ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

11.07.2015 Views

๔ - ๙ก.ข.ค.การเวก Artabotrys siamensis Miq. ก. ต้น, ข. ดอก, ค. ผลที่มา สวนพฤกษศาสตร์ภาคตะวันออก (เขาหินซ้อน) จังหวัดฉะเชิงเทรา

๔ - ๑๐๕. กระดังงาไทย (สะบันงาต้น)ชื่อพฤกษศาสตร์ Cananga odorata (Lam.) Hook. f. & Thomsonvar. odorataชื่อวงศ์ ANNONACEAEชื่อพื้นเมือง กระดังงา (ตรัง ยะลา) กระดังงาใบใหญ่ กระดังงาใหญ่(ภาคกลาง) สะบันงา สะบันงาต้น (ภาคเหนือ)ชื่อสามัญ -นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ์ ในป่าดิบทางภาคใต้ตอนล่างและมีปลูกทั่วไปในประเทศไทย มีเขตการกระจายพันธุ์ในเอเชียเขตร้อน ต่างประเทศพบที่แถบอินโดจีน มาเลเซีย และออสเตรเลียลักษณะทั่วไปและลักษณะเด่น ไม้ต้นขนาดกลาง สูง ๑๐-๒๐เมตร ผลัดใบ ทรงพุ่มกรวยแหลม เปลือกสีเทา มีกลิ่นฉุนเฉพาะตัว มีรอยแผลใบขนาดใหญ่กระจายอยู่ทั่วไป กิ่งตั้งฉากกับลําต้น ปลายย้อยลู่ลง กิ่งอ่อนมีขน กิ่งแก่ค่อนข้างเรียบใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปรีหรือรูปไข่ยาว กว้าง ๔-๗ เซนติเมตรยาว ๙-๒๐ เซนติเมตร ปลายแหลม โคนมนหรือเว้าและเบี้ยวเล็กน้อย ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่น ใบอ่อนมีขนทั้ง ๒ ด้าน ใบแก่มักมีขนตามเส้นแขนงใบและเส้นกลางใบ เส้นแขนงใบมี ๕-๙ คู่เป็นร่องส่วนบนของใบ ก้านใบยาว ๑-๑.๕ เซนติเมตรดอก ช่อดอกสั้น ออกห้อยรวมกันบนกิ่งเหนือรอยแผลใบ ช่อหนึ่งมี ๓-๖ ดอก ดอกอ่อนสีเขียว แก่สีเหลือง มีกลิ่นหอม ก้านดอกยาว ๒-๕ เซนติเมตร กลีบเลี้ยง ๓ กลีบ สีเขียว รูปสามเหลี่ยมขนาด ๕ มิลลิเมตร ปลายกลีบกระดกขึ้น กลีบดอกเรียงสลับกัน๒ ชั้น ๆ ละ ๓ กลีบ แต่ละกลีบรูปขอบขนานปลายแหลมขอบกลีบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย กลีบชั้นในแคบกว่าชั้นนอกโคนกลีบด้านในสีม่วงอมน้ ําตาล เส้นผ่านศูนย์กลางของดอก ๔-๖เซนติเมตร เกสรเพศผู้มีจํานวนมาก เกสรเพศเมียมีหลายอันผล ผลกลุ่ม ก้านช่อผลยาว ๒-๒.