ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

11.07.2015 Views

๔ - ๑๙ก.ข.ค.สนทะเล Casuarina equisetifolia J. R. & G. Forst. ก. ตน, ข. ดอกเพศเมียและผล, ค. ผลที่มา สวนพฤกษศาสตรภาคตะวันออก (เขาหินซอน) จังหวัดฉะเชิงเทรา

๔ - ๒๐๑๐. กระจูด (กก)ชื่อพฤกษศาสตร์ Lepironia articulata (Retz.) Dominชื่อวงศ์ CYPERACEAEชื่อพื้นเมือง กกกระจูด (ภาคกลาง) กก (ระยอง) จูด กระจูด(ภาคใต้)ชื่อสามัญ -นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ์ ขึ้นเป็นกลุ่มใหญ่ในแหล่งน้ําธรรมชาติ หรือในระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ําตามแนวชายฝั่ง และบึงน้ําในแผ่นดิน และป่าบึง ที่ความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ ๐-๑๐๐เมตร ในประเทศไทยพบทางภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้กระจายพันธุ์ในแถบประเทศมาดากัสการ์ อินเดีย ศรีลังกา อินโดจีนตะวันออกเฉียงใต้ของจีน มาเลเซีย ไมโครนีเซีย ออสเตรเลียนิวแคลิโดเนีย และฟิจิลักษณะทั่วไปและลักษณะเด่น พืชล้มลุกมีอายุหลายปี เหง้ามีเกล็ดสีน้ําตาลอมเทาที่ด้านปลายเล็กน้อย ลําต้นแข็งเป็นกลุ่มแน่นตามแนวของเหง้า ขนาดกว้าง ๐.๒–๐.๗ เซนติเมตร ยาว ๑๐–๒๐เซนติเมตร คล้ายทรงกระบอกผิวเรียบใบ มีกาบใบแผ่ออก กาบบนสุดยาว ๑๒–๒๖ เซนติเมตร ปลายตัดเฉียง ใบประดับรูปลิ ่มแคบ คล้ายทรงกระบอกมีความยาว๒.๒–๖ เซนติเมตรดอก เป็นดอกช่อ ประกอบด้วยช่อเชิงลด จํานวน ๑ ช่อ รูปทรงรีหรือรูปขอบขนานคล้ายทรงกระบอก กว้าง ๓–๗ มิลลิเมตร ยาว๑๐–๓๕ มิลลิเมตร สีเขียวถึงสีน้ําตาลกาแฟหรือสีน้ําตาลม่วงกาบประดับรูปไข่หรือรูปทรงกลมแกมไข่ กว้าง ๓–๖.๒ มิลลิเมตรยาว ๓.๒–๖.๗ มิลลิเมตร ปลายมนและมักโค้งลงเล็กน้อยเมื่อแก่เต็มที่จะร่วงง่าย กลุ่มดอกย่อยจะพอ ๆ กับกาบประดับกลีบประดับมีได้ถึง ๑๕ กลีบ น้อยที่สุดมี ๒ กลีบ รูปหอกแกมแถบ มีความยาว ๔–๖ มิลลิเมตร สันของกลีบเป็นขนครุยผล เป็นรูปไข่หรือรูปไข่กลับถึงรูปไข่กลับทรงกว้าง ผลนูน ๒ ด้านกว้าง ๒–๒.๘ มิลลิเมตร ยาว ๓–๔ มิลลิเมตร (ไม่นับจะงอยที่ยาว๐.