16.07.2015 Views

Blood Safety Around the World

Blood Safety Around the World

Blood Safety Around the World

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong> <strong>Around</strong> <strong>the</strong> <strong>World</strong>17• NAT testing และ antibody screeningทุก หนวย• NAT testing อยาง เดียว• NAT minipool และ antibody screening• HIV- p24 Ag และ antibody screeningทุก หนวย• Combined HIV p24 Ag และ antibodyscreening ทุก หนวย• NAT testingเปน ที่ยอม รับ วา NAT ชวย ใน การ ลด ระยะ ของ window period ของ HIV ไดประมาณ 50% (11 days) ซึ่งทําให residual risk ลดลง ไป ดวย ตาม ทฤษฎี การติดเชื้อ ไวรัส จะ ไม เกิด ขึ้น ถา ใช NAT technique เนื่องจาก ใน การ ศึกษา สัตวทดลอง จะ พบ วา ไมมีการ ติดเชื้อ เกิดขึ้น หาก ตรวจ ไม พบ HIV-1 RNA 14 แต อยางไร ก็ ดีขอเสียของ NAT ก็คือ วิธีการ ตรวจ ยัง ยุง ยาก มีขอ จํากัดเกี่ยว กับ การ จัดหา เครื่องมือ การ ตรวจ ใน ระบบ นี้ มีคาใชจาย สูง การ ตรวจ จึง ใชวิธีการ รวม น้ํา เหลือง (pooledserum) เขา ดวย กัน ซึ่ง เมื่อpooledserum ใหผลบวกแลว จะ ตอง ดําเนิน การ ตอ ใน การ ตรวจ หา ราย ละเอียด เพื่อใหไดตัวอยาง ที่มีผลบวก 15 จาก การ วิเคราะหถึง ความ ไว(sensitivity) ของ NAT ใน ปจจุบัน กําหนด ขนาด ของpool ที่เหมาะสม คือ 16 ถึง 24 16, 17 ยก ตัวอยาง ใน การ ทําpooled serum 24 ตัวอยาง (sample) หาก ตรวจ พบpool ใด ใหผลบวก จะ ตอง ดําเนิน การ ตรวจ ยอน หลัง ในsecondarypool และindividual รวม ทั้ง สิ้น11 ครั้งทําใหสิ้น เปลือง คาใชจาย และ ใชเวลา ยาว ซึ่ง มีผล ทําใหการจาย โลหิต และ สวน ประกอบ ของ โลหิต ลาชา ออก ไปรายงาน จากInter-organizationTaskForceonNucleic Acid Amplification Testing of <strong>Blood</strong>Donors รวบรวม ขอมูล สรุป วาNAT สามารถ ลดwindow period ของ HIV ได 10-15 วัน เมื่อ เปรียบ เทียบกับ การ ตรวจ HIV antibody และ ลดลง ได 3-8 วัน เมื่อเปรียบ เทียบ กับ การ ตรวจ HIV-Ag testing สามารถ ลดwindow period ของHCV ได41-60 วัน เมื่อ เปรียบเทียบ กับ การ ตรวจ anti-HCV โดย ใชน้ํา ยา ทดสอบ thirdgeneration สําหรับ HBV นั้น การ ใช NAT จะ ลดwindow period ไดประมาณ 6-15 วัน 18ใน ขณะ เดียว กัน การ กําหนด ขนาด ของ pool ใหใหญเกิน ไป เพื่อ ลด คาใชจาย และ หาก ใชวิธี NAT ที่มีความ ไวนอย ก็อาจ ทําใหเกิด ความ แตก ตาง ใน เรื่อง ความ ไว ใน การตรวจ จับ เชื้อ ได อยางไร ก็ดี มีรายงาน การ ศึกษา วา NATจะ มีความ คุมคา กวา ใน การ นํา มา ใชเมื่อ ใชวิธี pool เปรียบเทียบ กับ ตรวจHIV-Ag 19• Fourth generation HIV screening assays: combined HIV-p24 Ag and antibodyscreeningน้ํา ยา combi HIV-p24 Ag / anti- HIV screening test kit ไดขึ้น ทะเบียน ตั้ง แตป ค.ศ. 1997 20 ซึ่ง ในระยะ แรก ที่ ผลิต สู ทอง ตลาด ยัง มี ความ ไว ใน การ ตรวจHIV-p24 antigen คอน ขาง ต่ํา เมื่อ เปรียบ เทียบ กับ HIVp24antigen testing และ มีผลบวก ปลอม สูง เมื่อ เปรียบกับ anti-HIV third generation ทําใหไมสามารถ นํา มาใชทดแทน การ ตรวจ HIV-Agใน ธนาคาร เลือด ไดปจจุบัน น้ํา ยา fourth generation ไดรับ การ พัฒนาใหมีคุณภาพ ดีขึ้น ตาม ทฤษฎี น้ํา ยา นี้จะ ตรวจ HIV-1 ไดเร็ว กวา และ ทําให ระยะ window period สั้น ลง เมื่อเปรียบ เทียบ กับ third generation anti-HIV assaysจาก ผล การ ศึกษา เปรียบ เทียบ น้ํา ยา fourth generationassays3 ชนิด กับthirdgenerationassays 3 ชนิดซึ่ง ใน สวน แรก ของ การ ศึกษา นั้น ตองการ ตรวจ วา fourthgeneration assays ดัง กลาว สามารถ ตรวจ จับ HIVp24 antigen ไดใน ปริมาณ ระดับ ใด ผล การ ศึกษา พบ วาVidas Duo สามารถ ตรวจ HIV-p24 antigenได ที่18.69 pg Enzynost HIV integral test ตรวจ ได ที่30.17pg และ Vironostika HIV antigen/ antibodyวารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตรบริการโลหิต ปที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2546


18 ศรีวิไล ตันประเสริฐassay ตรวจ จับ HIV-p24 antigen ไดที่ 37.09 pg 21ใน สวน ที่สอง คือ การ ศึกษา การ ตรวจ พบ anti-HIV ในseroconversion panel ปรากฏ วา fourth generationassays ตรวจ anti-HIV ไดเร็ว กวา third generation2-15 วัน ขอมูล นี้ ชี้ ให เห็น วา fourth generationสามารถชวย ลด window period ได ประมาณ 2สัปดาห21Weber et al พบ วา Vidas Duo และ EnzymuntestHIV combi ให ผล การ ตรวจ ได เร็ว กวา AbbottHIV1 /HIV2thirdgeneration 22 Gur<strong>the</strong>retal ก็ได รายงาน ผล การ ศึกษา ที่ พบ วา Enzymun-test HIVcombi ไดผล การ ตรวจ เร็ว กวา Abbott HIV1 / HIV2 20Weber et al ยัง ไดรายงาน การ ศึกษา ที่พบ วา fourthgeneration Cobas Core HIV Combi EIA มีความ ไวใน การ ตรวจHIV-p24antigen เทากับAbbottHIV-Ag MonoclonalA ใน seroconversion panels และเมื่อ เปรียบ เทียบ กับ HIV-1 RT-PCR พบ วา ชา กวา เพียง2.75 วัน และ เมื่อ เปรียบ เทียบ กับ third generationสามารถ ลด window period ได ระหวาง 3.6-5.7 วันและ ผลบวก ปลอม ที่เกิด ขึ้น ใน การ ศึกษา พบ วา ต่ํา มาก 22ใน การ ศึกษา Clinical evaluation of PCR inblood donor screening at National <strong>Blood</strong> Centre,Thai Red Cross Society ไดพบ วา Enzynos-integralตรวจ พบ anti-HIV ไดกอน third generation2 วัน ถึง10 วัน และ ตรวจ พบ anti-HIV positive หลัง การ ตรวจพบ HIV-Ag 4 วัน ใน ขณะ ที่น้ํา ยา third generationอื่น ๆ ยัง ตรวจ ไมพบ 23ใน ปจจุบัน น้ํา ยา fourth generation combi HIV-Ag / anti-HIV EIA ไดรับ การ พัฒนา ใหมีความ ไว ใน การตรวจ HIV-p24 antigen ไดเทากับ HIV-Ag testingassay และ ตรวจanti-HIV ไดเร็ว กวาthirdgeneration การ นํา fourth generation มา ใชทดแทน separate HIV-Ag testing และ anti-HIV third generation ใน อนาคต นา จะ คุมคา และ มีความ เปน ไป ไดPathogen Inactivation (Pathogen Reduction: US Regulators)ตั้ง แตป ค.ศ.1980 ไดเริ่ม ใหความ สําคัญ และ สนใจที่จะ หา วิธีinactivatepathogen ใน สวน ประกอบ ของโลหิต 24 ซึ่ง ความ พยายาม นี้ สามารถ ทํา ได สําเร็จ ใน การinactivate pathogens ใน pooled plasma อยางไร ก็ดี วิธีการ inactivate plasma ไม สามารถ นํา มา ใช กับcellular component ได จน ปจจุบัน ได มี การ พัฒนาวิธีการ ที่จะ สามารถ inactivate pathogens ใน สวน redblood cells และ platelets ไดหลักการ สําคัญ ที่ตอง คํานึง ถึง ใน การ ทํา pathogensinactivation คือ• ประสิทธิภาพ ของ วิธีการ inactivate• คุณภาพ ของ components หลัง inactivate• Residual toxicityซึ่ง หมาย ความ วา วิธีการ ที่นํา มา ใชนั้น จะ ตอง สามารถขจัด การ ติดเชื้อ ได อยาง มี ประสิทธิภาพ คุณภาพ สวนประกอบ ของ โลหิต หลัง inactivate ตอง เหมือน เดิม สารตกคาง ตอง ถูก ขจัด ออก เพื่อ มิใหเกิด ผล เสีย ตอ ผูรับ โลหิตการ inactivate พลาสมา ทํา โดย ใช organic solvents และ detergents 25 หรือ methylene blue 26สําหรับ cellular components นั้น มี รายงาน การศึกษา พบ วา การ ใช chemical และ photochemicalinactivation ไดผล ดีกับ red blood cell และ platelets และ สามารถ ใชกับ พลาสมา ไดดวย27, 28วิธีการ inactivate จะ มุง เปา ไป ที่ nucleic acidเพราะ pathogens ทุก ชนิด ( อาจ ยกเวน prions) ตอง ใชการ แบง ตัว และ เพิ่ม จํานวน ของ nucleic acid เพื่อ ขยายพันธุ เมื่อ nucleic acid ของ pathogen ถูก inactivate แลว จะ มี ผล ไป ขัดขวาง viral replication และbacterial multiplicationปญหา ที่สําคัญ อีก ประการ หนึ่ง คือ การ ขจัด toxicityจาก ผลิตภัณฑหลังinactivate และ เมื่อ ขจัด แลว ตอง มีการ ตรวจ สอบ สาร ตกคาง (residual toxicity) ดวย วิธีที่Thai Journal of Hematology and Transfusion Medicine Vol. 13 No. 1 January-March 2003


<strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong> <strong>Around</strong> <strong>the</strong> <strong>World</strong>19มีความ ไว ที่สุด ซึ่ง จะ ตอง พบ วา หลง เหลือ อยูใน ปริมาณ ที่ยอม รับไดโดย ไมเกิด ผล เสีย ตอ ผูรับ โลหิต จึง จะ สามารถนํา ผลิตภัณฑนั้น ๆ มา ใชได ทั้ง นี้เนื่อง จาก ความ เสี่ยง จากการ ติดเชื้อ ใน ปจจุบัน ไดเหลือ นอย มาก แลว ฉะนั้น หาก จะมีผล เสีย จาก สาร ตกคาง จาก วิธีการ inactive จึง ถือ วา ไมคุมคาCurrent Methodologies for Pathogen Inactivation• Platelet concentratesใน ชวง เวลา หลาย ปที่ผาน มา มีนัก วิจัย หลาย ทาน ไดทําการ ศึกษา วิธีการ ใช psoralen derivative รวม กับ UVAใน การinactivatepathogens ในplateletconcentrates ซึ่ง พบ วา สามารถ inactivate จํานวน เชื้อ virusไดอยาง มีนัย สําคัญ และ ยัง คง คุณสมบัติของ plateletอยู อยางไร ก็ดี การ ศึกษา นี้ ทํา เฉพาะ ใน สัตวทดลอง โดยตาง คน ตาง ทํา และ ทํา ใน สถาบัน ของ ตน เทานั้น 29-31 และ ยังไมไดดําเนิน การ ไป มาก กวา นี้สําหรับ การ นํา เขา สู ตลาด นั้น ใน ปจจุบัน มี เฉพาะHelinx system โดย Cerus Corporation ได พัฒนาpsoralen compound S-59 โดย ใชชื่อ วา Amotosalenเพื่อ inactivate สอง ขั้นตอน ขั้นตอน แรก คือ ใชpsoralen เขา ไป จับ (docking) กับ nucleic acid(DNA or RNA) ของ pathogens และ leukocytesแลว ผาน รังสีUVA เขา ไป3-4 นาที โดย วิธีการ นี้ ทําใหS-59 เชื่อม กับ nucleic acid (cross linking <strong>the</strong> helix) การ เชื่อม ดัง กลาว เปน การ ขัดขวาง nucleic acid ไมใหแบง ตัว และ เพิ่ม จํานวน ได ซึ่ง เปน การ ทําลาย pathogens นั่น เอง การ เกิด cross linking นี้ นอก จาก จะขัดขวาง การ แบง ตัว ของ ไวรัส และ การ เพิ่ม จํานวน ของbacteria แลว ยัง มีผล ใน การ ขัดขวาง leukocytes ใหไมสามารถ สราง cytokines ไดอีก ดวย 32ฉะนั้น จะ เห็น วา การ ใช S-59 inactivate pathogens ใน platelets นั้น ยัง ทําให เกิด ผล ดี ตอ ผูปวย ในดาน อื่น อีก ดวย ยก ตัวอยาง ลด การ ติดเชื้อ CMV จากการ รับ โลหิต 33 และ เนื่อง จาก leukocyte ไมสามารถ แบงตัว ไดอีก ทําใหลด ปญหา graft-versus-host disease 34สวน ของpsoralen ที่เหลือ อยูจะ ถูก เปลี่ยน เปน สารinactive ใน การ ใช งาน จริง ๆ จะ มี เครื่องมือ ที่ ออก แบบเพื่อ ขจัด residual psoralen ออก ไป 35• Red blood cellsปจจุบัน มี 2 ระบบ ที่ เขา มา สู ทอง ตลาด โดย อาศัยหลักการ chemical inactivation โดย กลุม แรก คือCerus Corporation รวม กับ Baxter ได พัฒนาFRALE โมเลกุล (frangible anchor-linker effector)ให ชื่อ วา S-303 เมื่อ เติม ลง ไป ใน PRC โมเลกุล ของ S-303 จะ ไป จับ กับ nucleic acid ของ pathogens และleukocytes เกิดปฏิกริยา จาก การ เปลี่ยน แปลง ของpHใน โลหิต ถุง นั้น S-303 ที่เหลือ จะ ถูก เปลี่ยน เปน สาร inactive และ ถูก ขจัด ออก โดย วิธี adsorption matrixอีก กลุม คือ Vitex ซึ่ง รวม กับ Pall Biomedialพัฒนาสาร ซึ่ง ใช ชื่อ วา inactine ซึ่ง เปน aziridoalkylchain derivatives มี รายงาน การ ศึกษา วา inactineเปน broad-spectrum inactivation ซึ่ง มี ผล อยางกวางขวาง ตอ pathogens และ ยัง คง คุณสมบัติของ redblood cell ไดอยาง ดี• Plasma ดัง ไดกลาว แลว S-59 สามารถ นํา มา ใชกับ plasma ไดดวย แตสําหรับ ปจจุบัน solvent detergents ไดรับ การ รับรอง ใหใชใน ยุโรป และ อเมริกา วิธีการนี้ มี ผล อยาง ดี มาก กับ enveloped viruses แต ไม มี ผลตอ non-enveloped viruses เชน B19 parvovirusและ hepatitisA virus 25 ใน ยุโรป มีการ ใช methyleneblue treated plasma ซึ่ง ไมสูนิยม มาก นัก เนื่อง จาก พบวา methylene blue อาจ ทําใหเกิด mutagenic 26ความ กาวหนา ใน การ พัฒนา หา วิธีการ pathogenreduction ได เกิด ขึ้น มาก ใน ชวง ระยะ 3-4 ป ที่ ผาน มาการศึกษา ทาง หอง ปฏิบัติ การ พบ วา การ inactivatepathogen ไมไดทําใหเกิด ปญหา ใน ดาน คุณภาพ ของ สวนวารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตรบริการโลหิต ปที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2546


20 ศรีวิไล ตันประเสริฐประกอบ ของ โลหิต สําหรับ ความ คาด หวัง ใน การ ลด infectivity ของ pathogen ที่ตรวจ ไมพบ โดย วิธี screening test หรือ อันตราย ของ unknown pathogen เพื่อประเมิน ถึง ประสิทธิภาพ และ ความ ปลอดภัย ที่ จะ ไดรับจาก pathogen-reduced blood components หรือผล เสีย ที่อาจ เกิด จาก treated products เหลา นี้ คง จะตอง ใชเวลา ใน การ ประเมิน อีก หลาย ปหลัง จาก การ นํา มา ใช39Leucoreductionเพื่อ ที่จะ ใหโลหิต ที่นํา มา ใชมีความ ปลอดภัย สูงสุด โดยพยายาม ลด ความ เสี่ยง ใด ๆ ที่ อาจ หลง เหลือ อยู หลายประเทศ ไดใช universal pre-storage leukoreductionเพื่อ ลด จํานวน เม็ด โลหิต ขาว ใหเหลือ นอย ที่สุด ซึ่ง หาก ลดไป ใหเหลือ นอย กวา5x 10 8 จะ ปองกัน non-hemolyticfebrile transfusion reaction ได และ ถา ตองการ ใหปองกัน febrile reactions, HLA alloimmunization,CMV transmission รวม ทั้ง ปองกัน GVHD และปองกัน การ recurrence ของ malignancy มีขอ แนะนําให กรอง leukocytes ให เหลือ นอย กวา 5 x 10 6 36 ซึ่งสามารถ ทํา ไดโดย filters ที่ออก แบบ พิเศษ ใน การ กรองวิธีการ กรอง ใน ปจจุบัน แนะนํา ใหใช in-line filtration หรือ laboratory filter สําหรับ วิธี bed-side filtration นั้น เปน ที่ ยอม รับ วา ไม คุมคา ใน การ นํา มา ใช เนื่องจาก ใน ระหวาง ที่เก็บ โลหิต ไวนั้น จะ มีการ แตก ทําลาย ของleukocytes และ ปลอย cytokines, histamines ออกมา ซึ่ง เปน ผล ที่ทําใหเกิด febrile reaction และ allergictransfusionreaction 37 เมื่อ นํา มาก รอง ภาย หลัง (bedside filtration) จึง ไมสามารถ ปองกัน febrile reactionได38สําหรับ inline filtration นั้น เปน ที่นิยม ใชเนื่อง จากการ กรอง leukocytes จะ ทํา หลัง การ เจาะ เก็บ ภาย ใน 24ชั่วโมง ซึ่ง ระยะ เวลา ระหวาง เจาะ เก็บ กับ การ กรอง leukocytes จะ สั้น สามารถ กรองleukocytes ออก ไดมาก 38,สําหรับ Laboratory filtration จะ ทํา การ กรอง leukocytes ออก หลัง ผล การ ตรวจ เชื้อ ทาง หอง ปฏิบัติ การเสร็จ แลว โดย ใชวิธีเชื่อม filter กับ ถุง บรรจุโลหิตปจจุบัน third generation filter สามารถ ลด จํานวนleukocytes ในPRC และplatelets ใหเหลือ นอย กวา5 x 10 6 40Bacterial Contaminationมี รายงาน การ พบ bacterial contamination ในblood components ซึ่ง ถือ วา เปน ปญหา สําคัญ ใน เวชศาสตรงาน บริการ โลหิต ใน อเมริกา พบbacterialcontamination ใน platelets ประมาณ1 : 2000 และ เปนสาเหตุ ของ อาการ ปวย และ ถึง แก ชีวิต ถึง 150 คน ตอ ปนอกจาก นี้ ยัง มี รายงาน ใน เรื่อง นี้ ทั้ง ใน คา นา ดา ยุโรปญี่ปุน ฮองกง ฯลฯ ใน ขณะ ที่การ พัฒนา ใหญๆ มุง ไป ที่การปองกัน การ ติดเชื้อ ไวรัส bacteria ได กลาย มา เปนสาเหตุใหญที่ทําใหเกิด อันตราย ตอ ผูรับ โลหิต Dr. MarkE. Brecher ไดบรรยาย หัวขอ เกี่ยว กับ bacterial contamination43 ใน การ ประชุม Symposium at AABBonAdvancing<strong>Blood</strong><strong>Safety</strong><strong>World</strong>wide2000 ซึ่งมี รายงาน จาก U.S.CDC (1987-1994) พบ bacterialcontamination 22 ราย ใน โลหิต 28 ลาน หนวย เชื้อ ที่พบ คือ Yersinia enterocolitica, Serratia liquifacersis ซึ่ง ถือ วา พบ นอย มาก ใน New Zealand พบYersinia contamination ของ PRC 1 ใน 65,000หนวย พบ อัตรา ตาย 1 ใน 104,000 bacterial infection จาก PRC มัก เกิด ขึ้น รุน แรง และ รวด เร็ว เริ่มตน ดวยอาการ sepsis และ มาก กวา 60% ทําให ถึง แก ชีวิต และเปน ภาระ ของ โรงพยาบาล อยาง มาก เชน ที่โรงพยาบาล แหงหนึ่ง ใน สหรัฐ อเมริกา ซึ่ง มี ผูปวย เสีย ชีวิต จาก Yersiniainfection จาก การ รับ โลหิต ตอง จาย เงิน ให ผู ฟอง รอง5.6ลานดอลลาร รวม ทั้ง คาใชจาย จํานวน หลาย ลาน ในโรงพยาบาล เอง อีก ดวย และ ปญหา ที่คอน ขาง ราย แรง คือbacterial contamination ของ platelets ซึ่ง อยู ในอัตรา 1 : 2950 ใน โลหิต จาก ผู บริจาค โลหิต ทั่ว ไป และพบ1 : 2062 จาก โลหิต ที่เจาะ เก็บ โดย วิธี apheresis มีThai Journal of Hematology and Transfusion Medicine Vol. 13 No. 1 January-March 2003


<strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong> <strong>Around</strong> <strong>the</strong> <strong>World</strong>21รายงาน ผูปวย เสีย ชีวิต จาก สาเหตุbacterialcontamination ของplatelets ตอFDA สหรัฐ อเมริกา ใน ชวง22 ป (1987-1991) จํานวน 51 ราย จาก pathogensหลายชนิด แตเชื้อ ที่เปน สาเหตุที่พบ มาก ที่สุด คือ staphylococcusaureus (17.3%)Klebsiellapneumoniae(17.3%)Senatiamacesceno (15.4%)Dr.Brecherเชื่อ วา จํานวน ที่รายงาน นา จะ ต่ํา กวา ความ เปน จริง (underreported)43Dr. Hiroshi Hashimoto รายงาน การ พบ bacterialcontamination ที่ประเทศ ญี่ปุน ซึ่ง ถึง แมวา จะ พบ นอยกวา ใน ประเทศ อเมริกา ยุโรป แต ก็ ถือ วา มี ความ สําคัญรายงาน bacterial contamination ใน โลหิต ที่ พบ 2ราย คือ ราย ที่หนึ่ง ใน PC contaminate ดวย Bacilluscereus และ อีก ราย PC-MAP contaminate ดวยYersenia enterocoliticaโดย เหตุ ที่ พบ B. cereusทําใหJapaneseRedCross<strong>Blood</strong>Centers เปลี่ยนยา ฆา เชื้อ ซึ่ง ใชทา ที่จุด เจาะ โลหิต จาก Chlorohexidenegluconate เปน povidene iodine ตั้งแต มกราคม1999 44Bacterial Detection System 45การ ตรวจ เชื้อ bacteria นั้น คอน ขาง จะ ซับซอน มากกวา การ ตรวจ infectious transmissible viruses เนื่องจาก จํานวน bacteria จะ มีการ เปลี่ยน แปลง ตาม วัน เวลาซึ่ง ใน ระยะ ตั้งตน ที่มีเชื้อ bacteria เขา ไป สูโลหิต ใน ถุง นั้นจะ มีจํานวน นอย มาก อาจ จะ มีเพียง1 ถึง 10 colony (CFU = Colony forming units) ตอ1 mL. หลัง จาก เก็บไว 2-3 วัน จํานวน colony จะ เพิ่ม มาก ขึ้น ได ถึง 10 8CFU/mL. เพราะ ฉะนั้น หลัง จาก เจาะ เก็บ ใหมๆ ก็อาจ จะตรวจ ไม พบ จาก การ ศึกษา ของ Blajchman และคณะโดย การ ใช automated blood culture system ตรวจplatelet concentrate จํานวน 2 mL. พบ positiveculture 70/100,000 หนวย ใน วันที่3 ใน ขณะ ที่พบ เพียง25/100,000 หนวย ใน วัน แรก ของ การ เจาะ เก็บ สันนิษฐานวา คง เนื่อง มา จาก จํานวน bacteria concentration หลังเจาะ เก็บ มี จํานวน นอย อยู ฉะนั้น การ ตรวจ ใน วัน แรก ๆจึงควร ใชวิธีที่มีความ ไว สูง ใน ขณะ ที่วิธีการ ตรวจ ใน ชวงเวลา กอน ใหโลหิต นั้น อาจ จะ ใชวิธีที่มีความ ไว นอย กวา ก็ไดมี bacteria หลาย ชนิด ที่ทําใหเกิด การ ติดเชื้อ รุน แรงได และ แตละ ชนิด ตองการ ปจจัย ใน การ เติบโต ตางกัน การเปลี่ยน แปลง ของ pH และ glucose ใน โลหิต อาจ จะทําให มี bacteria เพิ่ม ขึ้น หรือ ลดลง ก็ แลว แต ชนิด ของbacteria• Bacteria detection methods 45วิธีการ ตรวจ ซึ่ง ใชอยูใน ปจจุบัน คือ- Visual inspection ดูการ เปลี่ยน แปลง ของ สีโลหิตใน ถุง ซึ่ง จะ เห็น ไดใน กรณีที่มี bacteria อยู จะ แตก ตางกับ ที่ สาย (segment) เนื่อง จาก สวน ใหญ ใน สวน ของsegment จะ ยัง คง sterile อยู เพราะ จํานวน เชื้อ ที่เขา ไปยัง นอย อยู Kim และ คณะ พบ วา หลัง จาก ฉีด Y. enterocolitica จํานวน 10-60 CFU/mL. เขา ไป ใน ถุง โลหิตหลัง จาก นั้น 30 วัน พบ มีการ เปลี่ยน แปลง สีของ โลหิต ในถุง ตาง กับ ที่ distal segments ซึ่ง เนื่อง มา จาก bacteriaมี การ ใช O 2 ทําให เกิด การ แตก ทําลาย ของ red bloodcell ปลอย haemoglobin ออก มา แต visual inspection ไม ชวย มาก นัก ใน กรณี ของ platelet ถึง แม จะ มีรายงาน ที่พบ วา platelets จะ มีลักษณะ ไหล เวียน (swirling) ลดลง ฉะนั้น วิธีนี้จึง ถือ วา ไมไว และ แมนยํา พอ สําหรับplatelets- Automated culture systemวิธี นี้ ใช ใน blood centers บาง แหง ใน ยุโรป และอเมริกา สําหรับ pooled buffy coat หรือ apheresisplatelets เนื่อง จาก sample ที่ ใช ตรวจ จะ คอน ขาง ใชปริมาณ มาก ใน การ culture จึง ทําใหมีความ ไว มาก ขึ้น- Gram’s stainวิธีนี้ทํา ไดเร็ว ราคา ไมแพง แตความ ไว ไมดี (insensitive) ตอง ใชปริมาณ เชื้อ 10 7 CFU/mL จึง จะ ตรวจ พบวารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตรบริการโลหิต ปที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2546


