16.07.2015 Views

Respiratory support in cardiothoracic surgery

Respiratory support in cardiothoracic surgery

Respiratory support in cardiothoracic surgery

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การดูแลระบบทางเดินหายใจ ในผูปวยที่ไดรับการผาตัดหัวใจและทรวงอก(<strong>Respiratory</strong> Support <strong>in</strong> Cardiothoracic Surgery)พ.อ. อนันต วัฒนธรรมเปนที่ทราบกันดีแลววา ในปจจุบันมีความกาวหนาทางดาน การดมยา การผาตัด และเทคนิคของการทํา Cardiopulmonary bypass (CPB) แตยังพบภาวะแทรกซอนทางระบบทางเดินหายใจไดบอยโดยเฉพาะอยางยิ่ง การเกิด lung <strong>in</strong>jury หลังการผาตัด นอกจากนี้ยังพบภาวะออกซิเจนในเลือดต่ํา และปอดอักเสบ ไดถึง 3-10 เปอรเซ็นต ของผูปวย ดังนั้นการ ดูแลผูปวยทางดาน ระบบทางเดินหายใจ และการใชเครื่องชวยหายใจในผูปวยเหลานี้ จึงมีความสําคัญอยางยิ่งผลตอระบบทางเดินหายใจที่เกิดจาก การผาตัดหัวใจและทรวงอก และการดมยาสลบ (<strong>Respiratory</strong>effect of <strong>cardiothoracic</strong> <strong>surgery</strong> and general anesthesia)1. Lung volumeการผาตัดทางหัวใจ และทรวงอก และการผาตัดทางชองทองดานบน (upper abdom<strong>in</strong>al <strong>surgery</strong>)จะทําให lung volume ลดลง จากการที่กลามเนื้อกระบังลมทํางานผิดปกติ (diaphragmatic dysfunction),ความเจ็บปวดหลังการผาตัด , และ spl<strong>in</strong>t<strong>in</strong>g โดยที่มีการลดลงของ vital capacity ประมาณ 50-60เปอรเซ็นต ซึ่งจะมีผลถึง 1 สัปดาห นอกจากนั้นยังมีการลดลงของ functional residual capacity (FRC)ประมาณ 30 เปอรเซ็นต การที่ FRC ต่ํากวา clos<strong>in</strong>g volume ทําใหมี atelectasis, ปอดอักเสบ, และventilation/perfusion (V/Q) mismatch<strong>in</strong>g ตามมา2. การควบคุมการหายใจ (Control of ventilation)ยาสลบจะมีผลกดการตอบสนองของการหายใจ ( Ventilatory response) ตอภาวะ hypoxia และhypercapnia ซึ่งเปนผลมาจากกาซ volatile และยาที่ใหทางเสนเลือดเพื่อชในการดมยาสลบ แทบทุกตัว3. การแลกเปลี่ยนกาซ (Gas exchange)การที่ผูปวยอยูในทานอนหงายในขณะผาตัดและหลังผาตัด ทําใหการเรียงตัวของ Zone 1, 2, 3เปลี่ยนไปเปนจากทางดาน anterior ไปยัง posterior แทนที่จะเปนยอดปอด ( apex) ไปฐานของปอด(base) เหมือนปกติ ซึ่งเปนผลทําใหเกิดภาวะ hypoxemia ในระหวางผาตัดและหลังผาตัดได4. Lung defense mechanismsยาสลบและยาลดอาการปวดชนิด opioids จะมีฤทธิ์กดการไอและทําให mucociliary clearanceลดลง ซึ่งทําใหผูปวยมีความเสี่ยงตอการเกิด atelectasis และการติดเชื้อทางระบบทางเดินหายใจเพิ่มขึ้น1


