ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

11.07.2015 Views

๔ - ๗๙ก.ข.ค.ขนุนป่า Artocarpus rigidus Blume subsp. rigidus ก. ต้น, ข. เปลือก, ค. ผลที่มา จังหวัดฉะเชิงเทราที่มา ผลขนุนป่า http://www.magnoliathailand.com/webboard/index.php?topic=5221.0(กันยายน ๒๕๕๔)

๔ - ๘๐๔๐. โพศรีมหาโพธิ์ชื่อพฤกษศาสตร Ficus religiosa L.ชื่อวงศ MORACEAEชื่อพื้นเมือง ปู (เขมร) โพ โพธิ์ (ภาคกลาง) ยอง (เงี้ยว แมฮองสอน)สลี (ภาคเหนือ)ชื่อสามัญ Pipal tree, Sacred fig treeนิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ ในไทยพบในธรรมชาตินอยซึ่งเขาใจวากระจายพันธุมาจากตนที่นํามาปลูก พบมากที่ขึ้นตามซากอาคาร และนิยมปลูกตามวัดทุกภาคทั่วประเทศ มีเขตการกระจายพันธุกวาง พบตั้งแตปากีสถาน จีนตอนใต และภูมิภาคอินโดจีนลักษณะทั่วไปและลักษณะเดน ไมตนกึ่งอิงอาศัย สูงไดประมาณ๓๕ เมตร ผลัดใบหรือไมผลัดใบ น้ํายางสีขาว ลําตนและกิ่งมักคดงอใบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปไขกวางหรือรูปหัวใจ กวาง ๒.๕-๑๓เซนติเมตร ยาว ๕-๒๐ เซนติเมตร ปลายยาวคลายหาง โคนตัดหรือรูปหัวใจ แผนใบเกลี้ยงทั้งสองดาน ดานลางมีซิสโทลิท(cystolith) คลายๆ กับผลึกของแคลเซียมคารบอเนทที่ผิวใบกานใบยาว ๒.๕-๑๒ เซนติเมตรดอก ดอกชอมีลักษณะคลายผล ออกที่งามใบหรือตามกิ่งบริเวณที่ใบหลุดรวงไปแลว ออกเปนคูหรือเดี่ยว ไมมีกานชอดอกรูปกลมแปน ฐานรองดอกขยายใหญ โอบหุมดอกยอยจํานวนมากไวภายใน ปลายมีชองเปดและมีใบประดับขนาดเล็กปดคลุมไวดานลางมีใบประดับรูปกลม ๓ ใบ ดอกแยกเพศ อยูในชอเดียวกันประกอบดวยดอก ๓ ชนิด ดอกเพศผู ดอกเพศเมีย และดอกปุมหูดดอกเพศผูติดเรียงเปนวง อยูตรงปลายชองปด ไมมีกานดอกกลีบรวม ๒-๓ กลีบ รูปไขแกมใบหอก เกสรเพศผู ๑ อัน อับเรณูรูปกลมรี ปลายมีรยางคแหลม ดอกเพศเมียจํานวนมาก กานดอกสั้นหรือไมมี กลีบรวม ๔-๕ กลีบ รูปใบหอก รังไขอยูเหนือวงกลีบรูปไขกลับดอกปุมหูดจํานวนมาก คลายกับดอกเพศเมีย แตสวนใหญไมมีกลีบรวม รังไขมีกานชู กานเกสรสั้น ภายในมีไขของแมลงผล แบบผลมะเดื่อ (syconum หรือ fig) รูปกลมแปน ผลแกมีสีมวงลักษณะเดน น้ํายางสีขาว ใบปลายยาวคลายหาง โคนตัดหรือรูปหัวใจ แผนใบ ดานลางมีซิสโทลิท คลายๆ กับผลึกของแคลเซียมคารบอเนทที่ผิวใบ ดอกชอมีลักษณะคลายผล ไมมีกานชอดอก รูปกลมแปน ผลแบบผลมะเดื ่อความสําคัญของพันธุไม พันธุไมพระราชทานเพื่อปลูกเปนมงคลจังหวัดปราจีนบุรี (เมธินี ตาฬุมาศสวัสดิ์ และคณะ,๒๕๕๒)ชวงการออกดอกและติดผล ออกดอกและติดผลตลอดป(เมธินี ตาฬุมาศสวัสดิ์ และคณะ, ๒๕๕๒)การปลูกและการดูแล