06.06.2015 Views

นพ.โรม บัวทอง / สํานักระบาดวิทยา

นพ.โรม บัวทอง / สํานักระบาดวิทยา

นพ.โรม บัวทอง / สํานักระบาดวิทยา

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>นพ</strong>.<strong>โรม</strong><br />

<strong>บัวทอง</strong> / <strong>สํานักระบาดวิทยา</strong><br />

การระบาดของโรคลีเจียนแนรในนักทองเที่ยวชาวยุโรป<br />

ภายหลังจากการเดินทางมาทองเที่ยวในจังหวัดภูเก็ต<br />

บทบาทของการสอบสวนสิ่งแวดลอมในประเทศที่เกิดเหตุ<br />

Travel-associated associated Legionnaires Disease Outbreak among EU Travellers,<br />

Phuket Thailand, December 2006 to January 2007<br />

Role of Environmental Investigation in Suspected Country.


โรคลีเจียนแนร เกิดการระบาดขึ้นเมื่อป 2519เกิดการระบาด<br />

ในการประชุมทหารผานศึกปจจุบันมี 41 สายพันธุ 64 serogroup<br />

เชื้อที่รุนแรงมากและเปนสาเหตุการตายคือ L. pneumophila<br />

serogroup 1


เชื้อแบคทีเรีย L. pneumophila<br />

ชอบอาศัยตามแหลงน้ํา<br />

ตามธรรมชาติทุกชนิดชอบความอบอุนอุณหภูมิ 25 – 45 องศาเซลเซียส<br />

ประเทศในแถบ Tropical Area จะเปนแหลงของเชื้อ L. pneumophila


อาการที่พบเห็น<br />

อาการ แบงเปน 2 ลักษณะ<br />

- ไขหวัดใหญ สามารถหายไดเองโดยไมตองรักษาระยะ<br />

ฟกตัว 1 – 2 วัน<br />

- โรคปอดบวม อัตราการเสียชีวิต 15 – 20 % พบมากใน<br />

เพศชาย และผูที่มีปญหาโรคปอด ระยะฟกตัว 2 – 10 วัน


ความเปนมา<br />

วันที่ 10 มกราคม ป 2550 <strong>สํานักระบาดวิทยา</strong>ไดรับโทรสารจาก<br />

สถานฑูตอังกฤษประจําประเทศไทย ซึ่งรับแจงตอมาจากศูนยปองกันและ<br />

ควบคุมโรคแหงสหภาพยุโรป วามีผูปวยยืนยันโรคลีเจียนแนร จํานวน 4 ราย<br />

ซึ่งเดินทางมาเที่ยว ณ จังหวัดภูเก็ต บริเวณหาดปาตอง โดยผูปวยทั้งหมด<br />

เปนนักทองเที่ยวชาวสแกนดิเนเวียนและพักในโรงแรมเดียวกัน


ความเปนมา<br />

สหภาพยุโรป สงใหตัวแทนเดินทางมาโรงแรมดังกลาวเพื่อถอน<br />

และยายนักทองเที่ยวออกจากโรงแรมที่สงสัยเปนสาเหตุ และหาม<br />

นักทองเที่ยวเขาพักโรงแรมดังกลาว จนกวาจะมีการดําเนินการแกปญหา<br />

และรายงานการดําเนินงานไปยังองคการอนามัยโลก


ความเปนมา<br />

<strong>สํานักระบาดวิทยา</strong> รวมกับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต และ<br />

สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 11 นครศรีธรรมราช ดําเนินการสอบสวน<br />

