัฒน จันทาสีกา และคณะ<br />

ประสิทธิภาพสารสกัดยูคาลิปตัส (Eucalyptus camaldulensis Dehnh) ในการควบคุม 625<br />

หนอนใยผัก (Plutella xylostella L.)<br />

สาโรช เจริญศักดิ์<br />

และคณะ<br />

ประสิทธิภาพสารสกัดยูคาลิปตัส (Eucalyptus camaldulensis Dehnh) ในการควบคุม 629<br />

หนอนกระทูผัก<br />

(Spodoptera litura F.)<br />

จรงคศักดิ์<br />

พุมนวน และคณะ<br />

ประสิทธิภาพการไลของน้ํามันหอมระเหยจากพืชตอไรดีด<br />

(Formicomotes<br />

633<br />

heteromorphus Magowski) และไรไขปลา (Luciaphorus perniciosus Rack)<br />

จรงคศักดิ์<br />

พุมนวน และคณะ<br />

เทคโนโลยีการผลิตพืชสมุนไพรที่มีศักยภาพในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน<br />

637<br />

ประนอม ใจอาย และคณะ<br />

ลักษณะทางพฤกษศาสตรบางประการของมะรุมน้ํามันอินเดีย<br />

641<br />

สัณห ละอองศรี<br />

คุณภาพลูกประคบในทองตลาด 645<br />

แสงมณี ชิงดวง และคณะ<br />

วิธีการผลิตลูกประคบคุณภาพ 649<br />

สุวรินทร บํารุงสุข และคณะ<br />

ประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อจุลินทรียบางชนิดของสารสกัดจากหมากนวล<br />

6<strong>53</strong><br />

นัยนา ตางใจ และคณะ<br />

หนา


ต<br />

สารบัญ<br />

ความสามารถในการตานปฏิกิริยาออกซิเดชันและปริมาณสารประกอบฟนอลของสาร 657<br />

สกัดจากใบพิกุล<br />

อัชราภรณ บุญแคลว และคณะ<br />

ความสามารถในการเปนสารตานปฏิกิริยาออกซิเดชันและปริมาณสารประกอบฟนอลิค 661<br />

ทั้งหมดของสารสกัดจากใบชะพลู<br />

ศุภลักษณ ลิมปนวิสุทธิ์<br />

และคณะ<br />

ศึกษาการใชกากหมอกรองของโรงงานผลิตน้ําตาลทรายเพาะเห็ดนางฟาภูฏาน<br />

665<br />

เรวัตร จินดาเจี่ย<br />

และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>น้ํามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรตอการเจริญของเชื้อเห็ดขอนขาว<br />

(Lentinus 669<br />

squarrosulus Le’v.) และฮังการี ( Pleurotus ostreatus. (Jacq.Fr.) Kummer)<br />

ชัชฎา ยังนิตย และคณะ<br />

ประสิทธิภาพของแมลงชางปกใส Mallada basalis ในการควบคุมเพลี้ยไฟและเพลี้ยออน<br />

673<br />

ในผักวงศสลัดและวงศกะหล่ํา<br />

นุชรีย ศิริ และคณะ<br />

การเปลี่ยนแปลงอาการสะทานหนาวในผลแตงกวาที่ไดรับอุณหภูมิต่ําแลวนํามาวางไวที่<br />

677<br />

อุณหภูมิหอง<br />

จารุณี จูงกลาง และคณะ<br />

4. ภาคโปสเตอรสาขาพืชสวนอินทรีย<br />

การประเมินธาตุอาหารที่ติดไปกับชอผลสละเนินวง<br />

(Salacca sp.) เมื่อปลูกดวยระบบ<br />

681<br />

เกษตรอินทรียในอําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อเปนแนวทางในการใสปุย<br />

