ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

11.07.2015 Views

๔ - ๑๓ก. ข.ค.อโศกอินเดีย (อโศกเซนคาเบรียล) Polyalthia longifolia (Sonn.) Thwaites ก. ต้น, ข. ดอก, ค. ผลที่มา จังหวัดฉะเชิงเทรา

๔ - ๑๔๗. แคทะเลชื่อพฤกษศาสตร์ Dolichandrone spathacea (L. f.) K.Schum.ชื่อวงศ์ BIGNONIACEAEชื่อพื้นเมือง แคน้ํา (ภาคกลาง)ชื่อสามัญ -นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ์ ขึ้นตามชายป่าโกงกางด้านในหรือริมแม่น้ําที่น้ําทะเลท่วมถึง ในประเทศไทยพบเฉพาะทางภาคกลางและภาคใต้แถบจังหวัดทางชายฝั่งทะเล มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง พบตั้งแต่อินเดีย ศรีลังกา พม่า เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซียและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก (สํานักงานหอพรรณไม้, ๒๕๕๓ ค)ลักษณะทั่วไปและลักษณะเด่น ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลางสูง ๔-๒๐ เมตร ไม่ผลัดใบ แตกกิ่งต่ํา กิ่งอ่อนมักมีเมือกเหนียวเนื้อไม้อ่อน สีขาวใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงตรงข้าม ยาว ๘-๓๕เซนติเมตร ใบย่อยมี ๒-๔ คู่ รูปไข่ถึงแกมรูปใบหอก ยาว ๗-๑๖เซนติเมตร ปลายแหลมยาว โคนแหลมหรือมน เบี้ยว แผ่นใบเกลี้ยง มีต่อมประปรายบนเส้นกลางใบด้านล่าง ก้านใบย่อยยาว๐.๔-๑ เซนติเมตรดอก ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ ออกที่ปลายกิ่ง ยาว ๒-๔เซนติเมตร มี ๒-๘ ดอก ในแต่ละช่อ ก้านดอกย่อยยาว ๑.๕-๓.๕เซนติเมตร กลีบเลี้ยงคล้ายกาบ รูปขอบขนาน ยาว ๓-๙เซนติเมตร กลีบดอกรูปแตร สีขาว หลอดกลีบส่วนโคนเรียวแคบยาว ๘-๑๓ เซนติเมตร หลอดกลีบส่วนปลายบานออกรูประฆังยาว ๓-๕ เซนติเมตร ปลายแยกเป็น ๕ กลีบตื้น ๆ กลีบย่น เกสรเพศผู้ ๔ อัน สองคู่ยาวไม่เท่ากัน เกลี้ยง ติดภายในหลอดกลีบดอกไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ๑ อัน ลดรูปมีขนาดเล็ก จานฐานดอกรูปเบาะ รังไข่ทรงกระบอกแคบสั้น ๆมี ๒ ช่อง ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย เรียวยาว ยื่นเลยพ้นปากหลอดกลีบเล็กน้อยผล เป็นฝัก ช่อละ ๓-๔ ฝัก รูปแถบ โค้งเล็กน้อย ยาว ๓๐-๖๐เซนติเมตร เมล็ดหนา เป็นคอร์ก ยาว ๑.๓-๑.๘ เซนติเมตรลักษณะเด่น โคนใบเบี้ยว กลีบเลี้ยงคล้ายกาบ รูปขอบขนานกลีบดอกรูปแตร สีขาว หลอดกลีบส่วนโคนเรียวแคบ หลอดกลีบส่วนปลายบานออกรูประฆัง ปลายแยกเป็น ๕ กลีบ ตื้น ๆ กลีบย่นเกสรเพศผู้ ๔ อัน สองคู่ยาวไม่เท่ากัน ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้ายเรียวยาว ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น ๒ แฉก ผลเป็นฝัก เมล็ดหนาเป็นคอร์ก มีปีกความสําคัญของพันธุ์ไม้ -ช่วงการออกดอกและติดผล ออกดอกเดือนมีนาคมถึงเมษายนติดผลเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน (ธงชัย เปาอินทร์, นิวัตรเปาอินทร์, ๒๕๔๔)การปลูกและการดูแล ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด (ธงชัยเปาอินทร์, นิวัตร เปาอินทร์, ๒๕๔๔)ประโยชน์ทั่วไป ดอกและยอดอ่อน รับประทานได้ ด้านสมุนไพรราก รสหวานเย็น แก้ไข้ แก้เสมหะ โลหิต และลม เปลือกรสหวานเย็น แก้ท้องอืดเฟ้อ ใบ รสเย็น รักษาแผล เป็นยาบ้วนปากแก้ไข้ แก้คัน ดอก รสหวานเย็น แก้ไข้ เมล็ด รสหวานเย็น แก้ปวดประสาท (ธงชัย เปาอินทร์, นิวัตร เปาอินทร์, ๒๕๔๔) สรรพคุณทางสมุนไพร ราก ขับเสมหะ บํารุงโลหิต เปลือก แก้ท้องอืดเฟ้อใช้กับสตรีหลังคลอดบุตร ใบ ทํายาพอกแผล ยาบ้วนปาก เมล็ดแก้ปวดประสาท แก้โรคชัก (พงษ์ศักดิ์ พลเสนา, ๒๕๕๐ ข) เนื้อไม้ใช้ทําเครื่องเรือนและหีบใส่ของ (วรรณี ทัฬหกิจ, ๒๕๕๓)ประโยชน์ด้านการลดมลพิษและข้อมูลอื ่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง-