ภาวะแทรกซอนทางระบบทางเดินหายใจ ที่เกิดขึ้นหลังการผาตัดหัวใจและทรวงอก (Pulmonarycomplication after <strong>cardiothoracic</strong> <strong>surgery</strong>)ภาวะแทรกซอนทางระบบทางเดินหายใจที่เกิดขึ้นหลังการการผาตัดทางหัวใจและทรวงอกที่พบบอยไดแก• Atelectasis• Pleural effusions• Pneumonia• Pulmonary edema (Cardiogenic และ ARDS)• Pulmonary embolism• Phrenic nerve <strong>in</strong>jury• Pneumothorax• Sternal wound <strong>in</strong>fection และ mediast<strong>in</strong>itis• Prolonged mechanical ventilationการใชเครื่องชวยหายใจในผูปวยที่มีภาวะการหายใจลมเหลว หลังการผาตัดหัวใจและทรวงอกในปจจุบันนี้เปนที่ยอมรับกันวาการชวยหายใจแบบแรงดันบวก (Positive pressure ventilation) มีประโยชนในการชวยชีวิตผูปวย ดังนั้นจึงเปนสิ่งจําเปนที่แพทยควรมีความรูพื้นฐานในการใชเครื่องชวยหายใจ เพื่อนําไปสูการดูแลผูปวยที่ตองใชเครื่องชวยหายใจไดอยางถูกตองและ เหมาะส ม กอนที่จะเขาใจถึงการตั้งเครื่องชวยหายใจ แพทยควรรูคําศัพทที่เกี่ยวของกับการใชเครื่องหายใจเปนอันดับแรก.• Tidal volume (V T ) คือ ปริมาตรอากาศที่ไหลเขาหรือออกจากปอดผูปวยตอหนึ่งครั้งของการหายใจปกติ มีหนวยเปน มิลลิลิตร หรือ ลิตร.• M<strong>in</strong>ute volume (MV) คือปริมาตรลมหายใจออก (exhaled tidal volume) ทั้งหมดใน 1 นาที มีหนวยเปนลิตร/นาที.• Airway pressure (P aw ) คือความดันในหลอดลมขณะใชเครื่องชวยหายใจ มีหนวยเปน ซม.น้ํา.• Peak <strong>in</strong>spiratory pressure (PIP) คือคาความดันในหลอดลมที่วัดไดสูงสุดในชวงจังหวะการหายใจเขา เนื่องจาก PIP นี้จะเปนคา Pawที่สูงที่สุดในชวงหายใจเขา ดังนั้นอาจเรียกวา peak airwaypressure.• End expiratory pressure (EEP) คือ ระดับความดันในหลอดลมในชวงสิ้นสุดการหายใจออก ในภาวะปกติ EEP จะเทากับ ศูนย หรือที่เรียกวา zero end expiratory pressure (ZEEP).• Positive end expiratory pressure (PEEP) คือภาวะที่มีอากาศคางอยูในปอดในชวงการสิ้นสุดการหายใจออกกอนหายใจเขา ทําใหความดันในทางเดินหายใจเปนบวก.2