นพมาศ นามแดง และคณะ<br />

ประเมินการเขาทําลายของแมลงในถั่วฝกยาวและถั่วพุมภายใตระบบเกษตรอินทรีย<br />

685<br />

สรพงค เบญจศรี และคณะ<br />

ประสิทธิภาพของน้ําลางหัวกลอยในการกําจัดเพลี้ยออนถั่ว<br />

(Aphis craccivora (Koch)) 689<br />

สุกัญญา คลังสินศิริกุล และคณะ<br />

หนา


ถ<br />

สารบัญ<br />

การบริหารแมลงศัตรูสมเกลี้ยงดวยภูมิปญญาทองถิ่น<br />

693<br />

อรุณ โสตถิกุล และคณะ<br />

การทํา Seed priming ดวยเชื้อรา<br />

Trichoderma spp. ตอการงอกและการเจริญเติบโต 697<br />

ของตนกลาถั่วฝกยาว<br />

อรรถกร พรมวี และคณะ<br />

สมบัติของน้ําหมักชีวภาพจากเศษปลาที่ใชน้ํากากสาเหลาทดแทนกากน้ําตาล<br />

701<br />

วีณารัตน มูลรัตน และคณะ<br />

5. ภาคโปสเตอรสาขาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว<br />

<strong>ผลของ</strong>การจุมน้ํารอนตอการสุกของมะมวงพันธุน้ําดอกไมเบอร<br />

4 ที่ฉายรังสีแกมมา<br />

705<br />

อภิรดี อุทัยรัตนกิจ และคณะ<br />

การเปลี่ยนแปลงของกิจกรรมของเพ็กเตทไลเอส,<br />

ไซแลเนส และเซลลูเลส ในผลมังคุดเนื้อ<br />

709<br />

ปกติและเนื้อแกวที่ระยะการพัฒนาของสีผิวเปลือกตางกัน<br />

หทัยวรรณ ศิริสุขชัยถาวร และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>วัสดุหอผล ตอการควบคุมโรค และคุณภาพ ของผลมะมวงมหาชนก กอน และหลัง 713<br />

การเก็บเกี่ยว<br />

ศิริศักดิ์<br />

บุตรกระจาง และคณะ<br />

การยืดอายุการเก็บรักษาสมโอตัดแตงพรอมบริโภคดวยการใชโอโซน 717<br />

สุเทพ นิยมญาติ และคณะ<br />

ประสิทธิภาพของการเคลือบผิวในการยืดอายุการเก็บรักษาผลสมเกลี้ยง<br />

(Citrus 721<br />

sinensis (L.) Osbeck)<br />

ศิริศักดิ์<br />

บุตรกระจาง และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>บรรจุภัณฑตอคุณภาพการเก็บรักษาเงาะพันธุโรงเรียน<br />

725<br />

ศิรกานต ศรีธัญรัตน และคณะ<br />

ผลกระทบของรังสีแกมมาตอคุณภาพของมะมวงพันธุน้ําดอกไมเบอรสี่ในระหวางการ<br />

729<br />

ขนสงและวางจําหนาย<br />

ผองเพ็ญ จิตอารียรัตน และคณะ<br />

หนา


ท<br />

สารบัญ<br />

การเรงการสุกของผลเสาวรส 733<br />

ธนะชัย พันธเกษมสุข และคณะ<br />

การพัฒนาสีของผลมะมวงน้ําดอกไมที่ฉายรังสีระหวางการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ํา<br />

737<br />

เฉลิมชัย วงษอารี และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>อุณหภูมิตออายุการเก็บรักษาของดอกชมจันทร 741<br />

จิตตา สาตรเพ็ชร และคณะ<br />

การควบคุมโรคแอนแทรกโนสของเมล็ดพันธุพริกหวานโดย<br />

Sodium carbonate และ 745<br />

Potassium carbonate<br />

ผองเพ็ญ จิตอารียรัตน และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>บรรจุภัณฑแอคทีฟตอคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของบรอคโคลี่<br />

749<br />

ปนอนงค<br />

จอมศักดิ์<br />

และคณะ<br />

คุณภาพผักกาดหอมหอพรอมบริโภคที่บรรจุในบรรจุภัณฑแอคทีฟ<br />

7<strong>53</strong><br />

ดาวรุง<br />

จันทา และคณะ<br />

วิธีการเก็บรักษาฟาทะลายโจรหลังการเก็บเกี่ยว<br />

757<br />

แสงมณี ชิงดวง และคณะ<br />

การใชน้ํามันหอมระเหยอบเชย<br />

กานพลู ตะไครหอม และมะกรูดในการยับยั้งการเจริญ<br />

761<br />

ของเชื้อรา<br />

8 ชนิด<br />

อรพิน เกิดชูชื่น<br />

และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>การใหความรอนดวยวิธีการตม นึ่ง<br />

