ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

11.07.2015 Views

๒ - ๙๑๒๑) หงอนไก่ทะเล ๑๒๒) กฤษณาได้แก่๓) ไม้ที่มีใบเรียวเล็ก ใบหยาบ มีขน เหนียว มีศักยภาพในการลดฝุ่นละออง จํานวน ๗๘ ชนิด๑) มะปราง ๒) พระเจ้าห้าพระองค์ ๓) มะม่วงไข่แลน๔) มะม่วงป่า ๕) มะม่วงช้างเหยียบ ๖) การเวก๗) กะเจียน (พญารากดํา) ๘) สนฉัตร ๙) สามสิบ๑๐) แคแสด ๑๑) สนทะเล ๑๒) สนประดิพัทธ์๑๓) มะพอก ๑๔) หูกระจง ๑๕) เบญจมาศ๑๖) ดาวเรือง ๑๗) คํารอก (ประดงเลือด) ๑๘) ปรง๑๙) กระจูด (กก) ๒๐) ยางนา ๒๑) ยางกล่อง๒๒) เหียง ๒๓)ยางแดง ๒๔) ตะโกสวน๒๕) มะขามป้อม ๒๖) กรวยป่า ๒๗) ไผ่๒๘) หญ้าลอยลม ๒๙) ตีนนก (นน กะพุน) ๓๐) คนทีสอทะเล๓๑) หมีเหม็น (หมูทะลวง) ๓๒)นกยูงฝรั่ง (หางนกยูงฝรั่ง) ๓๓) มะค่าแต้๓๔) กระถินณรงค์ ๓๕)กระถินเทพา ๓๖) พฤกษ์๓๗) จามจุรี (ก้ามปู) ๓๘)ทองกวาว ๓๙) หมามุ ่ยช้าง๔๐) เกล็ดปลาช่อน ๔๑) ตะแบก ๔๒) เสลา๔๓) กระท้อน ๔๔) ขนุน ๔๕) มะหาด๔๖) ขนุนป่า ๔๗)มะเดื่ออุทุมพร (มะเดื่อ) ๔๘) ข่อย๔๙) สนทราย ๕๐) แปรงล้างขวด ๕๑) เสม็ดขาว๕๒) พรวด ๕๓)หมาก ๕๔) ตาลโตนด๕๕) เต่าร้าง ๕๖) จาก ๕๗) หลาวชะโอน๕๘) เป้ง ๕๙) เป้งทะเล ๖๐) เตยทะเล๖๑) ปรงทะเล ๖๒) ถั่วขาว ๖๓) ถั่วดํา๖๔) มะเค็ด (หนามแท่ง) ๖๕) สันโสก ๖๖) มะหวด๖๗) พิกุล ๖๘) งาไซ (โพอาศัย) ๖๙) ราชดัด (พญาดาบหัก)๗๐) ปลาไหลเผือก ๗๑)ดุหุนใบเล็ก ๗๒) หงอนไก่ทะเล๗๓) สํารอง (พุงทะลาย) ๗๔)สํารองกะโหลก ๗๕) สําโรง๗๖) พลับพลา (มลาย) ๗๗)ตะขบฝรั่ง (ตะขบบ้าน) ๗๘) กระเชา

