11.07.2015 Views

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ฉบับวิชาการ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

๔ - ๖๔๓๒. ประดูบานชื่อพฤกษศาสตร Pterocarpus indicus Willd.ชื่อวงศ LEGUMINOSAE–PAPILIONOIDEAEชื่อพื้นเมือง ดูบาน (ภาคเหนือ) ประดูกิ่งออน ประดูลาย ประดูอังสนา(ภาคกลาง) สะโน (มลายู นราธิวาส)ชื่อสามัญ Angsana, Red sandalwoodนิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ พบขึ้นในปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณและปาดิบแลง ในประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ตางประเทศพบที ่พมาและลาวลักษณะทั่วไปและลักษณะเดน ไมตนขนาดใหญ สูงถึง ๓๐ เมตรผลัดใบ เรือนยอดแผกวาง มีพูพอนเตี ้ย ๆ เปลือกหนาสีน้ ําตาลดําแตกเปนรองลึกหรือเปนแผนหนา สับเปลือกมีน้ ํายางสีแดง ปลายกิ่งหอยยอยลงใบ ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียวปลายคี่ เรียงสลับ กานและแกนชอใบมีขน ใบยอย ๕-๙ ใบ เรียงสลับ รูปไขแกมขอบขนาน ปลายแหลมเปนติ ่งโคนกลมหรือตัด ขอบใบเรียบ แผนใบบางคลายกระดาษ ผิวใบดานบนเกลี ้ยงเปนมัน ดานลางมีขนเห็นชัดเจนที ่เสนใบดอก ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกที่งามใบใกลปลายกิ่ง มีกลิ่นหอมดอกยอยจํานวนมาก กานและแกนในชอดอกมีขน กลีบเลี ้ยงเชื่อมติดกันรูประฆัง โคนเบี ้ยว ปลายแยกเปน ๕ แฉก รูปสามเหลี ่ยม ผิวมีขนทั้งสองดาน กลีบดอกรูปดอกถั่ว สีเหลืองเขม กลีบกลางรูปกลมหรือไขกลับกลีบพับจีบ โคนสอบแหลมเปนกานกลีบ กลีบคูขางรูปไขกลับเบี ้ยวกลีบคูลางรูปขอบขนาน เกสรเพศผู ๑๐ อัน แยกเปน ๒ มัด (๙+๑)รังไขอยูเหนือวงกลีบ รูปไข มีขนยาว กานชูรังไขสั้น ยอดเกสรเปนตุมขนาดเล็กผล เปนฝกแบน รูปกลมมีปกโดยรอบ เสนผานศูนยกลาง ๓-๕เซนติเมตร เมล็ด ๑-๒ เมล็ด สีน้ ําตาลแดงลักษณะเดน สับเปลือกมีน้ ํายางสีแดง ผลเปนฝกแบน รูปกลมมีปกโดยรอบความสําคัญของพันธุไม พันธุไมพระราชทานเพื่อปลูกเปนมงคลจังหวัดภูเก็ต (เมธินี ตาฬุมาศสวัสดิ์ และคณะ, ๒๕๕๒) เปนดอกไมประจํากองทัพเรือแทนความหมายและสัญลักษณวา พรอมใจกันแบงบานดวยความสามัคคี (ธัญนันท วีระกุล, ๒๕๕๑) คนไทยโบราณนิยมปลูกประดูไวทางทิศตะวันตกของบาน เพื่อไดรมเงาและบังแดดอันรอนแรงยามบาย ถือเปนไมมงคลที่ควรปลูกประจําบาน ดวยความเชื ่อที ่วากอใหเกิดพลังแหงความยิ่งใหญ รวมเปนหนึ่งเดียวกัน เพราะประดูคือความพรอม ความสามัคคี รวมมือรวมใจ บานใดปลูกตนประดูจะชวยใหคนในบานเต็มไปดวยความรักและสามัคคี ไมทะเลาะเบาะแวง และรักใครกลมเกลียวกัน (ธัญนันท วีระกุล, ๒๕๕๑)ชวงการออกดอกและติดผล ออกดอกเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมดอกบานเกือบพรอมกันและโรยพรอมๆ กันการปลูกและการดูแล ขยายพันธุโดยการเพาะเมล็ดและปกชํากิ่งเปนไมที่เจริญเติบโตเร็วและใหรมเงาไดดี เลี ้ยงงายไมคอยพบปญหาเรื่องศัตรูพืชหรือโรคตางๆ ทั้งยังทนตอสภาพธรรมชาติไดดี ควรปลูกหางจากตนไมอื่นอยางนอย ๖ เมตร หรือมีบริเวณกวางสักหนอย เพราะประดูโตเร็ว พุมใบทึบ และแตกกิ่งกานสาขาแผกวาง หากปลูกใกลบานมากเกินไป กิ่งกานของประดูอาจระหลังคาหรือตัวบานจนดูรกครึ้มเกินไปตองคอยหมั่นตกแตงกิ่งอยูเสมอ หากปลูกชิดกันเกินไป ทรงตนจะสูงชะลูดและออกดอกเฉพาะสวนบนเทานั้น ถาปลูกบนเนินหรือริมถนนควรปลูกใหมีระยะเทา ๆ กัน โดยเฉพาะในสนามกอลฟหรือสนามหญาในชวงออกดอก จะเห็นสีเหลืองและสีเขียวตัดกันสวยงาม ขึ้นไดดีในดินรวนซุย บริเวณกลางแจงที ่มีแสงแดดจัด ชอบน้ ําปานกลางประโยชนทั่วไป ปลูกเปนไมประดับตามสวน ริมรั้ว ริมถนน เนื้อไมละเอียดปานกลาง แข็งแรง ทนทาน บางตนก็มีลวดลายสวยงาม ไสกบแตงและชักเงาไดดี จึงนิยมนํามาทําเครื่องดนตรีไทย เชน ระนาด ที ่ใหเสียงฟงแลวรูสึกถึงความแข็งแรงและแข็งแกรง นิยมใชทําเครื่องเรือนของตกแตงบาน ทําเสา พื้นรอด สรางบาน สิ ่งของที ่รับน้ ําหนักมาก ๆ และใชงานกอสรางทั่วไป ดามเครื่องมือเครื่องใชตาง ๆ เปลือก ใหน้ ําฝาดสําหรับฟอกหนังและใหสีน้ําตาลสําหรับยอมผา สรรพคุณทางสมุนไพรเปลือก แกบิด แกทองเสีย แกปากเปอย เนื ้อไม บํารุงธาตุ บํารุงโลหิตแกพิษไข ขับเสมหะ น้ ํายาง แกทองเสีย แกปากเปอย ใบ แกผดผื่นคัน(พงษศักดิ ์ พลเสนา, ๒๕๕๐ ข)ประโยชนดานการลดมลพิษและขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของมีความสามารถในการดูดกลืนเสียงไดนอย เมื่อเปรียบเทียบกับพืชอื่นที่ศึกษา มีคาสัมประสิทธิ ์การดูดกลืนเสียง ๐.๑๘๐ สามารถลดระดับความเขมเสียง ๙๐ เดซิเบล เอ ลงมาเหลือ ๘๙.๒๑ เดซิเบล เอ เมื่อมีทรงพุม๑ เมตร (สมเกี ยรติ วั นแก ว, ๒๕๓๒) ประดูบานที ่ ปลู กในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มีอัตราการสังเคราะหแสงสุทธิเฉลี ่ยสูงสุด๖.๒๑๔ mol.m -2 .s -1 รองลงมาไดแกบริเวณสวนจตุจักร ๕.๙๙๔mol.m -2 .s -1 บางเขน ๔.๖๕๖ mol.m -2 .s -1 ลาดพราว ๔.๕๕๘ mol.m -2 .s -1สวนลุมพินี ๔.๔๑๕ mol.m -2 .s -1 และบริเวณสีลมมีอัตราการสังเคราะหแสงสุทธิเฉลี ่ยต่ําสุด ๒.๖๓๗ mol.m -2 .s -1 จากผลการศึกษาแสดงวาอัตราการสังเคราะหแสงสุทธิเฉลี ่ยของประดูบาน ในบริเวณที ่ไมไดรับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ คอนขางจะสูงกวาประดูบานที่ปลูกในบริเวณริมถนนที ่มีการจราจรหนาแนน ซึ่งไดรับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศคอนขางมาก ในการศึกษาครั้งนี ้พบวาจํานวนปากใบของประดูบานที ่ปลูกบริเวณสวนจตุจักรสูงสุดมีคา ๑๗๒.๘๔ ปากใบ/ตร.มม. รองลงมาไดแกบริเวณสวนลุมพินี ๑๗๐.๘๒ ปากใบ/ตร.มม. บางเขน ๑๖๘.๑๒ปากใบ/ตร.มม. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ๑๖๖.๐๙ ปากใบ/ตร.มม.สีลม ๑๕๖.๘๒ ปากใบ/ตร.มม. และลาดพราว ๑๕๒.๘๔ ปากใบ/ตร.มม.ตามลําดับ (สาพิศ รอยอําแพง, ๒๕๓๘)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!