๕ มิลลิเมตร) ผลแข็งสีน้ําตาล ผิวเรียบถึงเป็นแนวเส้นตามยาวไม่ชัด มักมีหนามละเอียดที่ส่วนปลาย (วัชนะ บุญชัย, กิตติพงษ์เกิดสว่าง, ๒๕๔๘)ลักษณะเด่น พืชล้มลุกมีอายุหลายปี เหง้ามีเกล็ดสีน้ ําตาลอมเทาที่ด้านปลายเล็กน้อย ลําต้นแข็งเป็นกลุ่มแน่นตามแนวของเหง้าผลแข็งสีน้ําตาลผิวเรียบถึงเป็นแนวเส้นตามยาวไม่ชัด มักมีหนามละเอียดที ่ส่วนปลายความสําคัญของพันธุ์ไม้ -ช่วงการออกดอกและติดผล ออกดอกและติดผลตลอดปี(วัชนะ บุญชัย, กิตติพงษ์ เกิดสว่าง, ๒๕๔๘)การปลูกและการดูแล ขยายพันธุ์โดยการแยกกอหรือแยกหน่อและเพาะเมล็ด ชอบขึ้นในที่มีน้ําขังอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะบริเวณริมทะเลสาบที่เป็นดินโคลนหรือป่าพรุ การเพาะปลูกกระจูดต้องใช้ระยะเวลาประมาณ ๓ ปี ต้นจึงจะโตได้ขนาด สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ คือ ลําต้นยาวไม่ต่ํากว่า ๑ เมตร เมื่อถอนต้นกระจูดแล้วหน่อก็จะแตกต้นใหม่ขึ้นมาแทนที่หมุนเวียนกันไป การขยายพันธุ์โดยการแยกกอ มีขั้นตอนและวิธีการ ดังนี้๑. นํากอกระจูดที่เป็นต้นพันธุ์ แช่ทิ้งไว้ในแหล่งน้ําให้น้ําท่วมรากพอประมาณ โดยแช่ทิ้งไว้ประมาณ ๑๐–๑๕ วัน จนมองเห็นรากใหม่แตกออกมา นํากอต้นพันธุ์มาแยกออกเป็นกอย่อยขนาดตามความเหมาะสม โดยจะต้องมีส่วนของหน่อและรากที ่งอกใหม่ปะปนอยู่ด้วยอย่างน้อยตั้งแต่ ๑ หน่อขึ้นไป๒. ตัดส่วนปลายลําต้นทิ้งทั้งหมด ให้เหลือเฉพาะลําต้นส่วนโคนยาวประมาณ ๔๐–๕๐ เซนติเมตร เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน๓. นําหน่อใหม่ที่แยกเป็นกอย่อยไว้มาไปใส่ในภาชนะปลูก อาจจะเป็นถุงพลาสติกหรือกระถางตามความเหมาะสม แล้วนําวัสดุปลูกที่จัดเตรียมไว้กรอกใส่ลงให้รอบในภาชนะปลูก แล้วนําไปจัดเรียงไว้ภายในโรงเรือนเพาะชํา รดน้ําให้ชุ่มตลอดเวลา หรืออาจให้น้ําท่วมขังส่วนของโคนต้นก็ได้๔. ประมาณหนึ่งเดือนจะสังเกตเห็นการเจริญเติบโตของหน่อกระจูดอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา๕. ในกรณีจําเป็นต้องการเพาะขยายพันธุ์โดยเร่งด่วน ก็สามารถนํากอแม่พันธุ์มาทําการแยกเป็นกอย่อย ตัดส่วนปลายใบทิ้งนํามาใส่ภาชนะและวัสดุปลูกที่จัดเตรียมไว้ได้เลย แต่การเจริญเติบโตจะไม่สม่ําเสมอ๖. วัสดุปลูกโดยทั่วไป ใช้ทรายหยาบผสมกับปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกเพียงเล็กน้อย หรืออาจจะใช้เฉพาะทรายหยาบเพียงอย่างเดียวก็ได้ เมื่อต้นกล้าตั้งตัวได้จึงให้ปุ๋ยบํารุงตามความเหมาะสม (วัชนะบุญชัย, กิตติพงษ์ เกิดสว่าง, ๒๕๔๘)ประโยชน์ทั่วไป ลําต้นกระจูด ใช้ทอเสื่อหรือประดิษฐ์เป็นเครื่องจักสาน (สุชาดา ศรีเพ็ญ, ๒๕๔๒) ผลิตภัณฑ์จักสานกระจูดเช่น กระเป๋า ตะกร้า เสื่อ กระเช้า แจกัน กระบุง รองเท้า หมวก ฯลฯ(วัชนะ บุญชัย, กิตติพงษ์ เกิดสว่าง, ๒๕๔๘)ประโยชน์ด้านการลดมลพิษและข้อมูลอื ่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง-