22 ศรีวิไล ตันประเสริฐนอก จาก นี้ ผูทํา ตอง มีความ ชํานาญ ใน การ แปล ผล อยางไรก็ดี ใน กรณีที่มี bacteria จํานวน มาก วิธีนี้ก็ชวย ไดมากใน การ ปองกัน septic transfusion ที่รุน แรง ได- Metabolic changes detected using urinedipsticksใน ระหวาง ที่ bacteria มี การ เพิ่ม จํานวน ใน ขบวนการ สันดาป (metabolism) จะ มี การ ใช O 2 และ glucose ทําใหมีการ เพิ่มCO 2 และpH ลดลง การ เปลี่ยนแปลง ดัง กลาว สามารถ ตรวจ ไดโดย ใช urine dipsticksความ ไว ใน การ ตรวจ จะ แตก ตางกัน ตาม ชนิด ของ bacteria แตละ species อาจ จะ ตอง มีจํานวน colony ตางกันตั้งแต 10 3 - 10 8 CFU/mL จึง จะ ตรวจ พบ ได• Bacterial detection underdevelopmentวิธีการ ตรวจbacteria ใน ปจจุบัน ยัง ตอง ใชเวลา พอสมควร ฉะนั้น การ พัฒนา bacterial screening ใหเปนวิธีงาย สะดวก รวด เร็ว เปน ที่คาด หวัง วา จะ มีใน อนาคตอัน ใกลนี้ วิธีที่อยูใน ระหวาง พัฒนา เพื่อ ใหไดผล การ ตรวจที่ ไว และ แมนยํา คือ Molecular diagnostic techniques และ วิธี detection of O 2 consumption วิธีหลัง นี้ดําเนิน การ โดย บริษัท Pall Corporation โดย ใชวิธีวัด ระดับ ของO 2 ซึ่ง บริษัท Pall Corporation คาดวา จะสามารถ นํา ออก มา สู ทอง ตลาด ได ใน เร็ว ๆ นี้ ทั้ง นี้ หากสามารถ จะ ตรวจ ไดรวด เร็ว จะ เปน ประโยชนอยาง มาก ตอการ ใช platelet ไดปลอดภัย ยิ่ง ขึ้นHemovigilanceHemovigilance system หรือ ที่ใน ประเทศ อังกฤษนิยม ใช คํา วา SHOT (Serious Hazards of SeriousTransfusion) เพื่อ รับ รายงาน ขอมูล ผล ราย ตาง ๆ ที่เกิดขึ้น เกี่ยว กับ การ รับ โลหิต รวม ทั้ง รายงาน ความ ผิด ปกติตางๆ (adverse events) ใน การ ใชโลหิต แมจะ มิไดเกิดอันตราย ราย แรง แกผูปวย ก็ตามHaemovigilance คือ ขบวน การ ที่ใชใน การ ดูแล เฝาระวัง การ ใช โลหิต ซึ่ง เริ่ม ตั้งแต การ รับ บริจาค โลหิต จน ถึงการ ติด ตาม ดูแล ผูปวย ขณะ รับ โลหิต จน หลัง รับ โลหิต เก็บรวม รวม ขอมูล ทั้ง หมด ของ ผล ที่ไมพึง ประสงคที่เกิด จากการ ใชโลหิต เพื่อ ปองกัน มิใหเกิด ผล เสีย ดัง กลาว ขึ้น ไดอีกซึ่ง หมาย ความ วาhaemovigiliance เปน ระบบ ที่ขึ้น อยูกับ การ เก็บ ขอมูล และ นํา มา วิเคราะหเพื่อ ไป สูเปาหมาย ในการ• ติด ตาม การ แพรระบาด และ อุบัติการ ของ infectious markers ใน ผูบริจาค โลหิต• รวบรวม adverse events ที่ เกี่ยวของ กับ การเจาะ เก็บ โลหิต การ ใช โลหิต และ สวน ประกอบ ของ โลหิตรวม ทั้ง ความ ผิดพลาด ใน การ ใชโลหิต และ ผล เสีย ขาง เคียง• บันทึก รายงาน การ ใชสวน ประกอบ ของ โลหิต ที่ใหแกผูปวย ซึ่ง เปน วิธีการ ที่ทําใหสามารถ ตรวจ สอบ ติด ตามขอมูล ตาง ๆ ไดรวด เร็วปจจุบัน เปน ที่ยอม รับ วา hemovigilance เปน สวนที่สําคัญ ของ ความ ปลอดภัย ใน การ ใชโลหิตโดย สรุป จุด มุง หมาย ของ haemovigilance คือ การเก็บ ขอมูล ที่ เกิด ตาม มา หลัง จาก การ ใช โลหิต และ สวนประกอบ ของ โลหิต เพื่อ ใช ขอมูล ดัง กลาว นํา มา ปรับปรุงความ ปลอดภัย ของ ระบบ การ ใชโลหิต เมื่อ ใด มีปญหา ตองเปดเผย เพื่อ ไดรับ การ แกไข และ เปน แนว ทาง ใน การปฎิบัติเพื่อ สราง ระบบ ปองกัน ความ ผิดพลาด มิใหเกิด ขึ้น อีกวิธีดําเนิน การ ของ ระบบHemovigilance ใน แตละประเทศ จะ มี ความ หลาก หลาย เชน เดียว กับ การ บริการจัดการ งาน บริการ โลหิต 46ประเทศ อังกฤษ ดําเนิน การ จัด เก็บ ขอมูล SeriousHazards ofTransfusion ตั้งแตปค.ศ.1996 และ ไดรายงาน ขอมูล ใน ป 2002 47 ซึ่ง ขอมูล ที่เก็บ ใน ชวง แรก จะเปน ขอมูล ที่ เกี่ยวของ กับ อันตราย ที่ เกิด กับ ผูปวย เทานั้นจนเมื่อ ไม นาน มา นี้ ได เพิ่ม การ เก็บ ขอมูล“near miss”ดวย มีโรงพยาบาล เขา รวม ใน ระบบ เกือบ 90%Types of hazard reported to SHOT 481. Incorrect blood/component transfusedThai Journal of Hematology and Transfusion Medicine Vol. 13 No. 1 January-March 2003


<strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong> <strong>Around</strong> <strong>the</strong> <strong>World</strong>232. Acute transfusion reaction includinganaphylaxis3. Delayed transfusion reaction4. Transfusion associated graft-versus-hostdisease5. Transfusion-related acute lung injury6. Posttransfusionpurpura7. Transfusion-transmittedinfections8. “Near-miss” eventsการ ดําเนิน งาน ของ SHOT system นับ วา ประสบความ สําเร็จ มีรายงาน เขา มา เพิ่ม ขึ้น ใน ชวง 5 ปที่ดําเนินการ จาก จํานวน 169 ราย ที่ รายงาน ใน ปค.ศ. 1996/97เปน 316 ใน ป 2000/2001 ซึ่ง สวน ใหญ จะ เปน รายงานการ ใช“Incorrect blood component transfused”เพิ่ม จาก 81 ราย ใน ป 1996/97 เปน 213 ราย ใน ป 2000/2001 ใน ทาง ตรง ขาม รายงาน“immunological” adverse events เชน acute transfusion reaction ไมไดเพิ่ม ขึ้น 49สําหรับ หลาย ๆ ประเทศ ใน ยุโรป European Union(EU) ซึ่ง มีสมาชิก 15 ประเทศ มี 10 ประเทศ ที่ไดจัด ตั้งHaemovigilance system ขึ้น และ นอก จาก นี้ ใน ปค.ศ. 1998 ประเทศ ใน ยุโรป คือ Belgium, France,Luxemburg, Portugal และ Ne<strong>the</strong>rlands ไดรวมกันจัด ตั้ง European Haemovigilance Network (EHN)ขึ้น และ ตอมา Denmark, Greece, Ireland และ Finland ก็ไดมา รวม ใน เครือขาย นี้ดวย โดย มีจุด มุง หมาย เพื่อให มี การ ติด ตอ กัน อยาง ใกล ชิด ระหวาง ประเทศ ใน ยุโรปมีการ แลก เปลี่ยน ขอมูล และ ประสบการณไดอยาง รวด เร็วมี ระบบ เตือน ภัย (Rapid Alert System) เมื่อ มี ปญหาเกิด ที่ ประเทศ ใด มี การ แจง ขาว ตอ key person ของnational hemovigilance system เพื่อ พิจารณา ถึงความ เหมาะสม ใน การ แจง ขาว ตอไป ยัง ประเทศ ในเครือขาย 50ฉะนั้น จะ เห็น วา เรื่อง ของ Haemovigilance ในปจจุบัน จะ ตอง เปน เรื่อง ที่จะ ตอง เปดเผย ซึ่ง เมื่อ เกิด ปญหาใด ๆ ที่เปน ผล เสีย ที่เกี่ยวของ กับ การ ใชโลหิต ตอง มีการแจง ขาว ใหผูเกี่ยวของ ไดทราบ โดย ทั่ว กัน เพื่อ จะ ไดทราบและ หา วิธีการ แกไข ปองกัน ตอไป ทั้ง นี้ เพื่อ ให เกิด ความปลอดภัย แกผูรับ โลหิตQualityManagementin<strong>Blood</strong>TransfusionServiceQuality management in blood transfusionservice ครอบ คลุม ทุก แง มุม ของ งาน บริการ โลหิต ซึ่งเกี่ยวของ ตั้งแตการ คัด เลือก ผูบริจาค โลหิต การ เจาะ เก็บโลหิต การ เตรียม สวน ประกอบ ของ โลหิต การ ควบคุมคุณภาพ ของ หอง ปฏิบัติ การ ตรวจ โลหิต รวม ถึง ความปลอดภัย อยาง สูง ของ โลหิต การ ใช โลหิต และ สวนประกอบ ของ โลหิต อยาง เหมาะสมใน เรื่อง ของ งาน บริการ โลหิต นั้น จุด หมาย ที่สําคัญ คือ“ การ ใชโลหิต ที่ปลอดภัย” ฉะนั้น จะ ตอง จัดหา โลหิต และสวน ประกอบ ของ โลหิต ที่มีคุณภาพ ดี ใหประสิทธิภาพ สูงและ มีความ เสี่ยง ต่ํา ที่สุด สําหรับ ทั้ง ผูบริจาค โลหิต และ ผูรับโลหิตการ นํา ระบบ คุณภาพ มา ใช ทําให ไดผล ผลิต ที่ มีคุณภาพ ที่ มาก ขึ้น เนื่อง จาก สามารถ ขจัด ความ สูญเสียการใชเกิน ความ จําเปน ลด คาใชจาย ใน การ แกปญหา ลดผลผลิต ที่ ไม ได มาตรฐาน และ ยัง เปน การ คง ไว ซึ่ง ความซื่อสัตยตอ ลูกคา เครื่องมือ ที่ใชใน การ ปรับปรุง คุณภาพ ในงาน บริการ โลหิต ประกอบ ดวย 51• การ ควบคุม คุณภาพ (quality control)• การ ประกัน คุณภาพ (quality assurance)• ระบบ คุณภาพ (quality system) 51คุณภาพ ของ โลหิต และ สวน ประกอบ ของ โลหิต ตอง มีความ ปลอดภัย ที่ สุด เทา ที่ จะ ทํา ได ตอง ให ผล ตาม ความคาด หวัง มี พรอม ตลอด เวลา เมื่อ ตองการ ใช เก็บ และ ใชอยาง ถูก ตอง ใน โรงพยาบาลการ ปฏิบัติ งาน ของ ธนาคาร เลือด ใน การ ตรวจ โลหิตวารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตรบริการโลหิต ปที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2546


