11.07.2015 Views

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

๒ - ๑๐๒.๒.๒ พรรณไม้จําแนกตามระดับชั้นเรือนยอดในการจัดกลุ ่มพรรณไม้ตามระดับชั ้นเรือนยอด ได้แบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ดังนี้๑) ไม้ชั้นบน คือ ไม้ที่มีเรือนยอดแผ่ขยายอยู ่เหนือระดับชั ้นเรือนยอดของไม้ต้นอื่นในหมู ่ไม้นั ้น ได้รับแสงเต็มที่จากทางด้านบนและบางส่วนทางด้านข้าง โดยปกติเป็นต้นไม้ที่มีขนาดใหญ่โตกว่าถัวเฉลี่ย เป็นต้นที่แข็งแรงสมบูรณ์เต็มที่ โดยทั่วไป มักมีความสูงตั ้งแต่ ๒๐ เมตร ขึ้นไป๒) ไม้ชั้นกลาง (ไม้ชั้นรอง) คือ ไม้ที่อยู ่ต่ํากว่าไม้ชั ้นบน มีเรือนยอดพุ ่งขึ้นจนเกือบถึงระดับโดยทั่วไปของหมู ่ไม้ จึงทําให้ได้รับแสงโดยตรงเฉพาะทางด้านบนเท่านั ้น ส่วนด้านข้างจะถูกบังหมดปกติเป็นต้นที่มีเรือนยอดขนาดเล็ก มีลําต้นไม่ใหญ่ ความแข็งแรงและความสมบูรณ์ของต้นไม้มีปานกลางโดยทั่วไป มักมีความสูงในช่วงประมาณ ๑๐ - ๒๐ เมตร๓) ไม้ชั้นล่าง คือ ไม้ใต้ร่มเงาไม้อื่น ต้องการแสงสว่างน้อย ส่วนใหญ่เป็นพืชล้มลุก พืชพวกหญ้า ขิง ข่า และเฟิร์น โดยทั่วไป มักมีความสูงน้อยกว่า ๑๐ เมตร๔) ไม้เลื้อย คือ ไม้มีลักษณะเป็นเถา พันต้นไม้อื่นหรือสิ่งยึดเหนี่ยวอื่นในที่นี้ การจําแนกพรรณไม้ตามระดับชั ้นเรือนยอดเป็นไปตามดุลยพินิจของผู ้ทรงคุณวุฒิ(สมราน สุดดี, ๒๕๕๔ จ; สมราน สุดดี ๒๕๕๕ ก - ค) ทั ้งนี้ ไม้บางชนิดสามารถจัดอยู่ในกลุ ่มระดับชั ้นเรือนยอดได้มากกว่า ๑ กลุ ่มผลการจําแนกพรรณไม้ ๒๓๒ ชนิด ตามระดับชั้นเรือนยอด ลักษณะใบ และประเภทของมลพิษ แสดงโดยสรุปในแผนภาพที่ ๒.๑

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!