ขยายพันธุโดยการเพาะเมล็ดและกิ่งชําขึ้นไดสภาพดินทุกชนิด ตองการน้ําปานกลางประโยชนทั่วไป เปลือก ทํายาชงหรือยาตม แกโรคหนองในใบและยอดออน แกโรคผิวหนัง ผล เปนยาระบาย (เมธินีตาฬุมาศสวัสดิ์ และคณะ, ๒๕๕๒) สวนของตนไม ใชในหลายๆ พิธีงานแตงงาน แผลมีหนอง หนองใน โรคผิวหนังอื่น ๆ ผล เปนยาระบาย รักษาโรคหืด (ไซมอน การดเนอร และคณะ, ๒๕๔๓)สรรพคุณทางสมุนไพร ราก พอกรักษาแผลที่ปากในเด็ก เปลือกแกโรคหนองใน โรคหิด โรคเทาชาง กระตุนกําหนัด น้ํายางแกอาการปวดประสาท แกอักเสบ ใบ เปนยาถาย แกโรคผิวหนัง(พงษศักดิ์ พลเสนา, ๒๕๕๐ ข)ประโยชนดานการลดมลพิษและขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของมีความสามารถในการดูดกลืนเสียงไดปานกลาง เมื่อเปรียบเทียบกับพืชอื่นที่ศึกษา มีคาสัมประสิทธิ์การดูดกลืนเสียง ๐.๒๘๓สามารถลดระดับความเขมเสียง ๙๐ เดซิเบล เอ ลงมาเหลือ๘๘.๗๗ เดซิเบล เอ เมื่อมีทรงพุม ๑ เมตร (สมเกียรติ วันแกว,๒๕๓๒) คา Air pollution tolerance index (APTI) จาก Electronic cityof south Bengaluru มีคาเทากับ ๑๖.๖๐๕ จาก Jigini industrial areaof south Bengaluru มีคาเทากับ ๑๘.๕ จาก Bommasandraindustrial area of south Bengaluru มีคาเทากับ ๑๘.๕ (Begum A,Harikrishna S, 2010) โพศรีมหาโพธิ์มีความสามารถในการจับฝุนละอองไดในระดับปานกลาง เมื่อเปรียบเทียบกับพืชอื่นที่ศึกษา สามารถจับฝุนละอองรอยละ ๑๒.๙๔ (CentralPollution Control Board, 2007)

๔ - ๘๐๔๐. โพศรีมหาโพธิ์ชื่อพฤกษศาสตร Ficus religiosa L.ชื่อวงศ MORACEAEชื่อพื้นเมือง ปู (เขมร) โพ โพธิ์ (ภาคกลาง) ยอง (เงี้ยว แมฮองสอน)สลี (ภาคเหนือ)ชื่อสามัญ Pipal tree, Sacred fig treeนิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ ในไทยพบในธรรมชาตินอยซึ่งเขาใจวากระจายพันธุมาจากตนที่นํามาปลูก พบมากที่ขึ้นตามซากอาคาร และนิยมปลูกตามวัดทุกภาคทั่วประเทศ มีเขตการกระจายพันธุกวาง พบตั้งแตปากีสถาน จีนตอนใต และภูมิภาคอินโดจีนลักษณะทั่วไปและลักษณะเดน ไมตนกึ่งอิงอาศัย สูงไดประมาณ๓๕ เมตร ผลัดใบหรือไมผลัดใบ น้ํายางสีขาว ลําตนและกิ่งมักคดงอใบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปไขกวางหรือรูปหัวใจ กวาง ๒.๕-๑๓เซนติเมตร ยาว ๕-๒๐ เซนติเมตร ปลายยาวคลายหาง โคนตัดหรือรูปหัวใจ แผนใบเกลี้ยงทั้งสองดาน ดานลางมีซิสโทลิท(cystolith) คลายๆ กับผลึกของแคลเซียมคารบอเนทที่ผิวใบกานใบยาว ๒.