ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

11.07.2015 Views

๔ - ๒๗ก. ข.ค.ยางแดง Dipterocarpus turbinatus C. F. Gaertn. ก. ต้น, ข. เปลือก, ค. ผลที่มา จังหวัดปราจีนบุรีที ่มา ต้นยางแดง http://www.floracafe.com/Search_PhotoDetails.aspx?Photo=All&Id=1084(กันยายน ๒๕๕๔)

่๔ - ๒๘๑๔. ตะเคียนทองชื่อพฤกษศาสตร์ Hopea odorata Roxb.ชื่อวงศ์ DIPTEROCARPACEAEชื่อพื้นเมือง กะกี้ โกกี้ (กะเหรี่ยง เชียงใหม่) แคน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) จะเคียน (ภาคเหนือ) จืองา (มลายู นราธิวาส)จูเค้ โซเก (กะเหรี่ยง กาญจนบุรี) ตะเคียน ตะเคียนใหญ่(ภาคกลาง) ไพร (ละว้า เชียงใหม่)ชื่อสามัญ Iron woodนิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ์ พบขึ้นในป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณ บริเวณใกล้แหล่งน้ําทั่วไป จนถึงที่ความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ ๙๐๐ เมตร ต่างประเทศพบที่พม่าลาว เวียดนามตอนใต้ กัมพูชา หมู่เกาะอันดามัน และคาบสมุทรมลายูลักษณะทั่วไปและลักษณะเด่น ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงถึง ๔๐เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มรูปกรวยหรือทรงเจดีย์ต่ํา ลําต้นเปลาตรง เปลือกสีน้ําตาลแตกเป็นร่องตามยาวหรือเป็นสะเก็ดกิ่งอ่อนมีขนนุ่มสีขาวใบ ใบเดี ่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมขอบขนานหรือรูปไข่แกมรูปหอกถึงรูปหอก กว้าง ๓-๗.๕ เซนติเมตร ยาว ๘-๑๖ เซนติเมตรปลายเรียวแหลม โคนมนหรือเบี้ยว ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย แผ่นใบค่อนข้างหนา ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านล่างมีตุ่มใบตามง่ามเส้นแขนงใบดอก ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ง่ามใบและปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง ๕ กลีบ ผิวด้านนอกมีขน กลีบดอก ๕ กลีบ สีขาวแกมเหลือง เชื่อมติดกันปลายแยกเป็น ๕ แฉก ปลายบิดเวียนรูปกังหันเกสรเพศผู้ ๑๕ อัน รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ รูปกรวย ผิวเกลี้ยงผล ผลกลมหรือรูปไข่ปลายแหลม มีปีกยาว ๒ ปีก ปีกสั้น ๓ ปีกและมีเส้นตามยาวปีก ๗ เส้นลักษณะเด่น ผิวใบด้านล่างมีตุ่มใบตามง่ามเส้นแขนงใบ ผลกลมหรือรูปไข่ปลายแหลม มีปีกยาว ๒ ปีก ปีกสั้น ๓ ปีก และมีเส้นตามยาวปีก ๗ เส้นความสําคัญของพันธุ์ไม้ พันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลจังหวัดปัตตานี (เมธินี ตาฬุมาศสวัสดิ ์ และคณะ, ๒๕๕๒)เป็นไม้ที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ (พิทยา เพชรมาก และคณะ,๒๕๓๖)ช่วงการออกดอกและติดผล ออกดอกเดือนธันวาคมถึงเมษายนติดผลเดือนมกราคมถึงพฤษภาคม (จเร สดากร, ๒๕๔๒)การปลูกและการดูแล ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด วิธีการปลูก กล้าที่จะปลูกจะต้องทําให้แกร่ง โดยนําออกรับแสงเต็มที๑-๒ สัปดาห์ แล้วย้ายปลูกหลังจากฝนตก ถ้าทําได้ควรนําถังใส่น้ําเข้าไปในพื้นที่ปลูก นํากล้าตะเคียนทองจุ่มลงถังน้ํา เพื่อให้รากดูดซับน้ําไว้จนอิ่มตัว แล้วจึงแกะพลาสติกที่ห่อหุ้มรากออกนําลงหลุมปลูก ระยะปลูกที่ใช้กันทั่วไปคือ ๔x๔ เมตร เหมาะสมกับการปลูกร่วมกับไม้โตเร็วตระกูลถั่วอื่น ๆ เพื่อไม้โตเร็วเหล่านั้นสามารถตรึงไนโตรเจนช่วยให้ไม้ตะเคียนทองเจริญเติบโตได้ดีตะเคียนทองชอบแสง ดินร่วนปนทราย มีความอุดมสมบูรณ์และระบายน้ําดี ควรมีปริมาณน้ําฝนเกินกว่า ๑,๕๐๐ มิลลิเมตรต่อปี(พิทยา เพชรมาก และคณะ, ๒๕๓๖)ประโยชน์ทั่วไป เนื้อไม้มีความแข็งแรงทนทาน เด้ง และเหนียวใช้ก่อสร้างบ้านเรือน เครื่องเรือนต่าง ๆ และสิ่งอื่น ๆ ที ่ต้องการความแข็งแรง แก่น ใช้ผสมยารักษาเลือดลม กษัย เปลือกมีน้ําฝาด Pyrogallol และ Catechol ต้มกับเกลือ อมป้องกันฟันหลุดเนื่องจากรับประทานยาเข้าปรอท และต้มกับน้ ํา ชะล้างบาดแผลเรื้อรัง ดอก ใช้ผสมยาเกสรร้อยแปด ยาง ผสมน้ ํามันทารักษาบาดแผล ชัน ผสมน้ ํามันทาไม้ ยาเรือ ทําน้ํามันชักเงา(จเร สดากร, ๒๕๔๒) สรรพคุณทางสมุนไพร เปลือก แก้ปวดฟันแก้เหงือกอักเสบ เนื้อไม้ แก้คุดทะราด แก้ท้องร่วง แก้กําเดาสมานแผล แก่น รักษาคุดทะราด ขับเสมหะ แก้บิด แก้กําเดาสมานแผล ยาง รักษาบาดแผล แก้ท้องเสีย (พงษ์ศักดิ์ พลเสนา,๒๕๕๐ ข)ประโยชน์ด้านการลดมลพิษและข้อมูลอื ่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง-