• Inspiratory flow rate (IF) คืออัตราการไหลของอากาศที่เขาสูปอดมีหนวยเปนลิตร/นาที.• Sensitivity (S) คือความไวของเครื่องที่กําหนดใหผูปวยตองออกแรงในการทําใหความดันในหลอดลมเปนลบต่ํากวาระดับ EEP เพื่อกระตุนใหมีการไหลของอากาศจากเครื่องชวยหายใจเขาสูปอด เปนการเริ่มตนการหายใจเขา.การตั้งเครื่องหายใจในผูปวยหลังการผาตัดหัวใจและทรวงอก (Initial ventilator sett<strong>in</strong>gs)1. Mode of ventilationวิธีการชวยหายใจในผูปวยทีมีภาวะการหายใจลมเหลวที่เกิดขึ้นหลังการผาตัดหัวใจและทรวงอกนั้นมักนิยมใช A/C (CMV) mode เพื่อใหกลามเนื้อที่ใชในการหายใจไดพัก และลดงานที่ใชในการหายใจ(work of breath<strong>in</strong>g). การใช SIMV เปนวิธีการชวยหายใจเบื้องตนนั้น จะทําใหงานที่ใชในการหายใจเพิ่มสูงขึ้น2. Fractional <strong>in</strong>spired oxygen concentration ( FiO 2 )โดยทั่วไปควรใช FiO2 ที่นอยที่สุดที่สามารถทําใหออกซิเจนในเลือดมีคาอยูในระดับที่เหมาะสมคือPaO 2 ≥ 60 มม. ปรอท หรือ SaO 2 ≥ 90% การใหผูปวยไดรับ FiO 2 ที่มากกวา 0.6 เปนเวลานานกวา48 ชั่วโมง อาจทําใหเกิด oxygen toxicity ได โดยทั่วไปการตั้ง FiO 2 มีหลักเกณฑดังตอไปนี้• ในกรณีที่ปอดปกติ พิจารณาตั้ง FiO2 0.4 – 0.6 แลวปรับ FiO 2 จากคาออกซิเจนที่ไดจากคากาซของเลือด หรือ oxygen saturation โดยมีจุดมุงหมายเพื่อให PaO 2 ≥ 60 มม.ปรอท หรือ SaO 2≥ 90% ก็เพียงพอ• ในกรณีที่ปอดผิดปกติหรือไมทราบเกี่ยวกับโรคของผูปวย ควรพิจารณาให FiO2 เทากับ 1.0หลังจากนั้น 30 นาทีควรลด FiO 2 ลง โดยประเมินจากคากาซเลือดแดง หรือ oxygensaturation.3. Tidal volumeจุดมุงหมายของการตั้ง V T คือเพื่อใหได m<strong>in</strong>ute ventilation ที่เหมาะสมไมทําใหเกิด alveolarhypoventilation และปองกันไมใหเกิด volutrauma ในปจจุบันควรตั้ง V T เทากับ 8-10 mL/ kg ofpredicted body weight (PBW) หลังจากที่ตั้ง V T แลวควรติดตามวัดคา PIP และ plateau pressure (P plat ) ทุกครั้ง เพื่อปองกันไมใหเกิด volutrauma ซึ่ง P plat ที่เหมาะสมควรมีคา นอยกวาหรือเทากับ 30ซม.น้ํา4. อัตราการหายใจ ( respiratory rate )จุดมุงหมายของการตั้งอัตราการหายใจคือใหได m<strong>in</strong>ute ventilation ที่เพียงพอไมทําใหเกิด alveolarhypoventilation เมื่อใชวิธีการชวยหายใจแบบ CMV ในระยะเบื้องตนควรพิจารณาตั้งอัตราการหายใจรวมกับ V T เพื่อใหได MV ประมาณ 120 มล./กก. เชนในผูปวยที่หนัก 60 กก. ถาตั้ง V T 600 มล. และตองการให MV 120 มล./กก. (เทากับ 7.2 ลิตร) เพราะฉะนั้นควรตั้งอัตราการหายใจ 12 ครั้ง/นาที3