๕-๑๒ เซนติเมตรดอก ดอกชอมีลักษณะคลายผล ออกที่งามใบหรือตามกิ่งบริเวณที่ใบหลุดรวงไปแลว ออกเปนคูหรือเดี่ยว ไมมีกานชอดอกรูปกลมแปน ฐานรองดอกขยายใหญ โอบหุมดอกยอยจํานวนมากไวภายใน ปลายมีชองเปดและมีใบประดับขนาดเล็กปดคลุมไวดานลางมีใบประดับรูปกลม ๓ ใบ ดอกแยกเพศ อยูในชอเดียวกันประกอบดวยดอก ๓ ชนิด ดอกเพศผู ดอกเพศเมีย และดอกปุมหูดดอกเพศผูติดเรียงเปนวง อยูตรงปลายชองปด ไมมีกานดอกกลีบรวม ๒-๓ กลีบ รูปไขแกมใบหอก เกสรเพศผู ๑ อัน อับเรณูรูปกลมรี ปลายมีรยางคแหลม ดอกเพศเมียจํานวนมาก กานดอกสั้นหรือไมมี กลีบรวม ๔-๕ กลีบ รูปใบหอก รังไขอยูเหนือวงกลีบรูปไขกลับดอกปุมหูดจํานวนมาก คลายกับดอกเพศเมีย แตสวนใหญไมมีกลีบรวม รังไขมีกานชู กานเกสรสั้น ภายในมีไขของแมลงผล แบบผลมะเดื่อ (syconum หรือ fig) รูปกลมแปน ผลแกมีสีมวงลักษณะเดน น้ํายางสีขาว ใบปลายยาวคลายหาง โคนตัดหรือรูปหัวใจ แผนใบ ดานลางมีซิสโทลิท คลายๆ กับผลึกของแคลเซียมคารบอเนทที่ผิวใบ ดอกชอมีลักษณะคลายผล ไมมีกานชอดอก รูปกลมแปน ผลแบบผลมะเดื ่อความสําคัญของพันธุไม พันธุไมพระราชทานเพื่อปลูกเปนมงคลจังหวัดปราจีนบุรี (เมธินี ตาฬุมาศสวัสดิ์ และคณะ,๒๕๕๒)ชวงการออกดอกและติดผล ออกดอกและติดผลตลอดป(เมธินี ตาฬุมาศสวัสดิ์ และคณะ, ๒๕๕๒)การปลูกและการดูแล ขยายพันธุโดยการเพาะเมล็ดและกิ่งชําขึ้นไดสภาพดินทุกชนิด ตองการน้ําปานกลางประโยชนทั่วไป เปลือก ทํายาชงหรือยาตม แกโรคหนองในใบและยอดออน แกโรคผิวหนัง ผล เปนยาระบาย (เมธินีตาฬุมาศสวัสดิ์ และคณะ, ๒๕๕๒) สวนของตนไม ใชในหลายๆ พิธีงานแตงงาน แผลมีหนอง หนองใน โรคผิวหนังอื่น ๆ ผล เปนยาระบาย รักษาโรคหืด (ไซมอน การดเนอร และคณะ, ๒๕๔๓)สรรพคุณทางสมุนไพร ราก พอกรักษาแผลที่ปากในเด็ก เปลือกแกโรคหนองใน โรคหิด โรคเทาชาง กระตุนกําหนัด น้ํายางแกอาการปวดประสาท แกอักเสบ ใบ เปนยาถาย แกโรคผิวหนัง(พงษศักดิ์ พลเสนา, ๒๕๕๐ ข)ประโยชนดานการลดมลพิษและขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของมีความสามารถในการดูดกลืนเสียงไดปานกลาง เมื่อเปรียบเทียบกับพืชอื่นที่ศึกษา มีคาสัมประสิทธิ์การดูดกลืนเสียง ๐.๒๘๓สามารถลดระดับความเขมเสียง ๙๐ เดซิเบล เอ ลงมาเหลือ๘๘.๗๗ เดซิเบล เอ เมื่อมีทรงพุม ๑ เมตร (สมเกียรติ วันแกว,๒๕๓๒) คา Air pollution tolerance index (APTI) จาก Electronic cityof south Bengaluru มีคาเทากับ ๑๖.๖๐๕ จาก Jigini industrial areaof south Bengaluru มีคาเทากับ ๑๘.๕ จาก Bommasandraindustrial area of south Bengaluru มีคาเทากับ ๑๘.๕ (Begum A,Harikrishna S, 2010) โพศรีมหาโพธิ์มีความสามารถในการจับฝุนละอองไดในระดับปานกลาง เมื่อเปรียบเทียบกับพืชอื่นที่ศึกษา สามารถจับฝุนละอองรอยละ ๑๒.๙๔ (CentralPollution Control Board, 2007)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!