และใชไมโครเวฟ ตอกิจกรรมตานออกซิเดชัน 765<br />

และปริมาณสารประกอบฟนอลิคทั้งหมดของผลมะเขือบางสายพันธุ<br />

อธิวัฒน ชุมแยม<br />

และคณะ<br />

การประเมินคุณภาพขมิ้นชันภายใตภาวะการควบคุมอุณหภูมิเก็บรักษา<br />

769<br />

แสงมณี ชิงดวง และคณะ<br />

<strong>ผลของ</strong>ระยะเวลาในการลดอุณหภูมิตอคุณภาพและอายุการเก็บรักษาขาวโพดฝกออน 773<br />

หั่นสด<br />

สมชาย กลาหาญ และคณะ<br />

หนา


ธ<br />

สารบัญ<br />

ผลยับยั้งของปฏิกิริยาเคมีที่ใชแสงเปนตัวเรงของไททาเนียมไดออกไซดรวมกับโอโซน<br />

ตอ 777<br />

การควบคุม โรคแอนแทรคโนสในพริกขี้หนูหลังการเก็บเกี่ยว<br />

ภัทราภรณ ชุติดํารง และคณะ<br />

6. ภาคโปสเตอรสาขานวัตกรรมทางพืชสวนและการแปรรูป<br />

<strong>ผลของ</strong>การเตรียมเนื้อฝรั่งกอนการคั้นตอปริมาณวิตามินซีและฤทธิ์การตานอนุมูลอิสระ<br />

781<br />

ของน้ําฝรั่งพาสเจอรไลส<br />

นักสิทธิ์<br />

ปญโญใหญ<br />

<strong>ผลของ</strong>บรรจุภัณฑตออายุการเก็บรักษาเนื้อทุเรียนพรอมบริโภค<br />

785<br />

ปรางคทอง กวานหอง และคณะ<br />

การตรวจวิเคราะหปริมาณสารประกอบเอมีนในผลิตภัณฑผักดอง 789<br />

จารุวรรณ ธนพฤฒิวงศ และคณะ<br />

การยอมรับชาบัวบกของผูบริโภค<br />

793<br />

แสงมณี ชิงดวง และคณะ<br />

ดัชนีชื่อผูแตง<br />

797<br />

ดัชนีคําสําคัญ 804<br />

หนา


Agricultural Sci.J. 41(2) (Suppl.) : 3<strong>53</strong>-356 (2010) ว.วิทย.กษ. 41(2) (พิเศษ) : 3<strong>53</strong>-356 (25<strong>53</strong>)<br />

<strong>ผลของ</strong> 2,4-D รวมกับ <strong>TDZ</strong> ตอการเพาะเลี้ยงใบกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีนในสภาพปลอดเชื้อ<br />

Effect of 2,4-D and <strong>TDZ</strong> on in vitro leaf culture of Paphiopedilum concolor.<br />

ปยมาศ เกิดนอย 1 , สุเม อรัญนารถ 1 และ กัญจนา แซเตียว 1<br />

Piyamas Kerdnoi 1 , Sumay Arunyanart 1 and Kanjana Saetiew 1<br />

Abstract<br />

In vitro leaf culture of Paphiopedilum concolor was studied. Leaves from aseptic culture<br />

were cultured on Murashige and Skoog (1962) (MS) medium supplemented with 0, 1, 2 and 3 mg/l<br />

2,4-D and 0, 0.1, 0.2, 0.4 and 1 mg/l <strong>TDZ</strong> for 20 weeks. The 4x5 factorial in randomized<br />

complete block design was used. It was found that MS medium with 0.4 mg/l <strong>TDZ</strong> gave the best<br />

shoot formation and the highest shoot number was 0.40 shoots per explant. MS medium with<br />

3 mg/l 2,4-D and 0.1 mg/l <strong>TDZ</strong> gave the highest average score of explant growth which was 1.97<br />

and the highest percentage of shoot regeneration which was 13.33 percent. Shoot and callus did<br />

not develop when explants cultured on medium with 2 mg/l 2,4-D and 0 and 0.1 mg/l <strong>TDZ</strong> and<br />