หลังจากนั้น 15- 30 นาที ควรเจาะกาซเลือดแดง เพื่อดูคา PaCO 2 และ pH เพื่อปรับ V T และอัตราการหายใจ. สวนในกรณีที่ใช A/C mode เราตั้งอัตราการหายใจเปน back up rate โดยทั่วไปควรตั้งอัตราการหายใจ 12-18 ครั้งตอนาที ในผูปวยเหลานี้5. อัตราการไหลของอากาศ ( flow rate ) หรือ <strong>in</strong>spiratory timeถาใชเครื่องชวยหายใจแบบปริมาตร (volume controlled ventilation, VCV) มักตั้งอัตราการไหลของอากาศที่ 60 ลิตร ตอนาที แตในกรณีที่ใชเครื่องชวย หายใจ แบบควบคุมแรงดัน (pressure controlledventilation, PCV) หรือ dual mode เชน pressure regulated volume control (PRVC) ควรตั้ง <strong>in</strong>spiratorytime 1 วินาที บางภาวะที่ผูปวยมีการเพิ่ม respiratory drive เชน ความวิตกกังวล และความเจ็บปวดเปนตน ในภาวะเหลานี้จะตองการอัตราการไหลของอากาศสูงขึ้น.6. Flow pattern ( flow wave form )กรณีของ VCV มี flow waveform 3 แบบ ไดแก square waveform ( constant flow หรือrectangular flow pattern ), decelerat<strong>in</strong>g flow pattern และ s<strong>in</strong>usoidal flow pattern (s<strong>in</strong>e waveform ) ในทางคลินิกนิยมใชเพียง 2 แบบคือ square และ decelerat<strong>in</strong>g flow pattern.Square waveform พบวาอัตราการไหลของอากาศจะขึ้นเร็ว ตอมาอัตราการไหลจะคงที่ ซึ่งจะทําให T i สั้น และ T E ยาวขึ้น ( I: E ลดลง ) เหมาะสําหรับผูปวยที่มีหลอดลมตีบ เชน โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคหืด เปนตน ขอเสียคือมี T i สั้นจะทําใหการกระจายของอากาศไปยังถุงลมไมดี ในผูปวยที่มีออกซิเจนในเลือดต่ํา ควรเลือกใช decelerat<strong>in</strong>g pattern แทน.Decelerat<strong>in</strong>g flow pattern อัตราการไหลของอากาศสูงสุดในระยะเริ่มแรก และคอยลดลงมาเพราะฉะนั้นพบวา decelerat<strong>in</strong>g flow ทําให mean airway pressure สูงขึ้น, PIP ต่ําลง และกระจายตัวของอากาศดีขึ้นเมื่อเทียบกับ Square หรือ S<strong>in</strong>e waveform.7. Sensitivityสามารถใชไดทั้ง pressure trigger และ flow trigger ( flow – by ) มักนิยมตั้งความไวไวที่ -1 ถึง -2 ซม. น้ํา สําหรับ pressure trigger สวนการใช flow trigger นั้น จะตองตั้ง base flow และ flowsensitivity ควรตั้ง base flow ของกาซที่ 5- 20 ลิตรตอนาที และ flow sensitivity 2 ลิตรตอนาที8. Positive end expiatory pressure ( PEEP )จุดมุงหมายของการใช PEEP คือ ปองกันหรือแกไขภาวะ atelectasis, เพิ่มออกซิเจนในหลอดเลือดในภาวะที่มี hypoxemia และ ลด lung <strong>in</strong>jury จากถุงลมปดและเปดที่เกิดขึ้นซ้ํา ๆ ( alveolar collapseand reopen<strong>in</strong>g ) ในกรณีที่ผูปวยมีภาวะ acute lung <strong>in</strong>jury (ALI) หรือ ARDS รวมดวย โดยทั่วไปมัก ตั้งPEEP 5 ซม. น้ํา ในกรณีที่ผูปวยมีภาวะ ALI หรือ ARDS รวมดวย ควรตั้ง PEEP 8-16 ซม. น้ํา หรือมากกวา ซึ่งจะไมกลาวในรายละเอียด ณ. ที่นี้9. สัญญาณเตือน (Alarm)4