๔ - ๒๐๑๐. กระจูด (กก)ชื่อพฤกษศาสตร์ Lepironia articulata (Retz.) Dominชื่อวงศ์ CYPERACEAEชื่อพื้นเมือง กกกระจูด (ภาคกลาง) กก (ระยอง) จูด กระจูด(ภาคใต้)ชื่อสามัญ -นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ์ ขึ้นเป็นกลุ่มใหญ่ในแหล่งน้ําธรรมชาติ หรือในระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ําตามแนวชายฝั่ง และบึงน้ําในแผ่นดิน และป่าบึง ที่ความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ ๐-๑๐๐เมตร ในประเทศไทยพบทางภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้กระจายพันธุ์ในแถบประเทศมาดากัสการ์ อินเดีย ศรีลังกา อินโดจีนตะวันออกเฉียงใต้ของจีน มาเลเซีย ไมโครนีเซีย ออสเตรเลียนิวแคลิโดเนีย และฟิจิลักษณะทั่วไปและลักษณะเด่น พืชล้มลุกมีอายุหลายปี เหง้ามีเกล็ดสีน้ําตาลอมเทาที่ด้านปลายเล็กน้อย ลําต้นแข็งเป็นกลุ่มแน่นตามแนวของเหง้า ขนาดกว้าง ๐.๒–๐.๗ เซนติเมตร ยาว ๑๐–๒๐เซนติเมตร คล้ายทรงกระบอกผิวเรียบใบ มีกาบใบแผ่ออก กาบบนสุดยาว ๑๒–๒๖ เซนติเมตร ปลายตัดเฉียง ใบประดับรูปลิ ่มแคบ คล้ายทรงกระบอกมีความยาว๒.๒–๖ เซนติเมตรดอก เป็นดอกช่อ ประกอบด้วยช่อเชิงลด จํานวน ๑ ช่อ รูปทรงรีหรือรูปขอบขนานคล้ายทรงกระบอก กว้าง ๓–๗ มิลลิเมตร ยาว๑๐–๓๕ มิลลิเมตร สีเขียวถึงสีน้ําตาลกาแฟหรือสีน้ําตาลม่วงกาบประดับรูปไข่หรือรูปทรงกลมแกมไข่ กว้าง ๓–๖.๒ มิลลิเมตรยาว ๓.๒–๖.๗ มิลลิเมตร ปลายมนและมักโค้งลงเล็กน้อยเมื่อแก่เต็มที่จะร่วงง่าย กลุ่มดอกย่อยจะพอ ๆ กับกาบประดับกลีบประดับมีได้ถึง ๑๕ กลีบ น้อยที่สุดมี ๒ กลีบ รูปหอกแกมแถบ มีความยาว ๔–๖ มิลลิเมตร สันของกลีบเป็นขนครุยผล เป็นรูปไข่หรือรูปไข่กลับถึงรูปไข่กลับทรงกว้าง ผลนูน ๒ ด้านกว้าง ๒–๒.๘ มิลลิเมตร ยาว ๓–๔ มิลลิเมตร (ไม่นับจะงอยที่ยาว๐.๕ มิลลิเมตร) ผลแข็งสีน้ําตาล ผิวเรียบถึงเป็นแนวเส้นตามยาวไม่ชัด มักมีหนามละเอียดที่ส่วนปลาย (วัชนะ บุญชัย, กิตติพงษ์เกิดสว่าง, ๒๕๔๘)ลักษณะเด่น พืชล้มลุกมีอายุหลายปี เหง้ามีเกล็ดสีน้ ําตาลอมเทาที่ด้านปลายเล็กน้อย ลําต้นแข็งเป็นกลุ่มแน่นตามแนวของเหง้าผลแข็งสีน้ําตาลผิวเรียบถึงเป็นแนวเส้นตามยาวไม่ชัด มักมีหนามละเอียดที ่ส่วนปลายความสําคัญของพันธุ์ไม้ -ช่วงการออกดอกและติดผล ออกดอกและติดผลตลอดปี(วัชนะ บุญชัย, กิตติพงษ์ เกิดสว่าง, ๒๕๔๘)การปลูกและการดูแล ขยายพันธุ์โดยการแยกกอหรือแยกหน่อและเพาะเมล็ด ชอบขึ้นในที่มีน้ําขังอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะบริเวณริมทะเลสาบที่เป็นดินโคลนหรือป่าพรุ การเพาะปลูกกระจูดต้องใช้ระยะเวลาประมาณ ๓ ปี ต้นจึงจะโตได้ขนาด สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ คือ ลําต้นยาวไม่ต่ํากว่า ๑ เมตร เมื่อถอนต้นกระจูดแล้วหน่อก็จะแตกต้นใหม่ขึ้นมาแทนที่หมุนเวียนกันไป การขยายพันธุ์โดยการแยกกอ มีขั้นตอนและวิธีการ ดังนี้๑. นํากอกระจูดที่เป็นต้นพันธุ์ แช่ทิ้งไว้ในแหล่งน้ําให้น้ําท่วมรากพอประมาณ โดยแช่ทิ้งไว้ประมาณ ๑๐–๑๕ วัน จนมองเห็นรากใหม่แตกออกมา นํากอต้นพันธุ์มาแยกออกเป็นกอย่อยขนาดตามความเหมาะสม โดยจะต้องมีส่วนของหน่อและรากที ่งอกใหม่ปะปนอยู่ด้วยอย่างน้อยตั้งแต่ ๑ หน่อขึ้นไป๒. ตัดส่วนปลายลําต้นทิ้งทั้งหมด ให้เหลือเฉพาะลําต้นส่วนโคนยาวประมาณ ๔๐–๕๐ เซนติเมตร เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน๓. นําหน่อใหม่ที่แยกเป็นกอย่อยไว้มาไปใส่ในภาชนะปลูก อาจจะเป็นถุงพลาสติกหรือกระถางตามความเหมาะสม แล้วนําวัสดุปลูกที่จัดเตรียมไว้กรอกใส่ลงให้รอบในภาชนะปลูก แล้วนําไปจัดเรียงไว้ภายในโรงเรือนเพาะชํา รดน้ําให้ชุ่มตลอดเวลา หรืออาจให้น้ําท่วมขังส่วนของโคนต้นก็ได้๔. ประมาณหนึ่งเดือนจะสังเกตเห็นการเจริญเติบโตของหน่อกระจูดอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา๕. ในกรณีจําเป็นต้องการเพาะขยายพันธุ์โดยเร่งด่วน ก็สามารถนํากอแม่พันธุ์มาทําการแยกเป็นกอย่อย ตัดส่วนปลายใบทิ้งนํามาใส่ภาชนะและวัสดุปลูกที่จัดเตรียมไว้ได้เลย แต่การเจริญเติบโตจะไม่สม่ําเสมอ๖. วัสดุปลูกโดยทั่วไป ใช้ทรายหยาบผสมกับปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกเพียงเล็กน้อย หรืออาจจะใช้เฉพาะทรายหยาบเพียงอย่างเดียวก็ได้ เมื่อต้นกล้าตั้งตัวได้จึงให้ปุ๋ยบํารุงตามความเหมาะสม (วัชนะบุญชัย, กิตติพงษ์ เกิดสว่าง, ๒๕๔๘)ประโยชน์ทั่วไป ลําต้นกระจูด ใช้ทอเสื่อหรือประดิษฐ์เป็นเครื่องจักสาน (สุชาดา ศรีเพ็ญ, ๒๕๔๒) ผลิตภัณฑ์จักสานกระจูดเช่น กระเป๋า ตะกร้า เสื่อ กระเช้า แจกัน กระบุง รองเท้า หมวก ฯลฯ(วัชนะ บุญชัย, กิตติพงษ์ เกิดสว่าง, ๒๕๔๘)ประโยชน์ด้านการลดมลพิษและข้อมูลอื ่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง-

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!