3mg/l 2,4-D and 0.2 mg/l <strong>TDZ</strong>.<br />

Keywords ; 2,4-D, <strong>TDZ</strong>, Paphiopedilum concolor<br />

บทคัดยอ<br />

การศึกษาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีนในสภาพปลอดเชื้อ<br />

โดยการนําเอาใบจาก<br />

สภาพปลอดเชื้อ<br />

ไปเพาะเลี้ยงในอาหารสูตร<br />

Murashige and Skoog (1962) (MS) ที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 0, 1, 2<br />

และ 3 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> เขมขน 0, 0.1, 0.2, 0.4 และ 1 mg/l โดยวางแผนการทดลองแบบ 4x5 factorial in<br />

randomized complete block design เปนเวลา 20 สัปดาห พบวา อาหารสูตร MS ที่เติม<br />

<strong>TDZ</strong> เขมขน<br />

0.4 mg/l ชิ้นสวนมีการพัฒนาเปนยอดไดดีที่สุด<br />

และมีจํานวนยอดเฉลี่ยสูงที่สุดคือ<br />

0.40 ยอดตอชิ้นสวน<br />

อาหารสูตร<br />

MS ที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 3 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> 0.1 mg/l ชิ้นสวนมีคะแนนการเจริญเติบโตเฉลี่ยสูงที่สุดคือ<br />

1.97 คะแนน และมีเปอรเซ็นตการเกิดยอดสูงที่สุดคือ<br />

13.33 เปอรเซ็นต สวนอาหารที่ไมมีสารควบคุมการเจริญเติบโต<br />

ของพืช อาหารที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 2 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> เขมขน 0 และ 0.1 mg/l และอาหารที่เติม<br />

2,4-D<br />

เขมขน 3 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> เขมขน 0.2 mg/l ไมสามารถทําใหชิ้นสวนพัฒนาไปเปนยอดหรือแคลลัสได<br />

คําสําคัญ ; 2,4-D, <strong>TDZ</strong>, Paphiopedilum concolor<br />

คํานํา<br />

กลวยไมรองเทานารี (Lady’s Slipper) มี 5 สกุล 137 ชนิด สําหรับประเทศไทยพบกลวยไมรองเทานารีพันธุ<br />

พื้นเมืองเพียงสกุลเดียว<br />

คือ Paphiopedilum (อุไร, 2541) ซึ่งดอกมีลักษณะสวยงามแปลกตามีกลีบงุมงอเปนกระเปา<br />

คลายรูปรองเทาแตะของผูหญิง<br />

ดอกบานทนทาน และมีราคาที่ดีกวากลวยไมสกุลอื่นๆ<br />

(ระพี , 2<strong>53</strong>5) ปจจุบันการ<br />

เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อการขยายพันธุกลวยไมรองเทานารี<br />

โดยปกตินิยมทําโดยการเพาะเมล็ด ซึ่งทําใหตนกลวยไมในรุน<br />

ตอมามีความแปรปรวนทางพันธุกรรมเกิดขึ้นได<br />

ดังนั้นการขยายพันธุแบบไมอาศัยเพศสามารถชวยลดปญหาดังกลาวได<br />

(ดวงพร, 2544) จากปญหาดังกลาวเปนสาเหตุใหเกิดการศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมสําหรับการชักนําใหเกิดยอดของ<br />

ชิ้นสวนใบกลวยไมรองเทานารีในสภาพปลอดเชื้อ<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

ศึกษา<strong>ผลของ</strong> 2,4-D รวมกับ <strong>TDZ</strong> ตอการเพาะเลี้ยงใบกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีนในสภาพปลอดเชื้อ<br />

โดยใชชิ้นสวนใบของกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีนตัดเอาแตสวนโคนใบซึ่งวัดจากโคนขึ้นมาประมาณ<br />

0.5 cm. นํา<br />

ชิ้นสวนที่ตัดได<br />

มาเพาะเลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร<br />

Murashige and Skoog (1962) ซี่งเติมสารควบคุมการเจริญเติบโต<br />

คือ<br />

1 สาชาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520<br />

1 Department of Plant Production Technology , Faculty of Agricultural Technology, King Mongkut’s institute of Technology Ladkrabang, Bangkok 10520