๒ - ๑๐๒.๒.๒ พรรณไม้จําแนกตามระดับชั้นเรือนยอดในการจัดกลุ ่มพรรณไม้ตามระดับชั ้นเรือนยอด ได้แบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ดังนี้๑) ไม้ชั้นบน คือ ไม้ที่มีเรือนยอดแผ่ขยายอยู ่เหนือระดับชั ้นเรือนยอดของไม้ต้นอื่นในหมู ่ไม้นั ้น ได้รับแสงเต็มที่จากทางด้านบนและบางส่วนทางด้านข้าง โดยปกติเป็นต้นไม้ที่มีขนาดใหญ่โตกว่าถัวเฉลี่ย เป็นต้นที่แข็งแรงสมบูรณ์เต็มที่ โดยทั่วไป มักมีความสูงตั ้งแต่ ๒๐ เมตร ขึ้นไป๒) ไม้ชั้นกลาง (ไม้ชั้นรอง) คือ ไม้ที่อยู ่ต่ํากว่าไม้ชั ้นบน มีเรือนยอดพุ ่งขึ้นจนเกือบถึงระดับโดยทั่วไปของหมู ่ไม้ จึงทําให้ได้รับแสงโดยตรงเฉพาะทางด้านบนเท่านั ้น ส่วนด้านข้างจะถูกบังหมดปกติเป็นต้นที่มีเรือนยอดขนาดเล็ก มีลําต้นไม่ใหญ่ ความแข็งแรงและความสมบูรณ์ของต้นไม้มีปานกลางโดยทั่วไป มักมีความสูงในช่วงประมาณ ๑๐ - ๒๐ เมตร๓) ไม้ชั้นล่าง คือ ไม้ใต้ร่มเงาไม้อื่น ต้องการแสงสว่างน้อย ส่วนใหญ่เป็นพืชล้มลุก พืชพวกหญ้า ขิง ข่า และเฟิร์น โดยทั่วไป มักมีความสูงน้อยกว่า ๑๐ เมตร๔) ไม้เลื้อย คือ ไม้มีลักษณะเป็นเถา พันต้นไม้อื่นหรือสิ่งยึดเหนี่ยวอื่นในที่นี้ การจําแนกพรรณไม้ตามระดับชั ้นเรือนยอดเป็นไปตามดุลยพินิจของผู ้ทรงคุณวุฒิ(สมราน สุดดี, ๒๕๕๔ จ; สมราน สุดดี ๒๕๕๕ ก - ค) ทั ้งนี้ ไม้บางชนิดสามารถจัดอยู่ในกลุ ่มระดับชั ้นเรือนยอดได้มากกว่า ๑ กลุ ่มผลการจําแนกพรรณไม้ ๒๓๒ ชนิด ตามระดับชั้นเรือนยอด ลักษณะใบ และประเภทของมลพิษ แสดงโดยสรุปในแผนภาพที่ ๒.๑

๒ - ๙๑๒๑) หงอนไก่ทะเล ๑๒๒) กฤษณาได้แก่๓) ไม้ที่มีใบเรียวเล็ก ใบหยาบ มีขน เหนียว มีศักยภาพในการลดฝุ่นละออง จํานวน ๗๘ ชนิด๑) มะปราง ๒) พระเจ้าห้าพระองค์ ๓) มะม่วงไข่แลน๔) มะม่วงป่า ๕) มะม่วงช้างเหยียบ ๖) การเวก๗) กะเจียน (พญารากดํา) ๘) สนฉัตร ๙) สามสิบ๑๐) แคแสด ๑๑) สนทะเล ๑๒) สนประดิพัทธ์๑๓) มะพอก ๑๔) หูกระจง ๑๕) เบญจมาศ๑๖) ดาวเรือง ๑๗) คํารอก (ประดงเลือด) ๑๘) ปรง๑๙) กระจูด (กก) ๒๐) ยางนา ๒๑) ยางกล่อง๒๒) เหียง ๒๓)ยางแดง ๒๔) ตะโกสวน๒๕) มะขามป้อม ๒๖) กรวยป่า ๒๗) ไผ่๒๘) หญ้าลอยลม ๒๙) ตีนนก (นน กะพุน) ๓๐) คนทีสอทะเล๓๑) หมีเหม็น (หมูทะลวง) ๓๒)นกยูงฝรั่ง (หางนกยูงฝรั่ง) ๓๓) มะค่าแต้๓๔) กระถินณรงค์ ๓๕)กระถินเทพา ๓๖) พฤกษ์๓๗) จามจุรี (ก้ามปู) ๓๘)ทองกวาว ๓๙) หมามุ ่ยช้าง๔๐) เกล็ดปลาช่อน ๔๑) ตะแบก ๔๒) เสลา๔๓) กระท้อน ๔๔) ขนุน ๔๕) มะหาด๔๖) ขนุนป่า ๔๗)มะเดื่ออุทุมพร (มะเดื่อ) ๔๘) ข่อย๔๙) สนทราย ๕๐) แปรงล้างขวด ๕๑) เสม็ดขาว๕๒) พรวด ๕๓)หมาก ๕๔) ตาลโตนด๕๕) เต่าร้าง ๕๖) จาก ๕๗) หลาวชะโอน๕๘) เป้ง ๕๙) เป้งทะเล ๖๐) เตยทะเล๖๑) ปรงทะเล ๖๒) ถั่วขาว ๖๓) ถั่วดํา๖๔) มะเค็ด (หนามแท่ง) ๖๕) สันโสก ๖๖) มะหวด๖๗) พิกุล ๖๘) งาไซ (โพอาศัย) ๖๙) ราชดัด (พญาดาบหัก)๗๐) ปลาไหลเผือก ๗๑)ดุหุนใบเล็ก ๗๒) หงอนไก่ทะเล๗๓) สํารอง (พุงทะลาย) ๗๔)สํารองกะโหลก ๗๕) สําโรง๗๖) พลับพลา (มลาย) ๗๗)ตะขบฝรั่ง (ตะขบบ้าน) ๗๘) กระเชา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!