11.07.2015 Views

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

๔ - ๒๑. รางจืดชื่อพฤกษศาสตร์ Thunbergia laurifolia Lindl.ชื่อวงศ์ ACANTHACEAEชื่อพื้นเมือง กําลังช้างเผือก ขอบชะนาง เครือเขาเขียว จางจืดยาเขียว (ภาคกลาง) คาย รางเย็น (ยะลา) ดุเหว่า (ปัตตานี) ทิดพุด(นครศรีธรรมราช) น้ํานอง (สระบุรี) ย่ําแย้ แอดแอ (เพชรบูรณ์)ชื่อสามัญ -นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ์ ขึ้นตามชายป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้ง จนถึงที่ความสูงจากระดับน้ําทะเล ๘๐๐ เมตรในประเทศไทยกระจายห่าง ๆ ทุกภูมิภาค พบมากทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ ต่างประเทศพบที ่พม่าและมาเลเซียลักษณะทั่วไปและลักษณะเด่น ไม้เถาเนื้อแข็งใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี รูปไข่ รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอกบางครั้งแผ่นใบช่วงล่างหยักเป็นพูตื้น ๆ ยาว ๔-๑๘ เซนติเมตรปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนกลม ตัด รูปหัวใจ หรือคล้ายลูกศรขอบใบเรียบหรือจักซี่ฟันตื้นห่าง ๆ แผ่นใบเกลี้ยง เส้นโคนใบส่วนมากมี ๕ เส้น ก้านใบยาวได้ประมาณ ๖ เซนติเมตรดอก ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง ยาวได้ประมาณ ๓๐ เซนติเมตร แต่ละกระจุกมีประมาณ ๔ ดอกหรือมากกว่า ใบประดับย่อยหุ้มกลีบเลี้ยง รูปขอบขนาน ยาวได้ประมาณ ๓ เซนติเมตร กลีบเลี้ยงรูปถ้วยขนาดเล็ก ขอบเกือบเรียบ มีต่อมน้ําต้อยตามขอบ ดอกรูปแตรสีม่วงอมน้ําเงินหรือสีขาวภายในหลอดกลีบมีสีครีมหรือเหลือง หลอดกลีบดอกยาว ๓-๕เซนติเมตร บานออกช่วงปลาย กลีบดอก ๕ กลีบ กลีบกลมหรือรูปไข่กว้าง เกสรเพศผู้ ๔ อัน ติดที่โคนหลอดกลีบ แยกเป็น ๒ คู่สั้นสอง ยาวสอง ไม่ยื่นเลยปากหลอดกลีบดอก รังไข่รูปกรวยเกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยาวกว่าเกสรเพศผู้ ยอดเกสรแผ่ออกคล้ายรูปแตรผล แบบแคปซูล กลม ๆ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๑.๕ เซนติเมตรปลายมีจะงอย แตกอ้าออก เมล็ด ๒ เมล็ดในแต่ละซีกลักษณะเด่น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกโคนเชื่อมติดกัน ปลายมี ๕ กลีบ เกสรเพศผู้ ๔ อัน สั้นสองยาวสอง (ก่องกานดา ชยามฤต, ๒๕๔๘)ความสําคัญของพันธุ์ไม้ -ช่วงการออกดอกและติดผล ออกดอกเดือนพฤศจิกายนถึงมกราคมติดผลเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคมการปลูกและการดูแล ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดและปักชํานิยมขยายพันธุ์โดยวิธีการปักชํา โดยจะตัดลําต้นที่มีตาติดอยู่ ๕-๖ตา ยาวประมาณ ๒๐-๓๐ เซนติเมตร มาปักชํา หรือใช้เมล็ดแก่คือประมาณเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม ให้เก็บเมล็ดรางจืดมาตั้งแต่ฝักยังไม่แตก แล้วนํามาใส่ในกระด้ง เพื่อป้องกันเมล็ดรางจืดแตกกระเด็นอัตราการใช้เมล็ดรางจืดต่อไร่ มีคําแนะนําให้ใช้อัตราต่อไร่ ประมาณ๓,๐๐๐-๕,๐๐๐ ตัน/ไร่ (สถาบันวิจัยสมุนไพร, ๒๕๕๓) การเตรียมดินปลูก ให้ขุดหลุมขนาด ๕๐x๕๐x๓๐ เซนติเมตร ระยะปลูก ๑x๑ เมตรตากดินไว้ประมาณ ๑ สัปดาห์ ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักรองก้นหลุมก่อนทําการปลูก ควรทําค้างปลูกอาจใช้ค้างปูนหรือค้างไม้ก็ได้ค้างรางจืดควรมีขนาดใหญ่ เนื่องจากรางจืดเป็นไม้เถาขนาดกลางและมีการเจริญเติบโตเร็ว การปลูกรางจืด จะปลูกในช่วงฤดูฝนประมาณเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม โดยปักชําในหลุมที ่เตรียมไว้หลุมละ๒-๓ ต้น กลบดินและกลบโคนให้แน่น และพรางแสงด้วยทางมะพร้าวหรือวัสดุอื่น เพื่อป้องกันการคายน้ําซึ่งอาจทําให้ต้นที่ปักชําตายได้ง่าย จากนั้นรดน้ําให้ชุ่มสม่ําเสมอจนกว่าจะแตกใบใหม่ ถ้ามีการเพาะชําใส่ถุงภายในโรงเรือนจะได้ต้นใหม่ที่มีความแข็งแรงและสะดวกในการปลูกลงแปลงปลูกมากกว่า แต่ไม่นิยมใช้วิธีนี้ เนื่องจากรางจืดเป็นพืชที ่ขยายพันธุ์ได้ง่ายและมีในธรรมชาติบริเวณนั้นจํานวนมากการดูแลรักษา รางจืดต้องการการดูแลรักษาและให้น้ําในช่วงเริ่มปลูกมากกว่าช่วงอื่น ๆ หลังจากนั้นมีการให้น้ําบ้างในช่วงฤดูแล้ง กําจัดวัชพืชบ้างเป็นครั้งคราว ให้ปุ๋ยอินทรีย์ (สถาบันวิจัยสมุนไพร, ๒๕๕๓)ประโยชน์ทั่วไป ปลูกเป็นไม้ประดับ สรรพคุณทางสมุนไพร ใช้ถอนพิษต่าง ๆ ในร่างกาย แก้ผื่นคันจากอาการแพ้ต่างๆ และถอนพิษจากการปวดแสบปวดร้อนจากแผลไฟไหม้น้ําร้อนลวก แต่ไม่เหมาะสําหรับผู้ที่มีโรคประจําตัวต้องกินยาเป็นประจํา เพราะจะทําให้ประสิทธิภาพของยาลดลง สรรพคุณทางสมุนไพร ราก แก้อักเสบ แก้ปวดบวมราก เถาและใบ ถอนพิษเบื่อเมา แก้เมาค้าง แก้ประจําเดือนไม่ปกติแก้ปวดหู แก้ปวดบวม แก้ไข้ ใบ ถอนพิษทั้งปวง (พงษ์ศักดิ์ พลเสนา,๒๕๕๐ ข)ประโยชน์ด้านการลดมลพิษและข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง-

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!