โรคระหวางวันที่ 11 – 31 มกราคม ป 2550 เพื่อยืนยันการระบาด คนหา<br />

แหลงรังโรค รวมทั้งใหคําแนะนําและลงควบคุมปองกันโรค


ผลการคนหาผูปวยเพิ่มเติมจากโรงแรมตนเหตุ<br />

โดยการสงรายชื่อแขกที่เขาพักไปยังองคการอนามัยโลก<br />

เพื่อใหหนวยงานสาธารณสุขที่เกี่ยวของในประเทศตางๆ ได<br />

สอบถามนักทองเที่ยวที่มาพักในโรงแรมดังกลาวในชวงวันที่<br />

17 พฤศจิกายน 2549 ถึง 11 มกราคม 2550


วิธีการสอบสวน<br />

คนหาผูปวยที่เปนนักทองเที่ยวตางชาติที่กําลังปวย<br />

เปนโรคปอดบวม ตรวจเลือดพนักงานโรงแรม สอบสวน<br />

สภาวะแวดลอม ระบบน้ํา ระบบอากาศ รวมทั้งศึกษา<br />

เชิงวิเคราะห เพื่อดูวาพนักงานโรงแรมที่เจาะเลือดมามีปจจัย<br />

เสี่ยงอะไรบาง


ผูปวยยืนยันโรคลีเจียนแนรซึ่งเปนนักทองเที่ยวชาวยุโรปที่รายงาน<br />

จาก EWGLI Network มีจํานวน 5 ราย โดยเปนเพศชายตอเพศหญิง<br />

เทากับ 4:1 ทั้งหมดเปนชาวสแกนดิเนเวียน ( สวีดิช 2 ราย ฟนนิช 2 ราย<br />

และนอรวีเจียน 1 ราย ) ทั้งหมดใหผลตรวจยืนยันการติดเชื้อ L. pneumophila<br />

serogroup 1 โดยวิธี Urine antigen detection


ตารางที่ 1 รายละเอียดผูปวยนักทองเที่ยวชาวยุโรปที่ติดเชื้อ<br />

จากโรงแรมแหงหนึ่งบริเวณปาตอง จังหวัดภูเก็ต 2550


ผลการคนหาผูปวยเพิ่มเติม<br />

โดยการสงรายชื่อแขกที่เขาพักไปยังองคการอนามัยโลก<br />

เพื่อใหหนวยงานสาธารณสุขที่เกี่ยวของในประเทศตางๆ ได<br />

สอบถามนักทองเที่ยวที่มาพักในโรงแรมดังกลาว ในชวงวันที่<br />

17 พฤศจิกายน 2549 ถึง 11 มกราคม 2550 จํานวนทั้งสิ้น 645 ราย


แปซิฟกตะวันตก (ฮองกง<br />

ญี่ปุน ไตหวัน ออสเตรเลีย สิงคโปร<br />

มาเลเซีย และ เกาหลี) จํานวน 348 ราย (รอยละ<br />

54) รองลงมาอยูใน<br />

เขตประเทศยุโรป (สหภาพยุโรป<br />

รวมอิสราเอล) จํานวน 218 ราย<br />

(รอยละ<br />

34) และที่เหลืออยูในประเทศอื่นๆ (รอยละ<br />

12) ไดรับรายงาน<br />

ตอบกลับจาก 3 ประเทศ ไดแก สหรัฐอเมริกา ฮองกง และ ตุรกี วา<br />

ไมพบผูปวยสงสัย หรือปวยเปน Legionnaires Disease


Active Case Finding ใ<strong>นพ</strong>ื้นที่ พบผูปวยชาวเบลเยี่ยม<br />

1 ราย ไมตอบสนองตอการรักษา ผลจากการเอ็กซเรยเปน<br />

นิวโมเนีย ผลตรวจยืนยันวาติดเชื้อ Legionnaires


แหลงแพรเชื้อ<br />

-cooling tower<br />

-บริเวณหัวอางฝกบัว<br />

-เครื่องปรับอากาศ<br />

-อางจากุสซี่<br />

- บริเวณแทงกน้ําที่ไมไดทําความสะอาด


ผลการตรวจคลอรีนตกคางในแหลงน้ําใชของโรงแรม<br />

สุมตรวจคลอรีนตกคาง ณ จุดตางๆไมพบคลอรีนในน้ําใชภายใน<br />

โรงแรมแหงนี้ไดแก น้ําขาออกจากถังกักเก็บน้ําใตดิน น้ําขาเขาไปยังถัง<br />

กักเก็บน้ําใตหลังคา น้ําขาออกจากถังกักเก็บน้ําใตหลังคา ําใตหลังคา น้ําในหอผึ่งเย็น<br />