Alarm เปนอุปกรณเพื่อที่จะทําใหเครื่องชวยหายใจทํางานอยางมีประสิทธิภาพ และเพิ่มความปลอดภัยแกผูปวย ดังนั้นการตั้งสัญญาณเตือนจึงมีความสําคัญอยางยิ่งตารางที่ 1 การตั้งเครื่องชวยหายใจระยะเบื้องตน ในผูปวยที่ไดรับการผาตัดหัวใจหรือทรวงอกSett<strong>in</strong>gขอแนะนําModeA/C (CMV)Volume / Pressure control Pressure, Volume, หรือ dual mode เชน PRVCFiO21.0Tidal Volume 8-10 ml / kg of PBW โดยที่ plateau pressure < 30 ซม.น้ํา,4 – 8 ml / kg of PBW ในกรณีที่เปน ALI หรือ ARDSRate 12-18 ครั้งตอนาทีInspiratory time 1 วินาที ในกรณีที่ตั้งแบบ PCVFlow rate 60 ลิตรตอนาที ในกรณีที่ตั้งแบบ VCVFlow waveformDecelerat<strong>in</strong>gSensitivity - 1 ถึง - 2 ซม. น้ํา สําหรับ pressure triggerPEEP 5 ซม. น้ําการติดตามดูแลผูปวยในขณะที่ไดรับเครื่องชวยหายใจเครื่องชวยหายใจมีประโยชน ในการชวยชีวิตผูปวย แตถาผูใชไมมีความชํานาญ และไมไดมีการติดตามดูแล อยางใกลชิด ในขณะที่ผูปวยไดรับเครื่องชวยหายใจ อาจทําใหผูปวย มีภาวะแทรกซอนเกิดขึ้นได ดังนั้นการเฝาติดตามผูปวยในขณะที่ไดรับเครื่องชวยหายใจจึงมีความสําคัญตารางที่ 2 เกณฑการติดตามที่ใชในกรณีผูปวยไดรับเครื่องชวยหายใจการแลกเปลี่ยนแกสPaO 2 , O 2 Saturation, PaO 2 , pHAirway pressurePeak airway pressurePlateau pressurePEEP (external และ auto PEEP)<strong>Respiratory</strong> waveformBreath<strong>in</strong>g patternอัตราการหายใจM<strong>in</strong>ute VentilationTidal volume5


ระบบหัวใจและหลอดเลือดBP , CO, Ur<strong>in</strong>e outputการหยาเครื่องชวยหายใจการหยาเครื่องชวยหายใจในผูปวยที่ไดรับการผาตัดหัวใจและทรวงอกนั้น ไมมีความแตกตางกับผูปวยที่ไดรับเครื่องชวยหายใจจากสาเหตุอื่นๆ ขอบงชี้ที่แสดงวาผูปวยพรอมที่จะหยาเครื่องชวยหายใจไดแสดงในตารางที่ 3ตารางที่ 3 เกณฑที่ใชในการประเมินวาผูปวยพรอมที่จะหยาเครื่องชวยหายใจ1. <strong>Respiratory</strong> criteriaPaO 2 ≥ 60 มม. ปรอท ขณะที่ได FiO 2 ≤ 40-50% , PEEP ≤ 5-8 ซม.น้ําPaCO 2 ปกติ หรือใกลเคียงกับ basel<strong>in</strong>e กอนการผาตัดผูปวยสามารถหายใจไดเอง2. Cardiovascular criteriaไมมี myocardial ischemiaอัตราการเตนของหัวใจ ≤ 140 ครั้งตอนาทีแรงดันเลือดปกติ โดยที่ไมมี vasopressor หรือใช dopam<strong>in</strong>e ที่นอยกวา 5 mcg/kg/m<strong>in</strong>3. Adequate mental statusผูปวยมีระดับการรูสติแบบปลุกตื่น (arousal) หรือมี Glasgow coma scale ≥ 134. ตองไมมีสิ่งผิดปกติอื่นๆ ดังนี้ไมมีไขไมมีเกลือแรผิดปกติ5. Rapid shallow breath<strong>in</strong>g <strong>in</strong>dex ≤ 105เมื่อ ผูปวย ผาน เกณฑ ดังกลาวขางตนแลว ควรทําการหยาเครื่องชวยหายใจ ซึ่งการหยาเครื่องชวยหายใจมีหลายวิธี แตวิธีที่ทําใหการหยาเครื่องชวยหายใจไดเร็วที่สุดยังคงเปนวิธี T piece trialแตในกรณีที่ผูปวยไดรับเครื่อง ชวยหายใจมาเปนเวลานาน เชนนานมากกวา 1 สัปดาห ควรใช pressure<strong>support</strong> ventilation ชวยในการหยาเครื่องชวยหายใจจะดีกวาเอกสารประกอบการเรียบเรียง1. Kacmarek RM, Hess DR. Essentials of Mechanical Ventilation. 2 nd edition. New York: McGraw-Hill, 2002.2. Mar<strong>in</strong>o PL, Sut<strong>in</strong> KM. The ICU Book. 3rd edition. New York: Lipp<strong>in</strong>cott Williams& Wilk<strong>in</strong>s,2007.6

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!