vol.14 - CS LoxInfo

vol.14 - CS LoxInfo vol.14 - CS LoxInfo

csloxinfo.com
from csloxinfo.com More from this publisher
11.07.2015 Views

COVERSTORYและหากมีการซ่อมบำรุง แก้ไขเหตุขัดข้อง และเพิ่มจำนวนอุปกรณ์จะต้องมีการ down ระบบส่งผลต่อการใช้งานTier II เป็นการออกแบบ ดาต้า เซ็นเตอร์ ที่จัดให้มีเผื่อไว้สำหรับการใช้งานในปัจจุบันมีจำนวนอุปกรณ์เกินกว่าการใช้งานในปัจจุบัน ซึ่งหากทำการซ่อมแซมในส่วนนี้จะสามารถทำงานได้ตามปกติไม่ส่งผลกระทบใดๆ และมี DistributionPath ชุดเดียว หากเกิดเหตุขัดข้อง หรือการซ่อมบำรุงจะกระทบกับการใช้งาน และหากมีการซ่อมบำรุง แก้ไขเหตุขัดข้องหรือเพิ่มจำนวนอุปกรณ์ในบางส่วน จะต้องมีการ down ระบบส่งผลต่อการใช้งานเช่นกันTier III เป็นดาต้า เซ็นเตอร์ ที่จัดให้มีระบบสำรองไว้เผื่อกรณีต้องการซ่อมบำรุงในขณะที่มีการใช้งานอยู่ในปัจจุบันมีจำนวนอุปกรณ์เกินกว่าการใช้งานพร้อมทั้งมี IndependentDistribution Path ทำให้สามารถหยุดเครื่องบางส่วนเพื่อซ่อมบำรุง, แก้ไขเหตุขัดข้อง ได้โดยไม่กระทบการใช้งานอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมี Dual Power Supply มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าไม่มี Run time limitTier IV เป็นการออกแบบ ดาต้า เซ็นเตอร์ ในรูปแบบที่จัดให้มีระบบสำรองไว้ในกรณีฉุกเฉิน หรือเหตุขัดข้องในขณะที่มีการใช้งานอยู่ในปัจจุบันโดยไม่กระทบกับการใช้งานใดๆ โดยจะมีจำนวนอุปกรณ์สำรอง 1 ชุดเกินกว่าการใช้งาน เป็น active ใช้งานได้พร้อมกัน ทำให้สามารถหยุดเครื่องบางส่วนเพื่อซ่อมบำรุง,แก้ไขเหตุขัดข้อง ได้โดยไม่กระทบการใช้งานอยู่ในปัจจุบัน มีเครื่องกำเนินไฟฟ้าไม่มี Run time limit และไม่มีส่วนที่เป็น Single point offailure ทำให้ไม่ส่งผลต่อการใช้งานและการซ่อมบำรุงในส่วนระบบไฟฟ้าที่ระบุว่าจำนวนแหล่งจ่ายจำนวนเท่าไหร่ไม่มีผลต่อการกำหนด Tier Classification จะยึดเอาเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเป็นระบบหลัก (Primary Source) ในการจ่ายกระแสไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าจากการไฟฟ้าจึงไม่มีผลต่อข้อกำหนด จะเห็นว่าการสร้างตามมาตรฐานใดๆก็ต่างก็มักจะอิงตามการใช้งานจริงและงบประมาณที่มีอยู่ ซึ่งหากสร้างเกินจากที่จะมีการใช้งานก็เป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณไปด้วย แต่หากมีข้อจำกัดทั้งทางงบประมาณ และการใช้งานไม่เยอะมาก ลองหันไปหาผู้ที่ให้บริการดาต้า เซ็นเตอร์ ที่มีอยู่อย่าง ซีเอส ล็อกซอินโฟ ได้รับการออกแบบ11

COVERSTORYและหากมีการซ่อมบำรุง แก้ไขเหตุขัดข้อง และเพิ่มจำนวนอุปกรณ์จะต้องมีการ down ระบบส่งผลต่อการใช้งานTier II เป็นการออกแบบ ดาต้า เซ็นเตอร์ ที่จัดให้มีเผื่อไว้สำหรับการใช้งานในปัจจุบันมีจำนวนอุปกรณ์เกินกว่าการใช้งานในปัจจุบัน ซึ่งหากทำการซ่อมแซมในส่วนนี้จะสามารถทำงานได้ตามปกติไม่ส่งผลกระทบใดๆ และมี DistributionPath ชุดเดียว หากเกิดเหตุขัดข้อง หรือการซ่อมบำรุงจะกระทบกับการใช้งาน และหากมีการซ่อมบำรุง แก้ไขเหตุขัดข้องหรือเพิ่มจำนวนอุปกรณ์ในบางส่วน จะต้องมีการ down ระบบส่งผลต่อการใช้งานเช่นกันTier III เป็นดาต้า เซ็นเตอร์ ที่จัดให้มีระบบสำรองไว้เผื่อกรณีต้องการซ่อมบำรุงในขณะที่มีการใช้งานอยู่ในปัจจุบันมีจำนวนอุปกรณ์เกินกว่าการใช้งานพร้อมทั้งมี IndependentDistribution Path ทำให้สามารถหยุดเครื่องบางส่วนเพื่อซ่อมบำรุง, แก้ไขเหตุขัดข้อง ได้โดยไม่กระทบการใช้งานอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมี Dual Power Supply มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าไม่มี Run time limitTier IV เป็นการออกแบบ ดาต้า เซ็นเตอร์ ในรูปแบบที่จัดให้มีระบบสำรองไว้ในกรณีฉุกเฉิน หรือเหตุขัดข้องในขณะที่มีการใช้งานอยู่ในปัจจุบันโดยไม่กระทบกับการใช้งานใดๆ โดยจะมีจำนวนอุปกรณ์สำรอง 1 ชุดเกินกว่าการใช้งาน เป็น active ใช้งานได้พร้อมกัน ทำให้สามารถหยุดเครื่องบางส่วนเพื่อซ่อมบำรุง,แก้ไขเหตุขัดข้อง ได้โดยไม่กระทบการใช้งานอยู่ในปัจจุบัน มีเครื่องกำเนินไฟฟ้าไม่มี Run time limit และไม่มีส่วนที่เป็น Single point offailure ทำให้ไม่ส่งผลต่อการใช้งานและการซ่อมบำรุงในส่วนระบบไฟฟ้าที่ระบุว่าจำนวนแหล่งจ่ายจำนวนเท่าไหร่ไม่มีผลต่อการกำหนด Tier Classification จะยึดเอาเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเป็นระบบหลัก (Primary Source) ในการจ่ายกระแสไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าจากการไฟฟ้าจึงไม่มีผลต่อข้อกำหนด จะเห็นว่าการสร้างตามมาตรฐานใดๆก็ต่างก็มักจะอิงตามการใช้งานจริงและงบประมาณที่มีอยู่ ซึ่งหากสร้างเกินจากที่จะมีการใช้งานก็เป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณไปด้วย แต่หากมีข้อจำกัดทั้งทางงบประมาณ และการใช้งานไม่เยอะมาก ลองหันไปหาผู้ที่ให้บริการดาต้า เซ็นเตอร์ ที่มีอยู่อย่าง ซีเอส ล็อกซอินโฟ ได้รับการออกแบบ11

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!