่๔ - ๒๘๑๔. ตะเคียนทองชื่อพฤกษศาสตร์ Hopea odorata Roxb.ชื่อวงศ์ DIPTEROCARPACEAEชื่อพื้นเมือง กะกี้ โกกี้ (กะเหรี่ยง เชียงใหม่) แคน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) จะเคียน (ภาคเหนือ) จืองา (มลายู นราธิวาส)จูเค้ โซเก (กะเหรี่ยง กาญจนบุรี) ตะเคียน ตะเคียนใหญ่(ภาคกลาง) ไพร (ละว้า เชียงใหม่)ชื่อสามัญ Iron woodนิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ์ พบขึ้นในป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณ บริเวณใกล้แหล่งน้ําทั่วไป จนถึงที่ความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ ๙๐๐ เมตร ต่างประเทศพบที่พม่าลาว เวียดนามตอนใต้ กัมพูชา หมู่เกาะอันดามัน และคาบสมุทรมลายูลักษณะทั่วไปและลักษณะเด่น ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงถึง ๔๐เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มรูปกรวยหรือทรงเจดีย์ต่ํา ลําต้นเปลาตรง เปลือกสีน้ําตาลแตกเป็นร่องตามยาวหรือเป็นสะเก็ดกิ่งอ่อนมีขนนุ่มสีขาวใบ ใบเดี ่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมขอบขนานหรือรูปไข่แกมรูปหอกถึงรูปหอก กว้าง ๓-๗.๕ เซนติเมตร ยาว ๘-๑๖ เซนติเมตรปลายเรียวแหลม โคนมนหรือเบี้ยว ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย แผ่นใบค่อนข้างหนา ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านล่างมีตุ่มใบตามง่ามเส้นแขนงใบดอก ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ง่ามใบและปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง ๕ กลีบ ผิวด้านนอกมีขน กลีบดอก ๕ กลีบ สีขาวแกมเหลือง เชื่อมติดกันปลายแยกเป็น ๕ แฉก ปลายบิดเวียนรูปกังหันเกสรเพศผู้ ๑๕ อัน รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ รูปกรวย ผิวเกลี้ยงผล ผลกลมหรือรูปไข่ปลายแหลม มีปีกยาว ๒ ปีก ปีกสั้น ๓ ปีกและมีเส้นตามยาวปีก ๗ เส้นลักษณะเด่น ผิวใบด้านล่างมีตุ่มใบตามง่ามเส้นแขนงใบ ผลกลมหรือรูปไข่ปลายแหลม มีปีกยาว ๒ ปีก ปีกสั้น ๓ ปีก และมีเส้นตามยาวปีก ๗ เส้นความสําคัญของพันธุ์ไม้ พันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลจังหวัดปัตตานี (เมธินี ตาฬุมาศสวัสดิ ์ และคณะ, ๒๕๕๒)เป็นไม้ที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ (พิทยา เพชรมาก และคณะ,๒๕๓๖)ช่วงการออกดอกและติดผล ออกดอกเดือนธันวาคมถึงเมษายนติดผลเดือนมกราคมถึงพฤษภาคม (จเร สดากร, ๒๕๔๒)การปลูกและการดูแล ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด วิธีการปลูก กล้าที่จะปลูกจะต้องทําให้แกร่ง โดยนําออกรับแสงเต็มที๑-๒ สัปดาห์ แล้วย้ายปลูกหลังจากฝนตก ถ้าทําได้ควรนําถังใส่น้ําเข้าไปในพื้นที่ปลูก นํากล้าตะเคียนทองจุ่มลงถังน้ํา เพื่อให้รากดูดซับน้ําไว้จนอิ่มตัว แล้วจึงแกะพลาสติกที่ห่อหุ้มรากออกนําลงหลุมปลูก ระยะปลูกที่ใช้กันทั่วไปคือ ๔x๔ เมตร เหมาะสมกับการปลูกร่วมกับไม้โตเร็วตระกูลถั่วอื่น ๆ เพื่อไม้โตเร็วเหล่านั้นสามารถตรึงไนโตรเจนช่วยให้ไม้ตะเคียนทองเจริญเติบโตได้ดีตะเคียนทองชอบแสง ดินร่วนปนทราย มีความอุดมสมบูรณ์และระบายน้ําดี ควรมีปริมาณน้ําฝนเกินกว่า ๑,๕๐๐ มิลลิเมตรต่อปี(พิทยา เพชรมาก และคณะ, ๒๕๓๖)ประโยชน์ทั่วไป เนื้อไม้มีความแข็งแรงทนทาน เด้ง และเหนียวใช้ก่อสร้างบ้านเรือน เครื่องเรือนต่าง ๆ และสิ่งอื่น ๆ ที ่ต้องการความแข็งแรง แก่น ใช้ผสมยารักษาเลือดลม กษัย เปลือกมีน้ําฝาด Pyrogallol และ Catechol ต้มกับเกลือ อมป้องกันฟันหลุดเนื่องจากรับประทานยาเข้าปรอท และต้มกับน้ ํา ชะล้างบาดแผลเรื้อรัง ดอก ใช้ผสมยาเกสรร้อยแปด ยาง ผสมน้ ํามันทารักษาบาดแผล ชัน ผสมน้ ํามันทาไม้ ยาเรือ ทําน้ํามันชักเงา(จเร สดากร, ๒๕๔๒) สรรพคุณทางสมุนไพร เปลือก แก้ปวดฟันแก้เหงือกอักเสบ เนื้อไม้ แก้คุดทะราด แก้ท้องร่วง แก้กําเดาสมานแผล แก่น รักษาคุดทะราด ขับเสมหะ แก้บิด แก้กําเดาสมานแผล ยาง รักษาบาดแผล แก้ท้องเสีย (พงษ์ศักดิ์ พลเสนา,๒๕๕๐ ข)ประโยชน์ด้านการลดมลพิษและข้อมูลอื ่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง-

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!