11.07.2015 Views

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

่๒ - ๒๑๑๐) สักขี ๑๑) ถอบแถบน้ํา ๑๒) หมามุ ่ยช้าง๑๓) เฟื่องฟ้า ๑๔) คัดเค้าเครือ๔.๑) ไม้เลื้อยที่มีใบเรียบ กว้าง มีศักยภาพในการลดออกไซด์ของไนโตรเจนซัลเฟอร์ไดออกไซด์ โอโซน ได้แก่๑) รางจืด ๒) การเวก ๓) โมกเครือ๔) คุย ๕) มรกตแดง ๖) กระเพาะปลา๗) ดองดึง ๘) สักขี ๙) ถอบแถบน้ํา๑๐) หมามุ ่ยช้าง ๑๑) เฟื่องฟ้า ๑๒) คัดเค้าเครือ๔.๒) ไม้เลื้อยที่มีใบหนา ผิวใบมีลักษณะเป็นไข มีศักยภาพในการลดสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย โพลีคลอริเนตเตดไบฟีนิล (พีซีบี) ไดออกซิน ฟูแรน ได้แก่๑) การเวก ๒) โมกเครือ ๓) บานบุรีเหลือง๔) คุย ๕) มรกตแดง ๖) สามสิบ๗) ดองดึง ๘) ถอบแถบน้ําได้แก่๔.๓) ไม้เลื้อยที่มีใบเรียวเล็ก ใบหยาบ มีขน เหนียว มีศักยภาพในการลดฝุ่นละออง๑) การเวก ๒) สามสิบ ๓) หมามุ ่ยช้าง๒.๒.๓ พรรณไม้จําแนกตามความเหมาะสมของประเภทพื้นที่พรรณไม้ที ่เหมาะสม จํานวน ๒๓๒ ชนิด เมื่อนํามาจําแนกตามความเหมาะสมของประเภทพื้นที๒ ประเภท ได้แก่ พื้นที่สาธารณะ และพื้นที่ส่วนบุคคล พบว่า มีพันธุ ์ไม้บางชนิดที่ไม่ควรส่งเสริมให้ปลูกในพื้นที่ดังกล่าว เนื่องจากมีลักษณะไม่เหมาะสมบางประการ (กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ,๒๕๕๕ ก, ข) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้๑) พื้นที่สาธารณะ พันธุ ์ไม้ที่นํามาปลูกในพื้นที่สาธารณะ ไม่ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้๑.๑) ไม้ที่มีพิษเป็นอันตรายต่อคนและสัตว์เลี้ยง เช่น มะม่วงหิมพานต์ สบู ่ดํา ไผ่(ขนบริเวณหน่อมีพิษ) หมามุ ่ยช้าง เต่าร้าง๑.๒) ไม้ที่นิยมบริโภค เนื่องจากอาจก่อให้เกิดปัญหาการแย่งชิงเพื่อนําไปบริโภคเช่น คุย ทุเรียน มังคุด ขนุน กล้วย เงาะ๑.๓) ไม้ที่มีกิ่งเปราะและหักง่าย เช่น มะรุม ตะกู

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!