24 ศรีวิไล ตันประเสริฐผูปวย ตอง ดําเนิน อยาง ถูก ตอง และ แมนยําการ ใช โลหิต และ สวน ประกอบ ของ โลหิต ตอง ดําเนินการ ที่ แสดง ถึง การ ปฏิบัติ ทาง การ แพทย อยาง ถูก ตอง มีระบบ บันทึก ขอมูล อยาง สมบูรณใน งาน บริการ โลหิต GMPs ได นํา มา ใช เพื่อ ให เกิดความ แน ใจ วา โลหิต นั้น ปลอดภัย ใน การ นํา มา ใช และผูปวย ได ประโยชน จาก การ ใช โลหิต และ เพื่อ ให ไดมา ซึ่งคุณภาพ ที่ดีของ โลหิต จะ ตอง มีการ บริหาร จัดการ ใน ระบบคุณภาพ อยาง ดีและ มีประสิทธิภาพ โดย มีคณะ ทํางาน ที่ดีใน ชวง ระยะ 20 ปมา นี้ ความ สนใจ ใน เรื่อง qualitysystem และ quality management in blood transfusion services ไดรับ ความ สนใจ อยาง มาก ซึ่ง คง จะเนื่อง มา จาก การ ระบาด ของ เชื้อHIV/AIDS และ การ พบเชื้อ ใหมๆ ใน โลหิต แรง ผลัก ดัน ที่สําคัญ ใน การ ปรับปรุงใน เรื่อง คุณภาพ ก็คือ ความ ตองการ ความ ปลอดภัย สําหรับผูปวย ที่ ใช โลหิต รวม ทั้ง ความ ปลอดภัย ของ ผลิตภัณฑโลหิต 52 ทําใหมีการ สราง ระบบ บริหาร จัดการ ดาน คุณภาพเพื่อ ปองกัน อันตราย ตอ ผู บริจาค โลหิต และ ผูปวย ที่ รับโลหิต และ เพื่อ ใหไดผล ตาม ความ ตองการ ระบบ ดัง กลาวจะ ตอง ครอบ คลุม ทุก ขบวน การ ตั้งแตการ เจาะ เก็บ โลหิตจาก ผูบริจาค โลหิต จน ถึง การ ใชโลหิต อยาง ปลอดภัย<strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong> <strong>Around</strong> <strong>the</strong> <strong>World</strong>เพื่อ ใหเห็น ภาพ ของ blood safety อยาง กวางขวาง จึงขอ เสนอ เรื่องราว ยอ ๆ ของ การ ดําเนิน การ ที่เกี่ยวของ กับblood safety ใน หลาย ๆ ประเทศ ใน ภูมิภาค ตาง ๆ ในโลก ทั้ง ใน developing countries และ developedcountries ซึ่ง มี ความ แตก ตาง ของ ประชาชน ทั้ง ทางพื้นฐาน ของ วัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ (Socio-Economic Status) และ ภูมิภาค ที่ตั้ง ของ ประเทศAsiaบังคลาเทศ (Bangladesh) 53ผู บริจาค โลหิต สวน ใหญ จะ เปน paid donorประมาณ 75% และ มี voluntary donors ซึ่ง รวม ทั้งreplacement donors ดวย ประมาณ 25% และ เนื่องจาก บังคลาเทศ เปน ประเทศ ที่ ยาก จน กอน ป ค.ศ.1999โลหิต ที่ใชประมาณ 70% ไมไดตรวจ infectious markers อีก 30% ตรวจ เฉพาะ HBsAg และ VDRL test ตั้งแต ค.ศ. 1991 จึง ได พยายาม ที่ จะ ตรวจ infectiousmarkers ใหมาก ขึ้น คือ ตรวจ HIV, HCV, HBV และSyphilis ดวย วิธี ELISA แตก็ตรวจ ไดเฉพาะ โลหิต ที่เจาะเก็บ จาก voluntary blood donors ซึ่ง เจาะ เก็บ ที่Bangladesh Red Cross Society <strong>Blood</strong> Centersเทานั้นความ ตองการ ใช โลหิต ใน บังคลาเทศ ประมาณ ป ละ201,000- 250,000 หนวย แต ตั้ง แต ป ค.ศ. 1999- 2001มี จํานวน โลหิต ที่ เจาะ จาก voluntary blood donorsจํานวน 17,700 หนวย เทานั้น ที่ ได ตรวจ infectiousmarkers แต โชคดี ที่ ไม พบ anti-HIV positive ในvoluntary blood donors เลยฉะนั้น จะ เห็น วา blood safety ใน บังคลาเทศ ยังตองการ การ ปรับปรุง อยาง มาก และ ความ ปลอดภัย ใน การใชโลหิต จะ ต่ํา มาก มีความ เสี่ยง สูง อยาง นา กลัวกัมพูชา (Cambodia) 53ผู บริจาค โลหิต ใน กัมพูชา มี voluntary blood donors ประมาณ 30 % ที่ เหลือ จะ เปน replacementblood donors ซึ่ง จะ มี paid donors แฝง อยูดวย ถึง แมจะ มี ขอหาม ไม ให มี การ ซื้อ ขาย โลหิต แต paid donorsเหลา นี้ก็จะ เขา มา ใน แบบ replacementปจจุบัน Cambodian Red Cross รวม กับ National <strong>Blood</strong> Transfusion Center (NBTC) ใน การจัดหา ผูบริจาค โลหิต ใหเปน ชนิดvoluntaryblooddonors จาก ผูที่มีความ เสี่ยง ต่ํา ทําใหอุบัติการณพบ infectious markers ใน โลหิต ที่ใชต่ํา ลง รวม ทั้ง พยายาม ที่จะขจัด paid donors ใหลดลงNBTC จะ ตรวจ คัด กรอง HIV, HBsAg, HCV และsyphilis ใน โลหิต ทุก หนวยงาน บริการ โลหิต ใน ประเทศ กัมพูชา ไดรับ ความThai Journal of Hematology and Transfusion Medicine Vol. 13 No. 1 January-March 2003


<strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong> <strong>Around</strong> <strong>the</strong> <strong>World</strong>25สนับสนุน จาก National Red Cross Society ประเทศอื่น ๆ รวม ทั้ง องคการ อนามัย โลก เพื่อ พัฒนา ให มี ความปลอดภัย ใน การ ใชโลหิต ยิ่ง ขึ้นจีน (China) 53ประเทศ จีน มีขนาด กวาง ใหญมาก งาน บริการ โลหิต ในแตละ เมือง จึง ยัง มีความ แตก ตางกัน ตาม ความ เจริญ ของเมือง นั้น ๆ แต ใน ภาพ รวม จะ พบ วา ประเทศ จีน ยัง มี ผูบริจาค โลหิต ที่เปน true voluntary non-remunerateddonor จริง ๆ นอย อยู แตจํา ตอง บริจาค ตาม กฎหมาย ของประเทศ จีน ที่หาม มิใหมี paid donor ตั้งแตปค.ศ. 1998ผูบริจาค โลหิต ที่เปน true voluntary blood donor จะมีอยูประมาณ 40% ที่เหลือ อีก 60% ปฏิบัติตาม นโยบายของ รัฐบาล ซึ่ง กําหนด วา การ บริจาค โลหิต เปน หนาที่ประชาชน บริจาค โลหิต โดย หวัง ผล ตอบ แทน เพื่อ ความ มั่นใจ ที่ตน เอง จะ มีโลหิต ใชใน เวลา เจ็บ ปวย ฉะนั้น การ กระตุนให มี ความ กระตือรือรน ที่ จะ เปน ผู บริจาค สม่ําเสมอ จึงคอน ขาง ยากสําหรับ การ ตรวจ infectious markers นั้น ใน ชวงระยะ ตั้งแตค.ศ. 1996 ไดมีการ ปรับปรุง blood screening โดย ใช automated technology และ ปรับปรุงdatamanagementsystem ทําใหลดhumanerrorลง markers ที่ ตรวจ คือ HBsAg, anti-HCV, anti-HIV, syphilis antibodyนอก จาก นี้ แต ละ เมือง ยัง มี ความ แตก ตาง ใน เรื่องความ รูของ แพทยใน การ ใชโลหิต อยาง ถูก ตอง รวม ทั้ง การนํา ระบบ quality management มา ใช ยัง ไม สามารถกระจาย การ ปฏิบัติไดทั่ว ทุก เมือง เฉพาะ เมือง ใหญของ จีนเทานั้น ที่ การ บริหาร จัดการ เกี่ยว กับ การ ใช โลหิต อยาง มีมาตรฐาน เชน ใน ปก กิ่ง และเซียงไฮ ซึ่ง มีความ สนใจ ที่จัดตั้ง ระบบ Hemovigilance ใน เร็ว ๆ นี้อยางไร ก็ดี ใน ภาพ รวม แลว อาจ กลาว ไดวา ประเทศ จีนไดมีการ พัฒนา ใน เรื่องbloodsafety ใน ชวง10 ปมา นี้อยาง รวด เร็ว โดย มีความ มุงมั่น ที่จะ ใหมี true voluntaryblood donor 100% เพื่อ ให ได โลหิต จาก ผู บริจาค ที่ มีความ ปลอดภัย รวม ทั้ง งาน บริการ โลหิต ใน ประเทศ จีนรัฐบาล เปน ผู รับ ผิด ชอบ ใน การ บริหาร จัดการ โดย มี สภากาชาด จีน ชวย สงเสริม รัฐบาล จีน ไดดําเนิน งาน ของ ศูนยบริการ โลหิต และ ยัง ไดรับ ความ ชวยเหลือ จาก สภา กาชาดญี่ปุน ออสเตรเลีย และ ฮองกง จึง เชื่อ วา งาน บริการ โลหิตของ ประเทศ จีน จะ กาว เขา ระดับ มาตรฐาน สากล ใน เร็ว ๆนี้53, personal contactฮองกง (HongKong)งาน บริการ โลหิต ของ ฮองกง มีมาตรฐาน ดีมาก เทา เทียมกับdevelopedcountries ผูบริจาค โลหิต เปนvoluntary non-remunerated blood donor ซึ่ง จะ ผาน donor screening และ donor selection โลหิต ทุก หนวยจะ ไดรับ การ ตรวจ HIV1/2, anti-HCV, HBsAg,HTLV I+II antibodies and syphilis antibody และตั้งแตเดือน มิถุนายน 2002 ไดเริ่ม ตรวจ HIV และ HCVNATนอก จาก นี้จะ ทํา routine bacterial culture สําหรับplatelet concentrates (random and apheresisplatelets)ใน ดาน leukoreduction นั้น จะ ทํา leuko-filteredประมาณ 10% สําหรับผูปวย thalassemia และ เนื่องจาก ปญหา vCJD ตั้งแตค.ศ. 1999 ได ทํา leuko-filtered Rh-neg blood 100% และ จะ ทํา leuko-filteredตาม clinical medication ดวยสําหรับ viral activation นั้น ทาง Hong Kong<strong>Blood</strong> Center กําลัง ศึกษา และ ติด ตาม เรื่อง นี้ และ เชื่อ วานา จะ ทําใหโลหิต ปลอดภัย ยิ่ง ขึ้น แตคง จะ ตอง พิจารณา ถึงความ คุมคา และ แนว ทาง ปฏิบัติวา จะ เปน ไป ไดหรือ ไมกอนที่จะ นํา วิธีการ มา ใชฮองกง ไดรับ ISO 9000 เมื่อค.ศ. 19984, 53อินเดีย (India)งาน จัดหา โลหิต ที่ปลอดภัย ใน อินเดีย เปน ความ รับ ผิดชอบ Health Department of <strong>the</strong> Government โดยรวม กับ Indian Red Cross Society กอน ปค.ศ. 1996ยัง มี การ ซื้อ ขาย โลหิต และ มี ธนาคาร เลือด ที่ ไม ไดรับวารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตรบริการโลหิต ปที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2546


26 ศรีวิไล ตันประเสริฐอนุญาต (unauthorized blood banks) มากมาย ดำเนินการ ซื้อ ขาย โลหิต ทําใหไมสามารถ รับรอง ความ ปลอดภัยของ โลหิต ได ดังนั้น ตั้งแตค.ศ. 1996 รัฐบาล จึง ไดกําหนด ใหมีการ ขึ้น ทะเบียน ธนาคาร เลือด เลิก การ ซื้อ ขายโลหิต และ รณ รงค ให มี voluntary blood donors ซึ่งทําให จํานวน ผู บริจาค โลหิต ที่ เปน voluntary donorsเพิ่มจาก 39% ใน ป 1997 เปน 45% ใน ป 2001 ตามหลักการ ถือ วา ไมมี paid donors ตั้งแตปค.ศ. 1998 แตใน ความ เปน จริง ยัง มี paid donors แฝง อยูใน ลักษณะreplacement donorsใน เรื่อง การ ตรวจ infectious markers นั้น ตรวจHIV, HCV, HBV, syphilis อยางไร ก็ ดี เนื่อง จากอินเดีย เปน ประเทศ ใหญ มี พลเมือง มาก พบ วา ใน ชนบทหลาย แหง ไม มี ธนาคาร เลือด และ ใน กรณี ฉุกเฉิน จะ ใชโลหิต โดย ไม ได มี การ ตรวจ กรอง โลหิต อยาง ถูก ตอง เพื่อชวย ชีวิต ผูปวย เมื่อ เร็ว ๆ นี้ จึง พยายาม ที่จะ จัด ใหมี storage center เพื่อ เก็บ โลหิต ที่ผาน การ ตรวจ เรียบรอย แลวเพื่อ จะ หลีก เลี่ยง การ ใชโลหิต ที่ยัง มิไดตรวจ และ เนื่อง จากธนาคาร เลือด สวน ใหญไมไดแจง ผล การ ตรวจ anti-HIVpositive แตผูบริจาค โลหิต ไดทราบ ทําใหผูบริจาค เหลานี้ยัง คง บริจาค โลหิต ตอไป และ ยัง เปน การ ถาย ทอด เชื้อ ใหแกคูสมรส อีก ดวย 4HIV infection ใน ผู บริจาค โลหิต จะ มี ความ แตกตางกัน ใน แต ละ ภูมิภาค ใน อินเดีย แต ยัง คง สูง และ ไมเปลี่ยน แปลง ใน ระยะ สอง สาม ปนี้ จาก รายงาน การ ศึกษาใน ธนาคาร เลือด หลาย แหง ใน อินเดีย พบ วา มีอุบัติการ ของHIV ใน replacement donors สูง กวา voluntarydonors เกือบ เทา ตัวงาน บริการ โลหิต ใน อินเดีย มุง ที่ จะ พัฒนา ให มี ความแข็ง แกรง ใน การ จัดหา โลหิต ที่ปลอดภัย จึง ไดกําหนด เปนนโยบาย ระดับ ชาติ ที่ รัฐ ให การ สนับสนุน และ นํา ระบบquality management เขา มาบ ริหาร จัดการ ใน ธนาคารเลือด เพื่อ จัด ใหมีวิธีการ ดําเนิน การ ใน การ ประกัน คุณภาพความ ปลอดภัย ของ โลหิต ที่นํา มา ใชญี่ปุน (Japan)53 personal contactผูบริจาค โลหิต ใน ประเทศ ญี่ปุน เปน voluntary nonremunerated blood donor และ ตั้งแต ปค.ศ.199895% ของ โลหิต ที่ใชจะ ทํา irradiation ทําใหไมพบ ผูรับโลหิต เกิด PT-GVHD ซึ่ง กอน หนา นี้ จะ มี รายงาน PT-GVHD ) ปละ ไมนอย กวา 10 รายใน ดาน การ ตรวจ infectious markers ตรวจHBsAg, anti-HBs, anti-HBc, anti-HCV, anti-HIV1/2, anti-HTLV1, parvovirus B19 Ag ใน โลหิตที่รับ บริจาค ทุก หนวย และ ไดนํา NAT มา ใชตรวจ HBV,HCV, HIV ตั้งแตปค.ศ. 1999 โดย ใชขนาด pool 500และ ตอมา ได ลด ขนาด เปน pool 50 นอก จาก นี้ Japanese Red Cross มีน โย บาย จะ ทํา leukoreductionของ platelets ปจจุบัน การ ทํา leukoreduction redcell ยัง นอย อยู (personal contact)สําหรับ Pathogen inactivation ยัง อยูใน ระหวางการ ศึกษา และ เก็บ ขอมูล ตาง ๆ เพิ่ม เติม เพื่อ นํา มา พิจารณาตอไปซึ่ง จาก ผล ของ การ ติด ตาม ศึกษา อุบัติการ ติดเชื้อ หลังรับ โลหิต พบ วา ลดลง อยาง ชัดเจน กอน การ นํา NAT มาใชไดพบ วา มีการ ติดเชื้อ HIV ใน ระยะ window periodจาก ผู บริจาค โลหิต 1 ราย โดย เหตุ ที่ Japanese RedCross จะ เก็บ ตัวอยาง ของ โลหิต ไว ตั้งแต ปค.ศ. 1996ทําให สามารถ นํา ตัวอยาง โลหิต ผู บริจาค ราย นี้ มา ยืนยันHIV-RNA ได ซึ่ง หลัง จาก ใช NAT แลว ไมพบ PT-HIVอีก เลยJapanese Red Cross ไดจัด ตั้ง ระบบ เครือขาย ในการ ติด ตาม adverse effects หรือ การ ติดเชื้อ จาก การ รับโลหิต ตั้งแตปค.ศ. 1992 ซึ่ง ก็คือ การ มีระบบ Haemovigilance นั่น เอง ขอมูล ตาง ๆ ที่ เกี่ยวของ กับ โลหิต จะรายงาน จาก โรงพยาบาล มา ยัง Central <strong>Blood</strong> Centerและ Japanese Red Cross ซึ่ง ขอมูล เหลา นี้จะ ไดรับ การวิเคราะหเพื่อ รายงาน ตอ กระทรวง สาธารณสุขQuality management และ GMP เปน สวน ที่Thai Journal of Hematology and Transfusion Medicine Vol. 13 No. 1 January-March 2003


<strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong> <strong>Around</strong> <strong>the</strong> <strong>World</strong>27Japanese Red Cross Headquarters ไดดําเนิน การ ใหมี internal audit สถาน บริการ โลหิต มีระบบ ควบคุมและ ประกัน คุณภาพ<strong>Blood</strong>safety ใน ประ เทศ ญี่ปุน นั้น นับ วา เปน เลิศ ในเอเชีย ซึ่ง ก็ตอง มีคาใชจาย สูง เพื่อ ใหไดมา ซึ่ง ความ ปลอดภัย ตอ ผูใชัโลหิตลาว (Lao PDR) 53สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชน ลาว ไดรับ ความสนับสนุน ใน การ พัฒนา งาน บริการ โลหิต จากJapaneseRed Cross Society ใน แผน งาน ระยะ ยาวค.ศ. 1995-2000 ทําใหสามารถ เพิ่มvoluntaryblooddonor จาก20% ใน ปค.ศ. 1998 เปน 70% ใน ปค.ศ. 2000 และเปน 87% ใน ปค.ศ. 2001 เพื่อ ใหไดผูบริจาค โลหิต ที่มีความ ปลอดภัย สูงสุด นอก จาก นี้ยัง ไดสงเสริม ขบวน การตรวจ คัด กรอง โลหิต ทุก หนวย กอน นํา ไป ใชกับ ผูปวย โดยเริ่ม ตรวจ ABO, Rh, anti-HIV, HBsAg และ syphilisตั้งแต ปค.ศ. 1995 และ ตรวจ anti-HCV ใน ปค.ศ.2000นอก จาก นี้ เพื่อ ใหเกิด ความ ปลอดภัย ใน การ ใชโลหิตไดมีการ สงเสริม และ ใหความ รูใน การ ใชโลหิต อยาง ถูก ตองและ เหมาะสม แกแพทยผูใชโลหิต ใน โลหิต มีการ อบรม ในระดับ ชาติ แก เจาหนาที่ ที่ ทํางาน เกี่ยวของ ใน เรื่อง การ รณรงค หา ผู บริจาค โลหิต ที่ มี ความ ปลอดภัย (safe blooddonor recruitment)อยางไร ก็ดี ใน ภาพ รวม ประเทศ ลาว คอน ขาง ยาก จนและ ยัง ตองการ การ สนับสนุน จาก ประเทศ ที่พัฒนา แลวพมา (Myanmar) 53งาน บริการ โลหิต ใน พมา นับ วา คอน ขาง จะ ลาหลัง อยูเนื่อง จาก เพิ่ง จะ มีการ รางนโน บาย ระดับ ชาติเกี่ยว กับ งานบริการ โลหิต เมื่อ ปค.ศ. 1998 ทบทวน แกไข ครั้ง สุด ทายเมื่อ ค.ศ. 2001 และ กําหนด ออก มา ใช ใน ปค.ศ. 2002ผูบริจาค โลหิต ที่เปน voluntary donor มีเพียง 70%อีก 30% เปน replacement donor การ ตรวจ infectious markers ใน โลหิต ที่ใชเพิ่ง จะ ทํา ไดสมบูรณ 100%เมื่อค.ศ. 2000 และ ตรวจ เฉพาะ anti-HIV, HBsAgและ syphilis สําหรับ anti-HCV ตรวจ เฉพาะ โลหิต ที่ใชใน Yangon และ Mandalayสําหรับ quality assurance system เพิ่ง จะ เริ่มดําเนิน การ ใน ปค.ศ. 2000<strong>Blood</strong> safety ใน พมา จึง ยัง มีความ เสี่ยง อยูมาก พอสมควรเนปาล (Nepal) 53งาน บริการ โลหิต ดําเนิน โดย Red Cross Societyเปน หลัก สําหรับ นโยบาย และ การ เงิน ดําเนิน การ โดยกระทรวง สาธารณสุข โลหิต ที่ ใชได จาก voluntary donor ประมาณ 84% และ ที่ เหลือ 16% เปน replacement donor โลหิต ที่ใชจะ ตรวจ คัด กรอง HIV, HBsAg,HCV, VDRL มีการ ทํา quality control ของ หอง ปฏิบัติการ สําหรับ โลหิต ที่ เจาะ จาก ทาง ใต ของ ประเทศ ซึ่ง มี การระบาด ของ เชื้อ มาเลเรีย จะ ไดรับ การ ตรวจ มาเลเรียทุกหนวยนอก จาก นี้ เนปาล ไดรับ การ สนับสนุน การ ฝก อบรมดาน เทคนิค จาก Japanese Red Cross Society รวมทั้ง WHO สนับสนุน จัดการ อบรม quality management programme ใน ประเทศ ให โดย มี Thai RedCross Society ซึ่ง ไดรับ แตง ตั้ง จาก WHO ติด ตามประเมินผล การ ปฏิบัติงาน และ Central <strong>Blood</strong> Transfusion Service ได เขา รวม ใน quality assessmentprogrammes กับ National Serology ReferenceLaboratory Australia WHO Collaborating Centerสิ่ง เหลา นี้ ชวย ทําให งาน บริการ โลหิต ใน เนปาล ไดรับ การพัฒนา ดีขึ้น โดย การ เพิ่ม voluntary donor และ การตรวจ คัด กรอง infectious markers สง ผล ให โลหิต มีความ ปลอดภัยปากีสถาน (Pakistan) 53Pakistan Red Crescent Society ไดจัดทํา donorrecruitment program เพื่อ ใหไดโลหิต ที่ปลอดภัย จากvoluntary blood donors ซึ่ง คอน ขาง ประสบ ความวารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตรบริการโลหิต ปที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2546


28 ศรีวิไล ตันประเสริฐสําเร็จ ใน ปลาย ปค.ศ.2001 มีvoluntaryblooddonor 93.25% 36.46% เปน repeated donors และ มีreplacement donors เพียง 6.74% ผู บริจาค ชาย77.97% ผู บริจาค หญิง 22.03%นอก จาก นี้ ไดมีการ ตรวจinfectiousmarkers ในโลหิต ที่รับ บริจาค และ ไดจัดทํา SOPs ทาง หอง ปฏิบัติการพบ อุบัติ การณ ของ HBsAg 0.84%, HCV 1.34%และ ไมพบ anti-HIV positive เลยRed Crescent <strong>Blood</strong> Center มี ความ มุงมั่น ที่ จะยก ระดับ blood safety ใหดียิ่ง ขึ้น โดย พยายาม รณ รงคให มี voluntary non-remunerated blood donors100% รวม ทั้ง รวมมือ กับ รัฐบาล ใน การ ปองกัน การ แพรระบาด ของ เชื้อ โรค ที่ติด ตอ ทาง การ รับ โลหิตศรีลัง กา (Sri Lanka) 53<strong>Blood</strong> safety ใน ศรี ลัง กา ไดรับ การ พัฒนา อยาง ตอเนื่อง ใน ชวง ปค.ศ. 1999-2001 มี voluntary donation60% และ replacement donors 40% หาม มี การ ซื้อขาย โลหิต ใน เรื่อง ความ ปลอดภัย ของ โลหิต ที่ใชนั้น โลหิตทุก หนวย จะ ไดรับ การ ตรวจ anti-HIV1/2, HBsAg โดยวิธี ELISA ยัง ไมไดตรวจ anti-HCV แตก็มีน โย บาย จะตรวจ เร็ว ๆ นี้ มี การ ตรวจ syphilis ดวย VDRL testและ confirmed by TPHA รวม ทั้ง มีการ ตรวจ malariaทั้ง thick และ thin film testingNational <strong>Blood</strong> Transfusion (NBTS) จะ จัด ใหมีระบบ quality assurance โดย ได เขา รับ การ อบรม ในWHO QMTprogramme ทั้ง นี้NBTSSriLanka มีความ ประสงคที่จะ ใหมี quality management systemเพื่อ ใหโลหิต และ สวน ประกอบ ของ โลหิต มีความ ปลอดภัยพอเพียง และ มี คุณภาพ รวม ทั้ง ให มี การ ตรวจ สอบ และทบทวน ระบบ คุณภาพ เพื่อ ใหการ ใชระบบ ดัง กลาว บัง เกิดผล และ ใชงาน ไดอยาง มีประสิทธิภาพประเทศ ไทย (Thailand)งาน บริการ โลหิต ของ ประเทศ ไทย ดําเนิน การ โดย สภากาชาด ไทย ผูบริจาค โลหิต เปนvoluntarynon-remunerated blood donor ศูนย บริการ โลหิต แหง ชาติ ทําหนาที่ จัดหา ผู บริจาค โลหิต เจาะ เก็บ ตรวจ คัด กรองสํารองโลหิต และ จาย โลหิต ใหโรงพยาบาล ทั่ว ไปศูนยบริการ โลหิต มีระบบ donor screening โดย จัดให มี pre-donation counseling และ donor selection เพื่อ ใหไดผูบริจาค โลหิต ที่มีความ ปลอดภัย สูงสุดโลหิต ทุก หนวย จะ ตอง ผาน การ ตรวจ infectiousmarkers HBsAg, anti-HCV, anti-HIV, HIV-Ag(ประเทศ ไทย เปน ประเทศ แรก ใน โลก ที่ ริเริ่ม การ ตรวจHIV-Ag ตั้งแตปค.ศ.1992) โดย เหตุที่ยัง มีความ แตกตาง ใน การ ตรวจ คัด กรอง โลหิต ใน จังหวัด ตาง ๆ ของประเทศ ศูนยบริการ โลหิต แหง ชาติจึง ไดจัด ตั้ง ภาค บริการโลหิต แหง ชาติขึ้น โดย มีเปาหมาย จะ จัด ตั้ง 12 ภาค ขณะนี้จัด ตั้ง ได9 ภาค แลว (ค.ศ. 2001) เพื่อ ใหการ ตรวจ คัดกรอง โลหิต เปน ไป ใน ลักษณะ Centralization และ ทําใหการ ควบคุม คุณภาพ ของ งาน ตรวจ ทํา ได ดี และ เปน มาตรฐาน เดียว กัน ทั่ว ประเทศประเทศ ไทย ไดเริ่ม ศึกษา การ ใช NAT ตั้งแตปค.ศ.2000-2001 ซึ่ง ได พบ HCV RNA และ HIV RNAอยางละ ราย การ จะ นํา NAT มา ใช ใน ปจจุบัน ยัง อยู ในระหวาง การ พิจารณา แตก็ไดเริ่ม ใหบริการ ตาม ที่แพทยผูรักษา เจาะ จง เปน ราย ๆ ไปศูนยฯ ผลิต ถุง เพื่อ ทํา inline-leukofiltration เพื่อ ใชกับ ผูปวย ตาม ที่แพทยแจงความ จํานง มา มีบริการ ทําirradiation มี การ บริหาร จัดการ เรื่อง คุณภาพ ทุก ขั้นตอนการ ทํางาน เพื่อ ความ ปลอดภัย สูงสุด ตอ ผูบริจาค โลหิต และผู รับ โลหิต และ ไดรับ ISO 9002 ใน ปค.ศ. 2000ศูนยบริการ โลหิต มีการ ดําเนิน การ haemovigilianceตั้งแตปค.ศ. 2000 ใน แบบ voluntary randomปญหา ใน เรื่อง ความ ปลอดภัย ของ โลหิต ยัง มีอยูบาง ในสวน ที่ หาง ไกล ความ เจริญ หรือ ใน ชนบท ที่ หาง ไกล ซึ่ง มีความ แตก ตาง ใน พื้นฐาน การ ศึกษา การ คัด เลือก ผูบริจาคโลหิต เพื่อ ใหไดผูบริจาค ที่มีความ ปลอดภัย จึง ยัง ไมประสบความ สําเร็จ เชน ใน กรุงเทพมหานคร นอก จาก นี้การ ตรวจThai Journal of Hematology and Transfusion Medicine Vol. 13 No. 1 January-March 2003


<strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong> <strong>Around</strong> <strong>the</strong> <strong>World</strong>29infectious markers อาจ ตอง ใช rapid test ใน กรณีฉุกเฉิน บาง แหง ไมไดตรวจ HCV อาจ มี replacementdonors อยูบาง และ การ ควบคุม การ บริหาร ดาน คุณภาพยัง ครอบ คลุม ไป ไมถึงอยางไร ก็ดี มาตรฐาน งาน บริการ โลหิต ของ ศูนยบริการโลหิต สภา กาชาด ไทย นับ มีความ ปลอดภัย ที่เชื่อถือ ไดเวียดนาม (Vietnam) 53ตั้งแตปค.ศ. 1996-2000 มีความ สนใจ ใน การ พัฒนางาน บริการ โลหิต ใน แง ความ ปลอดภัย ของ การ ใช โลหิต(safe blood transfusion) โดย สงเสริม การ จัดหา โลหิตจาก voluntary blood donor และ พยายาม ลด paiddonor ปจจุบัน มี voluntary blood donor ประมาณ30% โดย ตั้ง เปา ที่จะ ใหมี voluntary blood donor 50%ใน ปค.ศ. 2005 และ เพิ่ม เปน 70% ใน ปค.ศ. 2010ขจัด ผูบริจาค ที่มีความ เสี่ยง สูง และ สงเสริม ใหมีการ บริจาคสม่ําเสมอ และ คงอยูตลอด ไปสําหรับ infectious markers ไดตรวจ HIV, HBV,HCV, syphilis, malaria ใน โลหิต ทุก หนวย โดย วิธีELISAโดย เหตุที่เวียดนาม ไดรับ ความ สนับสนุน จาก <strong>World</strong>Bank และ <strong>World</strong> Health Organization ใน การกอสราง ที่ทํา การ Regional <strong>Blood</strong> Transfusion Centers ให4 แหง ซึ่ง จะ ทําใหเวียดนาม พัฒนา งาน มาตรฐานใน การ คัด เลือก ผู บริจาค โลหิต การ ตรวจ คัด กรอง โลหิตการ ทําleukocytedepletebloodcomponents การจัด ตั้ง หนวย apheresis และ การ ใช โลหิต ใน ระดับมาตรฐาน สากล เพื่อ ให โลหิต ที่ ใช กับ ผูปวย มี ความปลอดภัย สูงสุด ซึ่ง เวียดนาม ก็ หวัง ที่ จะ ไดรับ ความสนับสนุน จาก International and Regional RedCross - Crescent Associations ใน ปฏิบัติการ ดัง กลาวโดย ภาพ รวม งาน บริการ โลหิต ใน เวียดนาม มี การพัฒนา ได อยาง รวด เร็ว และ เขมแข็ง ซึ่ง ทําให คุณภาพblood safety มีความ กาวหนา และ ปลอดภัย แกประชาชนผูใชโลหิตออสเตรเลีย (Australia)53 personal contactออสเตรเลีย ดําเนิน การ โดย เจาะ เก็บ โลหิต จาก voluntary non-remunerated blood donor ตั้งแตการ จัด ตั้งงาน บริการ โลหิต ใน ปค.ศ.1940 โลหิต ทุก หนวย ตรวจinfectious markers anti-HIV1/2, HBsAg, anti-HCV, syphilisAustralian Red Cross <strong>Blood</strong> Service (ARCBS)ได ดําเนิน การ donor deferral for variant CJD riskตั้งแตปค.ศ.2000 โดย หาม มิใหผูที่เดิน ทาง ไป พัก อยูที่ประ เทศสหราชอาณาจักร อังกฤษ นาน 6 เดือน ตั้งแตปค.ศ. 1990-1996 บริจาค โลหิต ซึ่ง ทําใหผูบริจาค โลหิต ลดไป 5.3%ARCBS นําNATtesting มา ใชรวม ใน การ ตรวจHIV และ HCV ตั้งแต ปค.ศ. 2000 โดย วิธี ตรวจ ชนิดรวม ตัวอยาง (pools) และ ไดจัด ใหมี NAT testing 5จุด ทั่ว ประเทศ ทําให สามารถ ทํา NAT testing ได ทั่วประเทศนอก จาก นี้ ยัง ได มี โครงการ จัด ตั้ง NationalHemovigilance SystemARCBS มี quality management systemสําหรับงาน บริการ โลหิต ทําให งาน บริการ โลหิต ของARCBS มีคุณภาพ ใน แงความ ปลอดภัย เปน อยาง ดียิ่งนิวซีแลนด (New Zealand) 53NewZealand<strong>Blood</strong>Service (NZBS) ไดตั้ง ขึ้นเมื่อ1 มิถุนายน 1998 เพื่อ จัดหา โลหิต และ สวน ประกอบของ โลหิต ที่ปลอดภัย และ รับ ผิด ชอบ งาน บริการ โลหิต ของประเทศ กอน หนา นี้ความ รับ ผิด ชอบ ใน งาน บริการ โลหิตเปน หนาที่ของ Health and Hospital Service (HHS)และ เปน แบบ decentralizedการ จัด ตั้ง NZBS ก็เพื่อ ใหงาน บริการ โลหิต เปน งานระดับ ชาติเพื่อ ดําเนิน การ ใน เรื่อง ความ ปลอดภัย ของ โลหิตรวม ทั้ง พัฒนา national quality system และ GMPการ ตรวจ infectious markers ใช Abbott Prismและ ตรวจ หมูโลหิต โดย ใช Quattro Systemsวารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตรบริการโลหิต ปที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2546


30 ศรีวิไล ตันประเสริฐใน ปลาย ปค.ศ. 1999 เพื่อ ความ ปลอดภัย ของ โลหิตได นํา NAT มา ใช ใน การ ตรวจ HIV และ HCV RNAและ จัดทํา ระบบ donor deferral และ leucodepletionเชน เดียว กับ ประ เทศสหราชอาณาจักร เพื่อ ปองกัน ความเสี่ยง จากvCJDนิวซีแลนด ได เรง พัฒนา งาน บริการ โลหิต ให มี ความกาวหนา โดย อาศัย แบบ อยาง ของ ประเทศ อังกฤษ เปน หลักปจจุบันNZBS มีระบบ รับ รายงาน เหตุการณที่เกิด กับ ผูรับ โลหิต และ มีน โย บาย ที่ จะ จัด ตั้ง Haemovigilanceระดับ ชาติภาย ใน 3 ปขาง หนาอัฟริ กา (Africa)งาน บริการ โลหิต ใน หลาย ๆ ประเทศ ในอัฟริกา ยัง อยูใน ระหวาง การ จัด ตั้ง การ พัฒนา มีทั้ง ชา และ เร็ว ตาง ๆ กันไปโดย ภาพ รวม งาน บริการ โลหิต จะ ทํา อยูที่โรงพยาบาลเปน หลัก ซึ่ง ยัง มี ปญหา อีก หลาย อยาง ตั้งแต การ ขาดงบประมาณ ขาด เครื่องมือ เครื่องใช ที่ จะ ใช ใน การ ตอสูความ คุกคาม ของ การ ระบาด เชื้อ HIV, HCV, HBV ในประชาชน ทั่ว ไป และ ผู บริจาค โลหิต blood safety ในหลาย ๆ ประเทศ อยู ใน ระดับ ต่ํา ใน การ ประกัน ความปลอดภัย ของ โลหิต ที่ ใช ซึ่ง ก็ เนื่อง มา จาก ยัง ไม มี ความชัดเจน ของ นโยบาย ระดับ ชาติใน เรื่อง งาน บริการ โลหิต ไมมีระบบ การ คัด เลือก ผูบริจาค โลหิต ไมมีการ สงเสริม หรือการ คง ไวซึ่ง ผูบริจาค โลหิต มีอุบัติการ ของ โรค ติดเชื้อ จากการ รับ โลหิต ใน ผู บริจาค โลหิต สูง มี ผู บริจาค โลหิต ที่ ไมปลอดภัย และ ไม มี คุณภาพ ทั้ง นี้ ก็ เนื่อง มา จาก การ เปนประเทศ ที่ยาก จน ประชาชน ขาด ความ สนใจ และ ความ รับผิด ชอบ ตอ สังคม 54สําหรับ ใน บาง พื้น ที่จะ มีอุบัติการ ของ HBV, HIV และHCV สูง >20% เชน ใน บริเวณ sub Saharan ไดมีการแนะนํา ให ทํา pre-donation screening for HBsAg,anti-HIV และ anti-HCV ดวย วิธี rapid test ซึ่ง เชื่อ วาจะ ชวย ใน การ คัด กรอง ผูบริจาค โลหิต ไป ใน ระดับ หนึ่ง 55มี รายงาน วา นอก จาก การ ติดเชื้อ transfusiontransmittedvirus แลว ใน อูกัน ดา (Uganda) มีอุบัติการ ของ เชื้อ malaria สูง และ เปน สาเหตุการ เสีย ชีวิต มากที่สุด ใน สาเหตุ 10 ประการ แรก และ ใน ปค.ศ. 1998 มีประมาณ การณ วา จะ มี ผูปวย เปน โรค AIDS จํานวน 1ลาน คน จาก ประชากร ทั้ง ประเทศ 20 ลาน life expectation ของ ชาว อูกัน ดา คือ 35 ป56ในเคน ยา (Kenya) มี รายงาน วา ถึง แม จะ ได มี การตรวจ HIV แลว พบ วา ผูปวย ติดเชื้อ HIV จาก การ รับเลือด 20% 4จะ เห็น วาbloodsafety ในAfrica ยกเวนSouthAfrica ยัง ถือ วา ไมปลอดภัย เพียง พอ หรือ ถือ วา มีความเสี่ยง สูง นั่น เอง และ ถึง แมวา จะ ไดพยายาม จัด ใหมีระบบhaemovigilance แตใน ทาง ปฏิบัติก็ยัง ไมไดดําเนิน การอยาง จริงจัง และ ไดผล พออัฟริกา ใต (Republic of South Africa– RSA) 57เนื่อง จากอัฟริกา ใตเปน ประเทศ ที่มีชน ผิว ขาว และ ผิวดํา ปะ ปน กัน อยู ใน จํานวน ประชากร ทั้ง หมด มาก กวา 40ลาน มี ชน ผิว ดํา 77% ผิว ขาว 11%, 8.5% เปน ผิว สี(coloured) และ 2.5% เปน ชาว เอเซีย ทําใหมีวัฒนธรรมใน ประเทศ หลาก หลาย แตใน แงของ งาน บริการ โลหิต ไดพยายาม ที่จะ ทําใหความ แตก ตาง ของ เผาพันธุหมด ไป โดยไดกําหนด สื่อ ขึ้น วา“ บริจาค โลหิต เพื่อ ผูปวย ไมวา จะ เปนเชื้อ ชาติใด ก็ตาม” ทั้ง นี้ความ แตก ตาง ของ วัฒนธรรม ที่มีอิทธิพล ตอ การ จัดหา ผู บริจาค โลหิต เชน ชน ผิว ดํา คิด วาการ บริจาค โลหิต จะ มีผล ทําใหความ สามารถ ใน ความ เปนชาย ลดลง (virility) ภาษา ที่ตางกัน ก็เปน อุปสรรค อัน หนึ่งผูดอย การ ศึกษา ไมเขาใจ การ บริจาค โลหิต หรือ งาน บริการโลหิตการ ระบาด ของ เชื้อ HIV มีผล อยาง มาก ตอ การ จัดหาโลหิต ขอมูล ขาง ลาง นี้แสดง ใหเห็น ถึง การ ระบาด ของ HIVในอัฟริกา ใตซึ่ง มีผล ตอ ประเทศ อยาง มาก ใน ทุก ดาน รวมทั้ง การ จัดหา โลหิต ปลอดภัย• ใน ปค.ศ. 2001 70% ของ ผู ติดเชื้อ HIV/AIDS ใน เด็ก และ ผูใหญอาศัย อยูใน Sub-Saharan Af-Thai Journal of Hematology and Transfusion Medicine Vol. 13 No. 1 January-March 2003


<strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong> <strong>Around</strong> <strong>the</strong> <strong>World</strong>31rica• 80% ของ ประชากร จํานวน 2.5 ลาน คน ที่ตาย จากHIV/AIDS ใน ปค.ศ. 2001 อยูใน Sub-Saharan Africa• เด็ก และ ผูใหญกวา 3.8 ลาน คน ในอัฟริกา ใตมีการติดเชื้อ HIV ใน ปค.ศ. 2001• ประชากร มาก กวา5 ลาน คน ในอัฟริกา ใตติดเชื้อHIV• คาดวา มี ผู เสีย ชีวิต ประมาณ 5,500/ วัน• จาก รายงาน ผูติดเชื้อ ใน ป1999 จํานวน90,000คน พบ วา 20,000 เปน เด็ก ที่เกิด จาก แมที่ติดเชื้อ HIV• Life expectency ในอัฟริกา ใตลดลง 7 ปจากสาเหตุHIV/AIDS• ใน 12 ปขาง หนา คาเฉลี่ย life expectency จะลด จาก 64 ป เปน 47 ปใน ความ รูสึก ของ ชน ผิว ดํา ในอัฟริกา ตอ การ ระบาด ของHIV มอง วา เปน โรค ของ คน ผิว ขาว ใน ขณะ ที่ ชน ผิว ขาวมอง กลับ กัน การ ระบาด ของ HIV ในอัฟริกา ใต นับ วา เกิดขึ้น สูง มากเมื่อ เดือน เมษายน 2001 สถาน บริการ โลหิต7 แหง ไดรวม กัน เปน South African National <strong>Blood</strong> Service(SANBS) เพื่อ ดูแล ผู บริจาค โลหิต และ ผู รับ โลหิต ทั่วประเทศ ปจจุบัน ได มีน โย บาย ระดับ ชาติ เกี่ยว กับ งานบริการ โลหิต โดย มีรัฐบาล ใหความ สนับสนุน มีผูแทน จากรัฐบาล เขา มา รวม ในSANBS จัด ระบบ งาน บริการ โลหิตเปน non-profit organization และ รายได มา จาก การเก็บ เงิน เพิ่ม สําหรับ โลหิต จาก โรงพยาบาล ของ รัฐ และ ผูปวยจาก โรงพยาบาล เอกชน โลหิต ทุก หนวย จะ ไดรับ การ ตรวจHIV, HBV, HCV และ syphilis ใน แตละ ปมีการ จัดหาโลหิต มาก กวา ลาน หนวยเพื่อ ใหไดมา ซึ่ง โลหิต ที่ปลอดภัย สูงสุด SANBS เนนใน เรื่อง การ จัดหา ผู บริจาค โลหิต ที่ ปลอดภัย โดย การอบรม donor recruiter ซึ่ง คัด เลือก จาก ชุมชน ใหมีความรูความ เขาใจ ใน งาน จัดหา ผูบริจาค โลหิต ที่ปลอดภัย รวมทั้ง มีความ รูใน เรื่อง HIV เพื่อ ดําเนิน การ เกี่ยว กับ donorselection อยาง มีประสิทธิภาพ เพื่อ ลด ความ เสี่ยง จาก ผูบริจาค โลหิต ที่ติดเชื้อ HIV โดย เฉพาะ กลุม ผูบริจาค วัยรุนจะ จัด ใหมี educational programme เพื่อ ใหวัยรุน ไดมี ความ รู เกี่ยว กับ HIV เพื่อ จะ ได คง ไว ซึ่ง การ เปน safeblood donorsภาระ ของ SANBS คือ จัดหา โลหิต และ สวน ประกอบของ โลหิต ให พอเพียง แก ความ ตองการ เปน โลหิต ที่ปลอดภัย และ มีคุณภาพ รวม ทั้ง ใหบริการ ทาง การ แพทยที่เกี่ยว กับ การ ใชโลหิตเพื่อ ใหภาระ กิจ ดัง กลาว ประสบ ความ สําเร็จ SANBSจะ จัด ใหมีการ อบรม เจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน ใน ทุก ขั้นตอนของ การ ปฏิบัติ หนาที่ เชน การ อบรม donor recruiterอบรม เจาหนาที่ดาน customer serviceโดย เหตุ ที่ HIV/AIDS เปน ปญหา ใหญ ใน ภูมิภาค นี้SANBS จึง จัด ใหมี HIV management programmeโดย จัด ตั้ง คณะ ทํางาน ให ทบทวน ขบวน การ คัด เลือก ผูบริจาค โลหิต เพื่อ ลด ความ เสี่ยง จาก เชื้อ HIV ใน การ ใชโลหิต ซึ่ง คณะ ทํางาน ไดดําเนิน การ ใหมีการ ทํา เอกสาร แจกผูบริจาค โลหิต เนน ความ รับ ผิด ชอบ ที่ผูบริจาค ควร มีตอผูปวย และ พิจารณา ตน เอง วา สมควร บริจาค หรือ ไม และไมใหใชการ บริจาค โลหิต เปน การ ตรวจHIV เจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน ไดรับ การ ฝก อบรม ใหสามารถ ใชคําถาม เกี่ยว กับพฤติกรรม เสี่ยง ของ ผู บริจาค โลหิต รูปแบบ การ ตอบคําถาม ไดรับ การ ทบทวน ใหใชวิธีตอบ“ ใช” หรือ“ ไมใช”นอก จาก นี้ ผูที่ทํา การ คัด กรอง ผูบริจาค โลหิต คือ certified interviewer โดย การ ดําเนิน การ เชน นี้ SANBSเชื่อวา วิธีการ ดัง กลาว ทําใหไดผูบริจาค ที่ปลอดภัยงาน บริการ โลหิต ของ RSA คือ วา มี การ พัฒนา เปนอยาง ดี4 มี ระบบ SHOT ใน ทํานอง เดียว กับ ประเทศอังกฤษ เปน แบบ voluntary โดย ไดรับ ความ สนับสนุนจาก Hospital Transfusion Committee 50SANBS เชื่อ วา ผูปวย ในอัฟริ กา ใต ไดรับ โลหิต ที่ มีความ ปลอดภัย เชน เดียว กับ developed countriesวารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตรบริการโลหิต ปที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2546


32 ศรีวิไล ตันประเสริฐ<strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong> in Developed Countriesงาน บริการ โลหิต ใน อเมริกา คา นา ดา และ ยุโรป ซึ่งเปน ประเทศ ที่พัฒนา แลว มีการ พัฒนา อยูตลอด เวลา และถึง แมวา ใน อเมริกา และ บาง ประเทศ ใน ยุโรป ยัง มี paiddonor อยู เพื่อ ใช ใน การ ทํา plasma fractionation มีรายงาน วา อัตรา เสี่ยง ของ commercial plasma เทากับอัตรา เสี่ยง ของ voluntary blood donor 58ประเทศ เหลา นี้ไดศึกษา และ หา วิธีการ ที่จะ ทําใหโลหิตที่ใชมีความ ปลอดภัย สูงสุด ตองการ ใหเปน“zerorisk”โดย การ พยายาม ขจัดwindowperiod ใหเหลือ นอย ที่สุด ดวย วิธี NAT เริ่มตน ดวย การ ทํา NAT screeningใน plasma product กอน และ ปจจุบัน ได นํา NATscreening มา ใชตรวจinfectiousmarkers ใน โลหิตที่ใชกับ ผูปวย ทําใหคาใชจาย ของ โลหิต แตละ หนวย เพิ่มขึ้น มาก นอก จาก นี้ ยังระแวด ระวัง ใน การ ตรวจ สอบemerging viruses ศึกษา ถึง ธรรมชาติ และ อุบัติ การณติดเชื้อ ของ ไวรัส ตัว ใหม ๆ การ ศึกษา ดาน pathogeninactivation ก็ ไดรับ ความ สนใจ อยาง มาก โดย ได เริ่มจาก การ inactivate plasma ดวย S/D มา หลาย ปแลวปจจุบัน ได เริ่ม ทดลอง ที่ จะ ใช วิธีการ ดัง กลาว เพื่อinactivate viruses ที่ยัง หลง เหลือ หรือ virus ตัว ใหมๆให หมด ไป อเมริกา คา นา ดา และ หลาย ๆ ประเทศ ในยุโรป ทํา universal leukoreduction เพื่อ ขจัด adverseeffect ที่ จะ มี ตอ ผูปวย การ จัด ให มี Haemovigilancesystem หรือ SHOT เปน สวน หนึ่ง ที่ทําใหประเทศ เหลานี้ ได ทราบ ขอมูล ความ ผิดพลาด ที่ เกิด ขึ้น และ หา ทางปองกัน แกไข ไดอยาง มีประสิทธิภาพ และ ไดผลคาใชจาย เพื่อ ใหไดมา ซึ่ง คุณภาพ ที่ดีเลิศ ของ bloodsafety นั้น คง ประเมิน ไดวา สูง มาก แตเนื่อง จาก ประเทศเหลา นี้ร่ํารวย เขา จึง สามารถ กลาว วา สิ่ง ที่เขา จะ ตอง รับ ผิดชอบ คือ การ จัดหา โลหิต ที่ ดี และ ปลอดภัย ที่ สุด แก ผูปวยโดย ไม ตอง คํานึง ถึง คาใชจาย หรือ ปญหากฏหมาย ใด ๆและเพื่อ ใหไดมา ซึ่ง blood safety ที่ดีที่สุด ใน การ จัดการประชุม ระดับ ชาติ หรือ ระดับ นานา ชาติ จะ มี หัวขอ ที่เกี่ยวของ กับ blood safety เปน หัว เรื่อง สําคัญ ใน การประชุม รวม ทั้ง องคการ อนามัย โลก ก็ไดถือ วา ปญหา ความปลอดภัย ของ การ ใช โลหิต เปน งาน สําคัญ ตน ๆ ขององคการ ที่จะ ดําเนิน การ ซึ่ง ใน โอกาส <strong>World</strong> Health Day2000 ได กําหนด คําขวัญ“Safe <strong>Blood</strong> Starts WithMe- <strong>Blood</strong> Saves Lives” บน ปก หนังสือ ที่จัด พิมพในโอกาส นี้ โดย มีเนื้อ หา ที่เกี่ยวของ กับ ความ สําคัญ ใน เรื่องความ ปลอดภัย ของ การ ใช โลหิต องคการ อนามัย โลก ไดพัฒนา กลวิธีที่จะ ใหเกิด global blood safety ปรากฏ อยูในAide-Memoires :<strong>Blood</strong><strong>Safety</strong>andQualitySystems for <strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong>ใน ปค.ศ. 2003 จะ มี การ จัด ประชุม นานา ชาติ คือAdvances in Transfusion <strong>Safety</strong> 2003 ซึ่ง มีกําหนดจะ จัด ใน เดือน มิถุนายน 2003 โดย ความ รวมมือ ของInternational Association for Biologicals (IABs)Center for Biological Evaluation and Research,U.S. Food and Drug Administration (CBER,FDA) American Association of <strong>Blood</strong> Bank(AABB) ไดครอบ คลุม หัวขอ ใน การ ประชุม เรื่อง bloodsafety in developing countries, emerging infectious agents, advance in donor testing, infectious agent inactivation and removal, diagnostictests : TSE removal and inactivation, controls ofbacterial contamination, value of leukoreductionและ ที่จะ ขาด ไมไดก็คือ donor recruitment and selection : improve donor screening, haemovigilancesystems - surveillance and management ofmedical errors 59 ซึ่ง จะ เห็น วา เนื้อ หา การ ประชุม จะ ครอบคลุม ทุก แงมุม ของ การ ใหไดมา ซึ่ง blood safetyสรุป<strong>Blood</strong> safety ใน โลก มี ความ แตก ตางกัน อยางแนนอน ถึง แมวา จะ ได มี ความ พยายาม ที่ จะ กําจัด ความThai Journal of Hematology and Transfusion Medicine Vol. 13 No. 1 January-March 2003


<strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong> <strong>Around</strong> <strong>the</strong> <strong>World</strong>33เสี่ยง ใด ๆ จาก การ รับ โลหิต ใหหมด ไป คง เปน ที่ยอม รับ วาzero risk ยัง ไมสามารถ ทํา ไดแมใน developed countries ที่มีวิวัฒนาการ ความ กาวหนา ทาง เทคนิค อยาง สูง ในขณะ เดียว กัน developing countries ไดพยายาม อยางยิ่ง ที่จะ ไป ใหถึง จุด zero risk ดวย คําถาม ก็คือ ผูปวย ในประเทศ ที่ยาก จน สามารถ ที่จะ ไดใชโลหิต ที่ปลอดภัย สูงสุดเทากับ ประเทศ ที่ร่ํารวย หรือ ไม จะ มีโอกาส ไหม ที่มนุษยในโลก จะ ไดใชโลหิต ที่มีความ ปลอดภัย เทา เทียม กันประเทศ HCVTest HIV Testสโลวัคนิวซีแลนดฮองกงสิงคโปร-Remark : * Plasmafractionationonly** PlusParvoB19บริจาค 18, 60, 61 อังกฤษ (England)ประเทศ ที่ ใช NAT testing ใน การ ตรวจ โลหิต ที่ รับประเทศ ที่ทํา universal leukoreduction 62,63คา นา ดา (Canada)ประเทศ HCVTest HIV Test ไอรแลนดเหนือ (North Ireland)สกอตแลนด (Scotland)เวลล (Wales)ฝรั่งเศส (France)ออสเตรีย (Austria)โปรตุเกส (Portugal)สวิตเซอรแลนด (Switzerland)ลัก เซมเบิรก (Luxemburg)นิวซีแลนด (New Zealand)สา ธารณรัฐ อาหรับอิมิเรส (United Arab Emirates)เยอรมัน (Germany)อเมริกา (Rhode Island)อเมริกาคา นา ดาโคลัมเบียออสเตรเลียเกาหลีญี่ปุนเบลเยี่ยมฝรั่งเศสเยอรมันอังกฤษสวิตเซอรแลนดสเปนอิตาลีเนเธอรแลนดกรีกโปรตุเกสนอรเวยสวีเดน *เดนมารก *โปแลนดpersonal contactฟนแลนด**------------ประเทศ ที่จัด ตั้งhaemovigilancesystem ใน ระดับ National level 50อเมริกา (America)คา นา ดา (Canada)ญี่ปุน (Japan)ออสเตรเลีย (Australia)อัฟริกา ใต (South Africa)ออสเตรีย (Austria)ลัก เซมเบิรก (Luxemburg)เดนมารก (Denmark)วารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตรบริการโลหิต ปที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2546