354 ปที่<br />

41 ฉบับที่<br />

2(พิเศษ) พฤษภาคม – สิงหาคม 25<strong>53</strong> ว.วิทยาศาสตรเกษตร<br />

2,4-D เขมขน 0, 1, 2 และ 3 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> เขมขน 0, 0.1, 0.2, 0.4 และ 1 mg/l นําชิ้นสวนไปเลี้ยงในสภาพมืดที่<br />

อุณหภูมิ 25±3 องศาเซลเซียส เปนเวลา 2 เดือน หลังจากนั้นทําการใหแสงเปนเวลา<br />

12 ชั่วโมงตอวัน<br />

ทําการเปลี่ยน<br />

อาหารทุก 4 สัปดาห โดยบันทึกขอมูล คือ การเจริญเติบโตของชิ้นสวนใบกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีน<br />

โดยการให<br />

คะแนนซึ่งแบงระดับคะแนนออกเปน<br />

คะแนน 1 ชิ้นสวนเปนสีดําหรือสีเขียวไมมีการเจริญเติบโต<br />

คะแนน 2 ชิ้นสวนและ<br />

callusเปลี่ยนเปนสีน้ําตาล<br />

คะแนน 3 ชิ้นสวนเกิดhard<br />

callusสีเหลืองหรือสีขาว คะแนน 4 ชิ้นสวนเกิดhard<br />

callusสี<br />

เหลืองหรือสีขาว และเกิดยอด 1 ยอด คะแนน 5 ชิ้นสวนเกิดราก<br />

และคะแนน 6 ชิ้นสวนเกิดhard<br />

callusสีเหลืองหรือสี<br />

ขาว และเกิดยอดมากกวา 1 ยอด ความยาวและความกวางของยอด จํานวนยอด โดยวางแผนการทดลองแบบ<br />

Factorial in RCBD มี 20 treatment combinations มี 5 ซ้ําๆละ<br />

3 ชิ ้น วิเคราะหความแปรปรวนโดย ANOVA<br />

เปรียบเทียบคาเฉลี่ยดวย<br />

Dancan’s New Multiple Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่น<br />

95%<br />

ผล<br />

ศึกษา<strong>ผลของ</strong> 2,4-D รวมกับ <strong>TDZ</strong> ตอการเพาะเลี้ยงใบกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีนในสภาพปลอดเชื้อ<br />

พบวา ในสัปดาหที่<br />

8 มีการเจริญเติบโตของชิ้นสวนเพียงเล็กนอยหรือไมมีการเจริญเติบโตเลย<br />

โดยชิ้นสวนมีสีน้ําตาล<br />

เกิดขึ้นบริเวณรอยตัด<br />

ยกเวนชิ้นสวนที่เลี้ยงในอาหารที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 3 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> เขมขน 0.1 mg/l มียอดสี<br />

เขียวและรากเกิดขึ้นเพียงเล็กนอย<br />

(Fig. 1 A) ในสัปดาหที่<br />

12 อาหารสูตรดังกลาว ยอดมีการพัฒนามากขึ้นรวมทั้งมี<br />

แคลลัสเกิดขึ้น<br />

(Fig. 1B) สวนอาหารที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 1 mg/l มีการพัฒนาในสวนของยอดและแคลลัสมีสีน้ําตาลและ<br />

สีขาว ในสัปดาหที่<br />

16 อาหารที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 3 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> เขมขน 0.1 mg/l แคลลัสมีสีเหลืองลักษณะเปน<br />

hard callus สําหรับยอดที่เกิดขึ้นนั้นมีการพัฒนามากขึ้น<br />

ซึ่งยอดเปนสีเขียวและมีจํานวนใบเพิ่มขึ้น<br />

(Fig. 1C) สวน<br />

ชิ้นสวนที่เลี้ยงในอาหารที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 1 mg/l ชิ้นสวนและยอดมีสีเขียว<br />