๕ เซนติเมตร มีผลย่อย ๕-๑๒ผล ก้านผลยาว ๑.๒-๑.๘ เซนติเมตร รูปกลมรี กว้าง ๑-๑.๕เซนติเมตร ยาว ๑.๕-๒.๕ เซนติเมตร ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีดําแต่ละผลมี ๒-๑๐ เมล็ดลักษณะเด่น เปลือกมีกลิ่นฉุนเฉพาะตัว มีรอยแผลใบขนาดใหญ่กระจายอยู่ทั่วไป กิ่งตั้งฉากกับลําต้น ปลายย้อยลู่ลง กลีบดอกเรียงสลับกัน ๒ ชั้น ๆ ละ ๓ กลีบ ดอกมีกลิ่นความสําคัญของพันธุ์ไม้ -ช่วงการออกดอกและติดผล ออกดอกตลอดปี แต่มีดอกดกในช่วงฤดูแล้งจนถึงต้นฤดูฝน ดอกบาน ๒-๓ วันแล้วร่วง ส่งกลิ่นหอมตลอดช่วงกลางวันและหอมแรงขึ้นในช่วงใกล้พลบค่ํา (ปิยะเฉลิมกลิ่น, ๒๕๕๑) ส่วนมากจะมีผลแก่เดือนมิถุนายน (ปิยะเฉลิมกลิ่น, ๒๕๔๘)การปลูกและการดูแล ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด ต้นที่มีความสูงประมาณ ๑ เมตร ควรปลูกลงแปลงกลางแจ้งเป็นต้นเดี ่ยวหรือปลูกเป็นแถวริมถนนให้ต้นห่างกัน ๕-๖ เมตร ปักหลักและผูกยึดป้องกันลมพัดโยก แต่ละต้นจะมีทรงพุ่มสวยงามและออกดอกดก คอยตัดแต่งกิ่งยอดที่มากเกินไป จะช่วยให้ทรงพุ่มโปร่งและกิ่งไม่ฉีกหัก การปลูกชิดกันเกินไปจะทําให้ต้นสูงชะลูดทรงพุ่มเบียดกัน และออกดอกได้น้อย ชอบแสงแดดตลอดวันขึ้นได้ดีในดินร่วน ต้องการน้ําปานกลาง (ปิยะ เฉลิมกลิ่น, ๒๕๕๑)ประโยชน์ทั่วไป ปลูกเป็นไม้ประดับและพืชสมุนไพร (ปิยะเฉลิมกลิ่น, ๒๕๔๘) สรรพคุณทางสมุนไพร ราก คุมกําเนิด เปลือกรักษามะเร็งเพลิง เนื้อไม้ รักษาโรคปัสสาวะพิการ ใบ รักษาโรคผิวหนัง แก้คัน ดอก แก้ลมวิงเวียน แก้ไข้ แก้อ่อนเพลีย บํารุงโลหิตบํารุงธาตุ บํารุงหัวใจ (พงษ์ศักดิ์ พลเสนา, ๒๕๕๐ ข)ประโยชน์ด้านการลดมลพิษและข้อมูลอื ่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง-