๔ - ๑๔๗. แคทะเลชื่อพฤกษศาสตร์ Dolichandrone spathacea (L. f.) K.Schum.ชื่อวงศ์ BIGNONIACEAEชื่อพื้นเมือง แคน้ํา (ภาคกลาง)ชื่อสามัญ -นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ์ ขึ้นตามชายป่าโกงกางด้านในหรือริมแม่น้ําที่น้ําทะเลท่วมถึง ในประเทศไทยพบเฉพาะทางภาคกลางและภาคใต้แถบจังหวัดทางชายฝั่งทะเล มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง พบตั้งแต่อินเดีย ศรีลังกา พม่า เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซียและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก (สํานักงานหอพรรณไม้, ๒๕๕๓ ค)ลักษณะทั่วไปและลักษณะเด่น ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลางสูง ๔-๒๐ เมตร ไม่ผลัดใบ แตกกิ่งต่ํา กิ่งอ่อนมักมีเมือกเหนียวเนื้อไม้อ่อน สีขาวใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงตรงข้าม ยาว ๘-๓๕เซนติเมตร ใบย่อยมี ๒-๔ คู่ รูปไข่ถึงแกมรูปใบหอก ยาว ๗-๑๖เซนติเมตร ปลายแหลมยาว โคนแหลมหรือมน เบี้ยว แผ่นใบเกลี้ยง มีต่อมประปรายบนเส้นกลางใบด้านล่าง ก้านใบย่อยยาว๐.๔-๑ เซนติเมตรดอก ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ ออกที่ปลายกิ่ง ยาว ๒-๔เซนติเมตร มี ๒-๘ ดอก ในแต่ละช่อ ก้านดอกย่อยยาว ๑.๕-๓.๕เซนติเมตร กลีบเลี้ยงคล้ายกาบ รูปขอบขนาน ยาว ๓-๙เซนติเมตร กลีบดอกรูปแตร สีขาว หลอดกลีบส่วนโคนเรียวแคบยาว ๘-๑๓ เซนติเมตร หลอดกลีบส่วนปลายบานออกรูประฆังยาว ๓-๕ เซนติเมตร ปลายแยกเป็น ๕ กลีบตื้น ๆ กลีบย่น เกสรเพศผู้ ๔ อัน สองคู่ยาวไม่เท่ากัน เกลี้ยง ติดภายในหลอดกลีบดอกไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ๑ อัน ลดรูปมีขนาดเล็ก จานฐานดอกรูปเบาะ รังไข่ทรงกระบอกแคบสั้น ๆมี ๒ ช่อง ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย เรียวยาว ยื่นเลยพ้นปากหลอดกลีบเล็กน้อยผล เป็นฝัก ช่อละ ๓-๔ ฝัก รูปแถบ โค้งเล็กน้อย ยาว ๓๐-๖๐เซนติเมตร เมล็ดหนา เป็นคอร์ก ยาว ๑.๓-๑.๘ เซนติเมตรลักษณะเด่น โคนใบเบี้ยว กลีบเลี้ยงคล้ายกาบ รูปขอบขนานกลีบดอกรูปแตร สีขาว หลอดกลีบส่วนโคนเรียวแคบ หลอดกลีบส่วนปลายบานออกรูประฆัง ปลายแยกเป็น ๕ กลีบ ตื้น ๆ กลีบย่นเกสรเพศผู้ ๔ อัน สองคู่ยาวไม่เท่ากัน ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้ายเรียวยาว ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น ๒ แฉก ผลเป็นฝัก เมล็ดหนาเป็นคอร์ก มีปีกความสําคัญของพันธุ์ไม้ -ช่วงการออกดอกและติดผล ออกดอกเดือนมีนาคมถึงเมษายนติดผลเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน (ธงชัย เปาอินทร์, นิวัตรเปาอินทร์, ๒๕๔๔)การปลูกและการดูแล ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด (ธงชัยเปาอินทร์, นิวัตร เปาอินทร์, ๒๕๔๔)ประโยชน์ทั่วไป ดอกและยอดอ่อน รับประทานได้ ด้านสมุนไพรราก รสหวานเย็น แก้ไข้ แก้เสมหะ โลหิต และลม เปลือกรสหวานเย็น แก้ท้องอืดเฟ้อ ใบ รสเย็น รักษาแผล เป็นยาบ้วนปากแก้ไข้ แก้คัน ดอก รสหวานเย็น แก้ไข้ เมล็ด รสหวานเย็น แก้ปวดประสาท (ธงชัย เปาอินทร์, นิวัตร เปาอินทร์, ๒๕๔๔) สรรพคุณทางสมุนไพร ราก ขับเสมหะ บํารุงโลหิต เปลือก แก้ท้องอืดเฟ้อใช้กับสตรีหลังคลอดบุตร ใบ ทํายาพอกแผล ยาบ้วนปาก เมล็ดแก้ปวดประสาท แก้โรคชัก (พงษ์ศักดิ์ พลเสนา, ๒๕๕๐ ข) เนื้อไม้ใช้ทําเครื่องเรือนและหีบใส่ของ (วรรณี ทัฬหกิจ, ๒๕๕๓)ประโยชน์ด้านการลดมลพิษและข้อมูลอื ่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง-

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!