แคลลัสมีสีเหลืองและขยายใหญขึ้นโดย<br />

แคลลัสบางชิ้นมีขนรากเกิดขึ้น<br />

ในสัปดาหที่<br />

20 อาหารที่เติม<br />

<strong>TDZ</strong> เขมขน 0.4 mg/l มีจํานวนยอดเฉลี่ยสูงสุดคือ<br />

0.40 ยอดตอชิ้นสวน<br />

มีความยาวยอดเฉลี่ย<br />

0.17 cm. โดยยอดที่เกิดขึ้นมีหลายยอดบนชิ้นสวนเดียว<br />

ซึ่งยอดที่เกิดนั้นมี<br />

สีเขียวและมีใบเกิดขึ้นอยางชัดเจนและมีแคลลัสสีน้ําตาลลักษณะเปน<br />

hard callus (Fig. 1D) สําหรับชิ้นสวนที่เลี้ยงใน<br />

อาหารที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 3 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> เขมขน 0.1 mg/l มีคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุดคือ<br />

1.97 คะแนน และมี<br />

เปอรเซ็นตการเกิดยอดสูงที่สุดคือ<br />

13.3340 เปอรเซ็นตยอดที่เกิดขึ้นนั้นมีการพัฒนามากขึ้นใบมีขนาดใหญขึ้นรวมทั้งมี<br />

ความยาวยอดเพิ่มขึ้น<br />

แคลลัสเริ่มมีสีน้ําตาลปรากฏขึ้นแทนที่สีเหลือง<br />

อาหารที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 1 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong><br />

เขมขน 0.2 mg/l มีจํานวนยอดเฉลี่ยคือ<br />

0.20 ยอด และมีความยาวยอดเฉลี่ยคือ<br />

0.18 cm. ซึ่งเปนความยาวยอดเฉลี่ย<br />

สูงสุด ชิ้นสวนที่เลี้ยงในอาหารที่ไมมีสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช<br />

พบวา ไมมีการเจริญเติบโตของชิ้นสวน<br />

เชนเดียวกับอาหารที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 2 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> เขมขน 0 และ 0.1 mg/l และอาหารที่เติม<br />

2,4-Dเขมขน<br />

3 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> เขมขน 0.2 mg/l ชิ้นสวนทั<br />

้งหมดเปลี่ยนเปนสีน้ําตาล<br />

วิจารณ<br />

จากการศึกษา<strong>ผลของ</strong> 2,4-D รวมกับ <strong>TDZ</strong> ตอการเพาะเลี้ยงใบกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีนในสภาพ<br />

ปลอดเชื้อ<br />

พบวา อาหารสูตร MS ที่เติม<br />

<strong>TDZ</strong> เขมขน 0.4 mg/l ชิ้นสวนสามารถพัฒนาเปนยอดไดมากกวาหนึ่งยอดบน<br />

ชิ้นสวนเดียว<br />

ซึ่งลักษณะการเจริญเติบโตดังกลาว<br />

ขัดแยงกับการทดลองของณราวุฒิ (2<strong>53</strong>9) ที่เพาะเลี้ยงสวนปลายยอด<br />

ของบัวหลวงบนอาหารสูตร MS ที่เติม<br />

<strong>TDZ</strong> เขมขน 0.5 mg/l ซึ่งไมสามารถชักนําใหเกิดยอดได<br />

แตพบวาเมื่อใช<br />

<strong>TDZ</strong> ที่<br />

ความเขมขนต่ําลง<br />

<strong>TDZ</strong> มีผลตอการเพิ่มยอดของบัวหลวงได<br />

จากผลการทดลองที่ไดนั้นมีความสอดคลองกับจิราภรณ<br />

(2547) ที่เลี้ยงสวนปลายรากและปลายยอดของ<br />

Stemona curtisii Hook. f. บนอาหารสูตร MS ที่เติม<br />

<strong>TDZ</strong> เขมขน 0.3<br />

และ 0.5 mg/l พบวา <strong>TDZ</strong> ที่ความเขมขนดังกลาว<br />

มีผลตอการชักนําปลายยอดใหเกิดเปน hard callus ขึ้นได<br />

สวน<br />

อาหารสวนที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 3 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> เขมขน 0.1 mg/l ชิ้นสวนสามารถพัฒนาเปนแคลลัสและพัฒนาเปน<br />

