11.07.2015 Views

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

๑ - ๔๒) การปลูกพันธุ์ไม้ในพื้นที่โครงการอุตสาหกรรม มีข้อเสนอแนะทั่วไป เช่น๒.๑) ควรปลูกไม้ที่สามารถช่วยลดอุณหภูมิภายในอาคารและภายในพื้นที่โครงการ โดยอาจมีรูปแบบต่างๆ อาทิ (ก)“greenwall” เช่น ปลูกแนวไม้ยืนต้นที่ให้ร่มเงา ต้นสูงโตเร็ว ทนทานแข็งแรงแต่ลู ่ลมไม่หักง่าย ในพื้นที ่แคบและอยู ่ใกล้อาคาร ประมาณ ๑ เมตร (ข) “green roof” คือ ปลูกไม้บนหลังคาตึก ทั ้งนี้การจัดทํา green wall และ green roof จะต้องคํานึงถึงการดูแลรักษา เพื่อป้องกันโอกาสเกิดอัคคีภัย เนื่องจากใบไม้บริเวณใกล้อาคารหรือหลังคาตึก มีความแห้งมาก (ค) เกาะตามผนังกําแพงหรือริมรั ้ว เช่น ไม้เลื้อยประเภทต่าง ๆ๒.๒) ควรปลูกไม้ประดับที่มีศักยภาพในการลดมลพิษไว้ภายในอาคารการปลูกพันธุ์ไม้ในพื้นที่ชุมชน พื้นที่สาธารณประโยชน์ หรือภายในเขตพื ้นที่โครงการอุตสาหกรรมมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เช่น (ก) ควรปลูกไม้ที่หลากหลาย และปลูกไม้หลายระดับสลับกัน และ (ข) ปลูกไม้ไม่ผลัดใบเป็นหลัก และปลูกไม้ผลัดใบแซมพันธุ์ไม้บางประเภทอาจก่อปัญหารบกวน จึงพึงหลีกเลี่ยงไม่ควรปลูกทั้งในพื้นที่ชุมชนและภายในเขตพื้นที่โครงการอุตสาหกรรม อาทิ (ก) ไม้ที ่มีกลิ่นฉุนรุนแรงหรือมียางที ่เป็นพิษ เช่น พญาสัตบรรณ (ตีนเป็ด)ออกดอกที่มีกลิ่นแรง และออกดอกเป็นจํานวนมาก เมื่อบางคนสัมผัสกลิ่นอาจเกิดอาการแพ้ และ (ข) ไม้ที่มีรากแผ่กว้างในแนวระนาบ สามารถชอนไชทําให้อาคารเกิดรอยร้าว เช่น ชมพูพันธ์ทิพย์ในเอกสารนี้ ได้รวบรวมรายชื่อพรรณไม้ในวงกว้าง ครอบคลุมไม้หลากหลายประเภทที่เหมาะสมกับระบบนิเวศและวิถีชีวิตของชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย ยกเว้นเพียงไม้ที่ผู ้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นพ้องต้องกันว่ามีลักษณะอันพึงหลีกเลี่ยงเท่านั ้น ดังนั ้น การนํารายชื่อพรรณไม้ดังกล่าวนี้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผลตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ยังต้องคํานึงถึงรายละเอียดของข้อจํากัดหรือเงื่อนไขต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับไม้ชนิดนั ้น ๆ และลักษณะพื้นที่ที่จะปลูก รวมทั ้งข้อมูลทางวิชาการที่อาจเปลี่ยนแปลงไปอันเนื่องมาจากผลการศึกษาวิจัยใหม่ในอนาคต

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!