ทั้งสามเครื่อง และน้ําใชในหองพักแขก ชั้น 2 ถึงชั้น 6 โดยพบคลอรีน<br />

ตกคางเฉพาะน้ําเขาของประปา ในระดับ 0.2 – 1.0 ppm. เทานั้น


ผลการเพาะเชื้อ Legionella spp. จากตัวอยางที่เก็บจาก<br />

สิ่งแวดลอมที่อาจเปนแหลงรังโรค<br />

พบเชื้อ Legionella spp. จํานวน 7 ตัวอยาง (รอยละ<br />

20) ไดแก น้ําจาก<br />

อางอาบน้ํา น้ําจากฝกบัว สําลีปายหัวฝกบัวและสําลีปายหัวกอกอางอาบน้ํา<br />

ในหองพักแขก สําลีปายหัวฝกบัวในหองสปา น้ําจากฝกบัวและสําลีปาย<br />

หัวฝกบัวบริเวณสระวายน้ํา โดยตรวจพบ L. pneumophila serogroup1<br />

จํานวน 2 ตัวอยางไดแก น้ําที่ไหลออกจากฝกบัวในหองพักแขกและ สําลี<br />

ปายหัวฝกบัวในหองสปา สวนตัวอยางอื่นแยกเชื้อพบ L. bozemanii


ผลการตรวจน้ําเหลืองเจาหนาที่โรงแรมเพื่อคนหาการติดเชื้อ<br />

โรงแรมมีพนักงานและผูประกอบการจํานวน 222 คน จํานว<strong>นพ</strong>นักงาน<br />

ที่พบในวันที่สอบสวนมี 123 คน แตยินยอมใหเจาะเลือดจํานวน 118 พบผูปวย<br />

ที่เขานิยามผูปวยจํานวน 78 ราย คิดเปนรอยละ 66.1 ซึ่งทุกรายใหผลไตเตอร<br />

ตอ IgG อยางเดียว โดยคามัธยฐานของอายุเทากับ 31.5 ป (10<br />

– 71 ป) มีผูปวย<br />

3 รายที่มีอาการไขปอนเตียก (Pontiag<br />

Fever) นอกนั้น 75 รายไมมีอาการใดๆ


เมื่อเปรียบเทียบผูปวยแยกตามตําแหนงหนาที่ พบวาตําแหนงที่พบ<br />

ผูปวยมากที่สุดตามลําดับคือ<br />

- ผูที่ทํางานในครัวรอยละ 26.9<br />

- ผูที่ทํางานในหองพักแขกรอยละ 17.9<br />

- ผูที่ทํางานในหองทํางานรอยละ 15.4<br />

- และผูที่ทํางานแผนกชางรอยละ 10.3


ผลการศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห<br />

ปจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อ L. pneumophila ใ<strong>นพ</strong>นักงานของโรงแรม<br />

ไดแก การมีประวัติอาบน้ําในโรงแรม ( Prevalence Ratio ( PR ) = 1.3,<br />

95% CI 1.0 - 1.7 ) และอายุมากกวา 45 ป ( PR 1.4, 95% CI 1.0 - 1.7 )<br />

สวนปจจัยอื่นที่สนใจ ไดแก เพศชาย (PR 1.2, 95% CI 0.9 - 1.5) สูบบุหรี่<br />

( PR 1.2, 95% CI 0.9 - 1.5 ) และใชฝกบัวอาบน้ําที่บาน ( PR 1.1, 95%<br />

CI 0.9 - 1.5 )


การระบาดของโรคลีเจียนแนรประเทศไทย<br />

- ป ค.ศ.1996.1996 พัทยา<br />

- ป ค.ศ.1999.1999 5 จังหวัด กรุงเทพ พัทยา กระบี่ เชียงใหม<br />

กรมอนามัยจัดทําโครงการ โรงแรมนาอยูนาพักและปลอดภัยจากเชื้อ<br />

Legionella spp.