ยอดได โดยชิ้นสวนมีคะแนนการเจริญเติบโตดีที่สุด<br />

ซึ่งมีความสอดคลองกับงานทดลองของ<br />

Fang-Yi. et al. (2006) และ<br />

คณะ ที่ทําการเพาะเลี้ยงสวนปลายยอดของ<br />

Oncidium ‘Gower Ramsey’ บนอาหารสูตร MS ที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 3<br />

mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> เขมขน 0.1 mg/l ซึ่งชิ้นสวนสามารถพัฒนาเปน<br />

hard callus และเกิดยอดไดภายในเวลา 6 เดือน และ<br />

จากผลการทดลองอาหารที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 2 mg/l นั้นไมมีการเจริญเติบโตของชิ้นสวนเลย<br />

โดยชิ้นสวนที่เพาะเลี้ยงนั้น<br />

ไมสามารถพัฒนาไปเปนแคลลัสหรือยอดได ซึ่งผลการทดลองดังกลาวสอดคลองกับการทดลองของ<br />

Chen and Chin<br />

(2004) ซึ่งศึกษา<strong>ผลของ</strong>ออกซินตอการเกิดเอ็มบริโอจากชิ้นสวนใบของ<br />

Oncidium ‘Gower Ramsey’ โดยเพาะเลี้ยงชิ้น


ปที่<br />

41 ฉบับที่<br />

2(พิเศษ) พฤษภาคม – สิงหาคม 25<strong>53</strong> ว.วิทยาศาสตรเกษตร 355<br />

สวนบนสูตรอาหาร MS (ดัดแปลง) ที่เติมสารที่อยูในกลุมของออกซิน<br />

คือ IAA, 2,4-D, quercetin, TIBA และ PCIB<br />

พบวา การเติม 2,4-D เพียงชนิดเดียวไมสามารถทําใหชิ้นสวนที่เพาะเลี้ยงนั้นสามารถพัฒนาได<br />

Table 1. effect of 2,4-D and <strong>TDZ</strong> on explants growth in Paphiopedilum concolor 20 weeks of culture.<br />

Treatment combination<br />

(mg/l)<br />

average scores of<br />

growth<br />

Shoot number Shoot length<br />

Percentage of<br />

explants formed<br />

shoots (%)<br />

2,4-D 0 <strong>TDZ</strong> 0 1.00±0.00 0.00±0.00 0.00±0.00 0.00±0.00<br />

<strong>TDZ</strong> 0.1 1.33±0.26 0.07±0.07 0.06±0.06 6.67±6.65<br />

<strong>TDZ</strong> 0.2 1.37±0.29 0.00±0.00 0.00±0.00 0.00±0.00<br />

<strong>TDZ</strong> 0.4 1.33±0.33 0.40±0.40 0.17±0.17 6.67±6.65<br />

<strong>TDZ</strong> 1 1.33±0.33 0.27±0.27 0.16±0.16 6.67±6.65<br />

2,4-D 1 <strong>TDZ</strong> 0 1.<strong>53</strong>±0.33 0.13±0.08 0.13±0.08 13.33±8.15<br />

<strong>TDZ</strong> 0.1 1.27±0.27 0.07±0.07 0.07±0.07 6.67±6.65<br />

<strong>TDZ</strong> 0.2 1.<strong>53</strong>±0.33 0.20±0.13 0.18±0.11 13.33±8.15<br />