34 ศรีวิไล ตันประเสริฐเนเธอรแลนด (Ne<strong>the</strong>rlands)ฝรั่งเศส (France)สวีเดน (Sweden)เยอรมัน (Germany)สหราชอาณาจักร (United Kingdom)กรีก (Greece)ไอรแลนด (Ireland)กิตติกรรมประกาศThe author would like to thank Dr. Che KitLin, Dr. Takeo Juji, Dr. Elizabeth Dax, ProfessorDr. Jukka Koistenen for providing <strong>the</strong> information of blood safety in Hong Kong, Japan, Australia and Finland respectively.เอกสาร อางอิง11. Safe blood starts with me. WHO-Geneva 2000:8 .12. Strategies for safe blood transfusion. Motivation,Recruitment and Retention of blood donors; QualityManagement in <strong>Blood</strong> Transfusion Service. WHO-SEARO,1998SEA/HLM/311,5-17:47-54.13. Weber Bernard. Laboratory Diagnosis of HIV Infection:role of Combined HIV p24 Antigen and Antibodyassays. J Lab Med 2001:25: 226-31.14. Bharucha ZS. Risk Management Strategies for HIV in<strong>Blood</strong> Transfusion in Developing countries. Vox Sang2002:23(Suppl.1) :167-70.15. Dhingra Neelam. <strong>Blood</strong> safety in <strong>the</strong> developing worldand WHO Initiatives. Vox Sang 2002;83 (Suppl.1) : 173-7.16. Hewlett IK, Epstein JS. Food and Drug AdminitrationConference on <strong>the</strong> Feasibility of Genetic Technologyto use <strong>the</strong> HIV Window in Donor Screening.Transfusion 1997;37:352-3.17. Gallarda Jamu L, Dragon Elizabeth. <strong>Blood</strong> Screeningby Nucleic Amplification Technology : Current Issue.FutureChallenges. MolecularDiagnosis 2000: 5 : 11-20.18. Corash L. Inactivation of viruses, bacteria protozoaand leukocyts in platelet concentrates. Vox Sang1998;74 (Suppl 2): 173-6.19. Hillyer CD, Landford KV, Roback JD et al. Transfusionof <strong>the</strong> HIV seropositive patient immunomodulation,viral reactivation and limiting exposure to EAVm CMVand HHV 6,7 and8 transfusion medicine review 1999;13:1-17.10. Symposium at AABB on Advancing <strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong><strong>World</strong>wide, Outlook on <strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong>. Winter 2001;3.1:1.11. Faber Jean-Claude. Haemovigilance around <strong>the</strong> world.Vox Sang 2002;83 (Suppl.1):71-6.12. Strategies for Safe <strong>Blood</strong> Transfusion. Screening ofblood WHO SEARO 1998: 18-23.13. <strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong> and Clinical Technology Strategy 2000-2003. WHO Geneva: 2-3.14. Van Gemen B, Kievits T, Schukkink R, etal.Quantification of HIV-1/ RNA in plasma using NASBA duringHIV-1primaryinfection.JViralMeth1993;43:177-87.15. Benjamin Richard J. Nucleic Acid Testing: Updateand Applications, Seminar in Hematology 2001;37(suppl 9):12-4.16. Le Corfec E, Le Pont F, Treckivell HC, et al. DirectHIV Testing in <strong>Blood</strong> Donation: Variation of <strong>the</strong> Yieldwith Detection Threshold and Pool Size. Transfusion1999;39:1141-4.17. Both WK, Buhr, Dresten C, et al. NAT and Viral <strong>Safety</strong>in <strong>Blood</strong> Transfusion. Vox Sang 2000:78 (suppl 2): 257-9.18. Report of Interorganizational Task Force on NucleicAcid Amplification of <strong>Blood</strong> Donors. Transfusion 2000;40:144-53.19. Quinn TC, Brookmeyer R, Kline R, Shepherd M,Paranjape R, Mechendale S, Gadkari DA, Bolliger R.Feasibility of pooling sera for HIV-1 viral RNA todiagnose acute primary HIV-1 infection and estimateHIV incidence. AIDS 2000;14:2751-7.20. Gurtler L, Muhlbacher A, Michl U, Hofmunntt, MalchiorW. Reduction of <strong>the</strong> diagnostic window with a newcombined p24 antigen and human immunodeficiencyvirus antibody screening assays. J Viral Meth 1998;75:27-38.Thai Journal of Hematology and Transfusion Medicine Vol. 13 No. 1 January-March 2003


<strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong> <strong>Around</strong> <strong>the</strong> <strong>World</strong>3521. Ly TD, Laperche S, Courouer AH. Early Detection ofHuman Immunodeficiency Virus Infection Using Thirdand Fourth- Generation Screening Assays. Eur J ClinMicrobial Infect Dis 2001; 20:104-10.22. Weber B, Fall EHM, Berger A, Daerr HW. Reductionof window by fourth generation human immunodeficiency virus screening assay. J Clin Microbio1998; 36:2235-9.23. Tanprasert S, Chiewsilp P, Tira Watnapong, Oota S.NAT Screening of Infectious Markers feasible in Thai<strong>Blood</strong> Donors; Oralpresentation Vancouver ISBT 2002,August24-29.24. Dodd- Royer Y. Pathogen Inactivation: Mechanismsof action and invitro Efficacy of Various AgentS. VoxSang 2002;83 (Suppl 1):267-70.25. Horowitz B, Bonomo R, Prince AM, Chin SN, BrotmanS, ShulmanRW. Solvent /detergent-treated plasma ;Avirus-inactivated substitute for fresh frozen. <strong>Blood</strong>1992;79:826-31.26. Muller-Breikreutz K, Mohr H. Hepatitis C and humanimmunodeficiency virus RNA degradation bymethylene blue / light treatment of human plasma. JMed Virol 1998;56:239-45.27. Bernade LE, Shumaker J, Xu Y, Chin X, Dodd RY.Inactivation of free and cell associated human immunodeficiencyvirus in platelet suspension by aminomethytrimethyl psoralen and ultraviolet light. Transfusion1994;34:680-4.28. Wagner SJ, Skripchenko A, Pugh JC, Suchmann DB,Ijaz MK. Duck hepatitis B photoinactivation bydemethyl metylene blue in RBC suspensions, Transfusion2001;41: 1154-8.29. Corash L, Lin L, Weisehaln G. Use of8. Methoxypsoralen and long wavelength ultraviolet radiation fordecontaminationofplateletconcentrates.<strong>Blood</strong>Cells1992;18:57-74.30. Moroff G, Wagner S, Benade L, Dodd RY. Factorsinfluencingvirus inactivation and retention of plateletproperties following treatment with aminomethytrimethyl psoralen and ultraviolet A light. <strong>Blood</strong> Cells1992;18:43-56.31. Wagner SJ, Bardossy L, Moroff G, Dodd RY, BlajchmanMA. Assessment of <strong>the</strong> hemostatic effectiveness ofhuman platelets treated with aminomethyltrimethylpsoralen (AMT) and ultraviolet A light (UVA) using arabbit ear bleeding time technique <strong>Blood</strong> 1993;82:3489-92.32. AuBuchon JamesP.Pathogeninactivationincellularblood components: Clinical Trials and Implications ofIntroduction to Transfusion Medicine. Vox Sang2002;83(Suppl 1):271-5.33. Lin L. Inactivation of cytomegalovirus in plateletconcentrates using Helinx technology: SeminarHematol 2001; 38 (suppl 11):27-33.34. Luban NLC. Prevention of transfusion associated graftversus-hostdisease by inactivation ofT cells in plateletcomponents.Semin Hematol 2001:38 (Suppl 11) :34-45.35. Wollowitz S. Fundamenteds of <strong>the</strong> psoralen-basedHelinx technology for inactivation of infectionspathogens and leukocytes in platelets and plasma.Semin Hematol 2001;38 ( suppl 11) : 4-11.36. Klein HG.ed. Standard for blood bank and transfusionservices 17th ed Ba<strong>the</strong>sda, MD. American Associationof <strong>Blood</strong> Banks, 1996.37. HumbatJR, Flesmin CD, Winsor EL. Early damage togranulocytesduring storage. Semin Hematol 1991;28:10-3.38. Heaton A. Timing of leukodepletion of <strong>Blood</strong> products.Semin Hematol 1991:28:1-2.39. Blajchman MA. The effect of leukodepletion onallogeneic donorplateletsurvivalandrefractorinessinanimal model. Semin Hematol 1991:28:14-7.40. American Association of <strong>Blood</strong> Banks. Technicalmanual 12th edition, Administration of <strong>Blood</strong> andComponents, Washington D.C. 1996:451.41. Lutz, Dzik WH. Large volume hemocytometer chamberfor accurate counting of white cells (WBC’s) in WBCreducedplatelet: Validation and applicalion for qualitycontrol of WBC-reduced platelets by apheresis andfiltration. Transfusion 1993;331:409-12.42. Vacula M, Simpson SJ, Martension JA, et al. A flowcytometic method for counting very low levels of whilecells in blood and blood components. Transfusion1993;33:262-7.วารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตรบริการโลหิต ปที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2546


36 ศรีวิไล ตันประเสริฐ43. Brecher Mark E. Bacterial Contamination of <strong>Blood</strong>Products, Symposium at AABB on Advancing <strong>Blood</strong><strong>Safety</strong> <strong>World</strong>wide 2000, Outlook on <strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong>,Winter 2001; 3.1:4-5.44. Hashimoto Hiroshi. Prevention of Bacterial Contaminatioin in <strong>Blood</strong> Components, Securing safe blood,The Third Red Cross and Red Crescent Symposium on<strong>Blood</strong> Program in <strong>the</strong> Asian Region 2001:176-83.45. Goldman Mindy. Challenges in Developinga BacterialDetection System. Vox Sang 2002;83 (suppl 1) : 125-7.46. Engefriet CP, Reesink HW. Haemovigilance SystemVox Sang 1999;77:110-20.47. Serious Hazards of Transfusion Annual Report 2000-2001,ISBNNumber0953278948.48. Williamson Lorna M. Using Haemovigilance data toset <strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong> Priorities. Vox Sang 2002;83 (suppl 1):065-9.49. Todd Audrey. Haemovigilance- closing <strong>the</strong> loop. VoxSang 2002;83 (suppl1) :013-6.50. Faber Jean-Clande. Haemovigilance around <strong>the</strong> <strong>World</strong>.Vox Sang 2002;83 (Suppl.1):071-6.51. ศรี วิไล ตัน ประเสริฐ. Qualiity and Adequacyin Transfusion Service, คํา บรรยาย การ ประชุม ใหญ วิชา การ ประจํา ป2544 ISBN 974-8226-39-5:1-11.52. Lin Che Kit. Quality System in <strong>Blood</strong> TransfusionService Hongkong Experience, Proceedings SecuringSafe <strong>Blood</strong> III, The Third Red Cross and Red CrescentSysmposim in <strong>the</strong> Asian Region 2001:248-80.53. Country Report I-V-The Progress/Change in threeyears, Proceedings Securing Safe <strong>Blood</strong> III, The ThirdRed Cross and Red Crescent Symposium in <strong>the</strong> AsianRegion 2001:27-130.54. Adeeryi JO. The Challenge of <strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong> in Africa,Transfusion Clinique Et Biologique 2001;8( Suppl.1):225.55. Allain JP, Adarkwa M, Sarkodie F, Owusu-Ofori S,Predonation Screening: Improving Cost-Efficiency inResource Poor, Highly Endemic Areas, TransfusionCliniqkue Et Biologique 2001;8( Suppl.)225-33.56. Recruitment of <strong>Blood</strong> Donors in an HIV Endemic Area,VI Regional European Congress of <strong>the</strong> InternationalSociety of <strong>Blood</strong> Transfusion, Yarusalem, Isarael, May9-13,1999:62a-62b.57.Dianedeconing,ChallengeFacingDonorRecruitmentin South Africa Vox Sang 2002;83 (Suppl):237-41.58. United States General Accounting Office. <strong>Blood</strong>Plasma <strong>Safety</strong>: Plasma product risks are low of goodmanufacturing practice are Followed, 1998; GAO/HEHS 98-205, 1-45 Washington DC, GAO.59. AdvancesinTransfusion<strong>Safety</strong>- 2002. TransfusionToday, June 2002 ISSN:1015-3276.60. Committee for Proprietary Medicinal Products: TheApplication of Genome Amplification Technology(GAT) to plasma fractionation pools CPMP/BWP/390/97(rev 6)61. Flesland O, Krusires T, Gudmundsson S, Saf wenbargJ, Jorgensen J. NAT Testing in <strong>the</strong> Nordic Countries.Vox Sang 2002;83(Suppl 2):3962. Jorgensen J. NAT Testing in <strong>the</strong> Nordic Countries.Vox Sang 2002;83 (suppl 2) :39.63. Choong Lai Hock, Lam Sally, Lale Suma, Teo Diana.HCV NAT Testing of Singapore <strong>Blood</strong> Donors. VoxSang 2002;83 (suppl.2):42.64. Countries with 100% Leukocyte Reduction Mandate.Outlook on <strong>Blood</strong> <strong>Safety</strong>. Winter 2001; 3.1:10.65. Masse M. Universal Leukoreduction of Cellular andPlasma Components: Process control and performanceof <strong>the</strong> leukoreduction Precess. Transfusion Clin Biol2001;8:297-302.Thai Journal of Hematology and Transfusion Medicine Vol. 13 No. 1 January-March 2003

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!