๔ - ๑๐๕. กระดังงาไทย (สะบันงาต้น)ชื่อพฤกษศาสตร์ Cananga odorata (Lam.) Hook. f. & Thomsonvar. odorataชื่อวงศ์ ANNONACEAEชื่อพื้นเมือง กระดังงา (ตรัง ยะลา) กระดังงาใบใหญ่ กระดังงาใหญ่(ภาคกลาง) สะบันงา สะบันงาต้น (ภาคเหนือ)ชื่อสามัญ -นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ์ ในป่าดิบทางภาคใต้ตอนล่างและมีปลูกทั่วไปในประเทศไทย มีเขตการกระจายพันธุ์ในเอเชียเขตร้อน ต่างประเทศพบที่แถบอินโดจีน มาเลเซีย และออสเตรเลียลักษณะทั่วไปและลักษณะเด่น ไม้ต้นขนาดกลาง สูง ๑๐-๒๐เมตร ผลัดใบ ทรงพุ่มกรวยแหลม เปลือกสีเทา มีกลิ่นฉุนเฉพาะตัว มีรอยแผลใบขนาดใหญ่กระจายอยู่ทั่วไป กิ่งตั้งฉากกับลําต้น ปลายย้อยลู่ลง กิ่งอ่อนมีขน กิ่งแก่ค่อนข้างเรียบใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปรีหรือรูปไข่ยาว กว้าง ๔-๗ เซนติเมตรยาว ๙-๒๐ เซนติเมตร ปลายแหลม โคนมนหรือเว้าและเบี้ยวเล็กน้อย ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่น ใบอ่อนมีขนทั้ง ๒ ด้าน ใบแก่มักมีขนตามเส้นแขนงใบและเส้นกลางใบ เส้นแขนงใบมี ๕-๙ คู่เป็นร่องส่วนบนของใบ ก้านใบยาว ๑-๑.๕ เซนติเมตรดอก ช่อดอกสั้น ออกห้อยรวมกันบนกิ่งเหนือรอยแผลใบ ช่อหนึ่งมี ๓-๖ ดอก ดอกอ่อนสีเขียว แก่สีเหลือง มีกลิ่นหอม ก้านดอกยาว ๒-๕ เซนติเมตร กลีบเลี้ยง ๓ กลีบ สีเขียว รูปสามเหลี่ยมขนาด ๕ มิลลิเมตร ปลายกลีบกระดกขึ้น กลีบดอกเรียงสลับกัน๒ ชั้น ๆ ละ ๓ กลีบ แต่ละกลีบรูปขอบขนานปลายแหลมขอบกลีบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย กลีบชั้นในแคบกว่าชั้นนอกโคนกลีบด้านในสีม่วงอมน้ ําตาล เส้นผ่านศูนย์กลางของดอก ๔-๖เซนติเมตร เกสรเพศผู้มีจํานวนมาก เกสรเพศเมียมีหลายอันผล ผลกลุ่ม ก้านช่อผลยาว ๒-๒.๕ เซนติเมตร มีผลย่อย ๕-๑๒ผล ก้านผลยาว ๑.๒-๑.๘ เซนติเมตร รูปกลมรี กว้าง ๑-๑.๕เซนติเมตร ยาว ๑.๕-๒.๕ เซนติเมตร ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีดําแต่ละผลมี ๒-๑๐ เมล็ดลักษณะเด่น เปลือกมีกลิ่นฉุนเฉพาะตัว มีรอยแผลใบขนาดใหญ่กระจายอยู่ทั่วไป กิ่งตั้งฉากกับลําต้น ปลายย้อยลู่ลง กลีบดอกเรียงสลับกัน ๒ ชั้น ๆ ละ ๓ กลีบ ดอกมีกลิ่นความสําคัญของพันธุ์ไม้ -ช่วงการออกดอกและติดผล ออกดอกตลอดปี แต่มีดอกดกในช่วงฤดูแล้งจนถึงต้นฤดูฝน ดอกบาน ๒-๓ วันแล้วร่วง ส่งกลิ่นหอมตลอดช่วงกลางวันและหอมแรงขึ้นในช่วงใกล้พลบค่ํา (ปิยะเฉลิมกลิ่น, ๒๕๕๑) ส่วนมากจะมีผลแก่เดือนมิถุนายน (ปิยะเฉลิมกลิ่น, ๒๕๔๘)การปลูกและการดูแล ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด ต้นที่มีความสูงประมาณ ๑ เมตร ควรปลูกลงแปลงกลางแจ้งเป็นต้นเดี ่ยวหรือปลูกเป็นแถวริมถนนให้ต้นห่างกัน ๕-๖ เมตร ปักหลักและผูกยึดป้องกันลมพัดโยก แต่ละต้นจะมีทรงพุ่มสวยงามและออกดอกดก คอยตัดแต่งกิ่งยอดที่มากเกินไป จะช่วยให้ทรงพุ่มโปร่งและกิ่งไม่ฉีกหัก การปลูกชิดกันเกินไปจะทําให้ต้นสูงชะลูดทรงพุ่มเบียดกัน และออกดอกได้น้อย ชอบแสงแดดตลอดวันขึ้นได้ดีในดินร่วน ต้องการน้ําปานกลาง (ปิยะ เฉลิมกลิ่น, ๒๕๕๑)ประโยชน์ทั่วไป ปลูกเป็นไม้ประดับและพืชสมุนไพร (ปิยะเฉลิมกลิ่น, ๒๕๔๘) สรรพคุณทางสมุนไพร ราก คุมกําเนิด เปลือกรักษามะเร็งเพลิง เนื้อไม้ รักษาโรคปัสสาวะพิการ ใบ รักษาโรคผิวหนัง แก้คัน ดอก แก้ลมวิงเวียน แก้ไข้ แก้อ่อนเพลีย บํารุงโลหิตบํารุงธาตุ บํารุงหัวใจ (พงษ์ศักดิ์ พลเสนา, ๒๕๕๐ ข)ประโยชน์ด้านการลดมลพิษและข้อมูลอื ่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง-

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!