11.07.2015 Views

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

๔ - ๘๒๔๑. เลียบชื่อพฤกษศาสตร์ Ficus superba (Miq.) Miq. var. superbaชื่อวงศ์ MORACEAEชื่อพื้นเมือง ไกร (กรุงเทพฯ) ไทรเลียบ (ประจวบคีรีขันธ์)โพไทร (นครราชสีมา) ผักเฮือด (ภาคกลาง)ชื่อสามัญ -นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ์ พบขึ้นทั่วไป ที่ความสูงจากระดับน้ําทะเลถึง ๑๕๐ เมตร ต่างประเทศพบในภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย (เมธินี ตาฬุมาศสวัสดิ ์, ๒๕๕๒)ลักษณะทั่วไปและลักษณะเด่น ไม้ต้น สูง ๘–๑๐ เมตรลําต้นเป็นพูพอน เรือนยอดแผ่กว้าง กิ่งก้านแผ่สาขา มีน้ํายางสีขาว เปลือกสีเทาเรียบ ทุก ๆ ส่วนเกลี้ยง ยกเว้นหูใบใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือขอบขนาน กว้าง ๕–๑๓เซนติเมตร ยาว ๑๒–๒๕ เซนติเมตร ปลายเป็นติ่งแหลมหรือเรียวแหลม โคนแหลม ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่น ก้านใบยาวประมาณ ๘–๑๔ เซนติเมตร ใบอ่อนมีสีค่อนข้างแดงหรือสีเขียวอ่อนดอก ออกเป็นกระจุกบนช่อสั้น ๆ ตามกิ่ง ถูกปกปิดอยู่เกือบมองไม่เห็นภายในฐานรองดอกเรียกว่า Figผล แบบผลมะเดื่อ รูปกลมแกมรูปไข่กลับ กว้าง ๑.๘-๒.๕เซนติเมตร ผลอ่อนสีเขียว และเปลี่ยนเป็นสีชมพูแดงม่วง หรือดําเมื่อแก่เต็มที ่ ภายในมีเมล็ดมากลักษณะเด่น ลําต้นเป็นพูพอน เรือนยอดแผ่กว้าง กิ่งก้านแผ่สาขาเปลือกสีเทาเรียบ มีน้ํายางสีขาว ใบอ่อนมีสีค่อนข้างแดงหรือสีเขียวอ่อนความสําคัญของพันธุ์ไม้ -ช่วงการออกดอกและติดผล ออกดอกและติดผลเดือนมกราคมถึงพฤศจิกายน (ภานุมาศ จันทร์สุวรรณ และคณะ,๒๕๔๙) ต่างจากราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๓๘) ที่กล่าวว่าออกดอกและติดผลระหว่างเดือนมกราคมถึงเมษายนการปลูกและการดูแล ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดหรือปักชําฮอร์โมนที่ใช้ในระดับความเข้มข้นที่แตกต่างกันต่อการทดลองปักชํากิ่ง มีความผันแปรไปตามชนิดของพรรณไม้พบว่า ผักเฮือด(Ficus superba) ออกรากได้ดีเมื่อใช้ IBA ๓,๐๐๐ ppm (๗๒%)(สุภาวรรณ วงศ์คําจันทร์, ๒๕๕๑)ประโยชน์ทั่วไป แก้โรคเบาหวาน (เมธินี ตาฬุมาศสวัสดิ์, ๒๕๕๒)ใบ แก้ผดผื่นคัน เข้ายาทาฝี แก้ริดสีดวง แก้เมื่อยขบ ส่วนรากแก้โรคทางเดินปัสสาวะ โดยการต้มดื่ม แก้ขัดเบา แก้ตับพิการเป็นยาระบาย ผลสุก รับประทานได้ ยอดอ่อนและใบอ่อน นํามารับประทาน เปลือก แก้ปวดท้อง ท้องร่วง เนื้อไม้เป็นยาสมานและคุมธาตุประโยชน์ด้านการลดมลพิษและข้อมูลอื ่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง-

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!