แผนภูมิที่ 1: จํานวน/อัตราปวยของโรคลีเจียนแนรในชาวยุโรป<br />

ที่เดินทางมาทองเที่ยวประเทศไทยพ.ศ.2539<br />

2539– 2549<br />

จํานวน<br />

16<br />

14<br />

12<br />

10<br />

8<br />

6<br />

4<br />

2<br />

0<br />

จํานวนผูปวย<br />

อัตราปวย<br />

0.6<br />

0.5<br />

0.4<br />

0.3<br />

0.2<br />

0.1<br />

0<br />

อัตรา (ตอ<br />

นักทองเที่ยวยุโรป<br />

แสนคน)<br />

25392540 2541 25422543 2544 25452546 2547 25482549<br />


แผนภูมิที่ 2: จํานวนนักทองเที่ยวชาวยุโรปเดินทางมาทวีปเอเชีย<br />

ปวยเปนโรคลีเจียนแนร ค.ศ. 1993 – 2007<br />

จํานวน<br />

15<br />

10<br />

5<br />

THAI LAND<br />

SI NGAPORE<br />

MALAYSI A<br />

CHINA<br />

INDIA<br />

0<br />

1989 1990 1991 1992 1993 1994 1995 1996 1997 1998 1999 20 0 0 20 0 1 20 0 2 20 0 3 20 0 4 20 0 5 20 0 6<br />

ป<br />

I ND ONESI A<br />

MALDIVES<br />

PHILIPPINES<br />

VI ETNAM


สรุปและขอเสนอแนะ<br />

พบเชื้อ L. pneumophila sero group1 ในโรงแรมจากตัวอยางที่เก็บ<br />

ในหองพักแขก ซึ่งเปนสายพันธุที่เดียวกับที่พบในผูปวย บงชี้วาโรงแรม<br />

แหงนี้อาจเปนแหลงแพรเชื้อ สาเหตุและปจจัยที่ทําใหเชื้อ Legionella spp.<br />

สามารถเจริญเติบโตในระบบน้ําของโรงแรม การติดตอ Direct Contact<br />

จาก ฝกบัว อางลางหนา เปนที่นาสังเกตวาพนักงานโรงแรมนาจะเคยติด<br />

เชื้อมากอน เพราะตรวจพบภูมิตานทานตอเชื้อสูงถึงรอยละ 66 แตไมมีใคร<br />

ปวยเปนปอดบวม


สรุปและขอเสนอแนะ<br />

แหลงน้ําใชของโรงแรม ไมใชน้ําจากระบบประปามาตรฐานและ<br />

ไมผานการกรองอุณหภูมิน้ํารอนไมสูงพอที่จะฆาเชื้อ Legionella spp.<br />

ไมพบคลอรีนตกคางในน้ําเย็นในโรงแรม ปริมาณน้ําใชที่สะอาดไม<br />

เพียงพอโดยเฉพาะในชวงที่มีนักทองเที่ยวจํานวนมาก เมื่อนักทองเที่ยว<br />

ที่มีความไวในการติดเชื้อเขาพักจึงมีโอกาสติดเชื้อ ปญหาและอุปสรรค<br />

คือ ขาดความรูและความเขาใจเรื่องโรคลีเจียนแนร


การระบาดของโรคโรคลีเจียนแนร เกิดจากแหลงน้ําของโรงแรม<br />

สาเหตุ เกิดจากเชื้อ L. pneumophila sero group1


มาตรการควบคุม<br />

การทําลายเชื้อมีการดําเนินงานทั้งในระบบน้ําและระบบปรับอากาศ<br />

ของโรงแรม ผลการตรวจระบบน้ําและระบบปรับอากาศภายหลังมาตรการ<br />

ทําลายเชื้อไมพบเชื้อ Legionella spp. จึงทําใหองคการอนามัยโลกภูมิภาค<br />

ยุโรป ประกาศยกเลิกการหามนักทองเที่ยวเขาพักโรงแรมดังกลาว ตั้งแต<br />

วันที่ 13 กุมภาพันธ 2550 ทําใหโรงแรมสามารถรับนักทองเที่ยวชาวยุโรป<br />

ไดดังเดิมจัดประชุมรวมกับกรมอนามัย เพื่อพัฒนาโรงแรมใหเปน โรงแรม<br />

นาอยู นาพัก

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!