<strong>TDZ</strong> 0.4 1.47±0.20 0.00±0.00 0.00±0.00 0.00±0.00<br />

<strong>TDZ</strong> 1 1.33±0.26 0.07±0.07 0.05±0.05 6.67±6.65<br />

2,4-D 2 <strong>TDZ</strong> 0 1.00±0.00 0.00±0.00 0.00±0.00 0.00±0.00<br />

<strong>TDZ</strong> 0.1 1.00±0.00 0.00±0.00 0.00±0.00 0.00±0.00<br />

<strong>TDZ</strong> 0.2 1.57±0.22 0.00±0.00 0.00±0.00 0.00±0.00<br />

<strong>TDZ</strong> 0.4 1.13±0.13 0.00±0.00 0.00±0.00 0.00±0.00<br />

<strong>TDZ</strong> 1 1.50±0.25 0.07±0.07 0.07±0.07 6.67±6.65<br />

2,4-D 3 <strong>TDZ</strong> 0 1.20±0.13 0.00±0.00 0.00±0.00 0.00±0.00<br />

<strong>TDZ</strong> 0.1 2.00±0.51 0.13±0.13 0.13±0.13 13.33±13.31<br />

<strong>TDZ</strong> 0.2 1.00±0.00 0.00±0.00 0.00±0.00 0.00±0.00<br />

<strong>TDZ</strong> 0.4 1.60±0.52 0.13±0.00 0.14±0.14 13.33±13.31<br />

<strong>TDZ</strong> 1 1.27±0.27 0.07±0.07 0.06±0.06 6.67±6.65<br />

C.V. (%) 11.94 10.52 18.75 202.38<br />

F-test ns ns ns ns


356 ปที่<br />

41 ฉบับที่<br />

2(พิเศษ) พฤษภาคม – สิงหาคม 25<strong>53</strong> ว.วิทยาศาสตรเกษตร<br />

A B<br />

C D<br />

Figure 1. leaf culture of Paphiopedilum concolor on MS + 2,4-D 3 mg/l + <strong>TDZ</strong> 0.1 mg/l 8 weeks of<br />

incubation (B) 12 weeks of incubation (C) 16 weeks of incubation (D) 20 weeks of<br />

incubation<br />

สรุป<br />

จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อใบกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีน<br />

โดยนําชิ้นสวนไปเพาะเลี้ยงในอาหารสูตร<br />

MS<br />

ที่เติม<br />

2,4-D เขมขน 0, 1, 2 และ 3 mg/l รวมกับ <strong>TDZ</strong> เขมขน 0, 0.1, 0.2, 0.4 และ 2 mg/l เปนเวลา 20 สัปดาห พบวา<br />

อาหารที่เติม<br />

<strong>TDZ</strong> เขมขน 0.4 mg/l มีความเหมาะสมในการเพาะเลี้ยงชิ้นสวนใบกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีน<br />

เอกสารอางอิง<br />

จิราภรณ ปาลี. 2547. การผลิตสารประกอบทุติยภูมิจากหนอนตายหยาก (Stemona curtisii Hook. f.) ที่เพาะเลี้ยงใน<br />

เครื่องปฏิกรณชีวภาพ.<br />

[online]. Available. http://www.science.cmu.ac.th/study_abstract/4725022.pdf<br />

ดวงพร อังสุมาลี. 2544. การพัฒนาสูตรอาหารขยายโคลนกลวยไมรองเทานารีสองชนิด. วิทยานิพนธปริญญาโท<br />

ภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.<br />

ระพี สาคริก. 2<strong>53</strong>5. กลวยไมรองเทานารี : วิธีปลูกเลี้ยงและปญหาอนุรักษธรรมชาติ.<br />

กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร.<br />

อุไร จิรมงคลการ. 2541. กลวยไมรองเทานารี. กรุงเทพฯ : บานและสวน.<br />

ณราวุฒิ ปยโชติสกุลชัย. 2<strong>53</strong>9. <strong>ผลของ</strong>สารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีตอการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อบัวหลวง<br />

(Nelumbo<br />

nucifera Gaertn.) ในสภาพหลอดทดลอง. วิทยานิพนธปริญญาโท ภาควิชาพืชสวน<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.<br />

Chen, J. T. and Chin, W.. 2004. “TIBA affects the induction of direct somatic embryogenesis from leaf<br />

explants of Oncidium.” Plant Cell, Tissue and Organ Culture. 79 : 315-320.<br />

Jheng, F. Y., Do, Y.Y., Liauh, Y.W., Chung, J.P. 2006. “Enhancement of growth and regeneration efficiency<br />

from embryogenic callus cultures of Oncidium ‘Gower Ramsey’ by adjusting carbohydrate<br />

sources.” Plant Science. 170 : 1133-1140.<br />

Murashige T., Skoog F. (1962). A revised medium for rapid growth and bioassay with tobacco tissues.<br />

Physiologia Plantarum, 15: 473-479.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!