05.05.2015 Views

มกอช. 7012- 2551 4

มกอช. 7012- 2551 4

มกอช. 7012- 2551 4

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

มกอช. <strong>7012</strong>-<strong>2551</strong><br />

THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARD<br />

TACFS <strong>7012</strong>-2008<br />

กุงแหง<br />

DRIED SHRIMP<br />

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

ICS 67.120.30<br />

ISBN XXX-XXX-XXX-X


มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

มกอช. <strong>7012</strong>-<strong>2551</strong><br />

THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARD<br />

TACFS <strong>7012</strong>-2008<br />

กุงแหง<br />

DRIED SHRIMP<br />

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

50 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900<br />

โทรศัพท 0 2561 2277 โทรสาร 0 2561 3357<br />

www.acfs.go.th<br />

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เลม 125 ตอนพิเศษ 139 ง<br />

วันที่ 18 สิงหาคม พุทธศักราช <strong>2551</strong>


(2)<br />

คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจพิจารณารางมาตรฐานผลิตภัณฑสัตวน้ําแปรรูป เรื่อง กุงแหง<br />

1. รองศาสตราจารยประเสริฐ สายสิทธิ์ ประธานอนุกรรมการ<br />

2. ผูแทนกรมประมง อนุกรรมการ<br />

(นางจิราวรรณ แยมประยูร<br />

นางนันทิยา อุนประเสริฐ)<br />

3. ผูแทนกรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข อนุกรรมการ<br />

(นางลดาวัลย จึงสมานุกูล<br />

นางสาวอุรารัตน วุฒิกรภัณฑ)<br />

4. ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข อนุกรรมการ<br />

(นางสาวดารณี หมูขจรพันธ<br />

นางสาวกัลยาณี ดีประเสริฐวงศ)<br />

5. ผูแทนสํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ อนุกรรมการ<br />

(นางอรทัย ศิลปนภาพร)<br />

6. ผูแทนสถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร อนุกรรมการ<br />

(นางชิดชม ฮิรางะ)<br />

7. ผูแทนภาควิชาเทคโนโลยีการอาหาร อนุกรรมการ<br />

คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

(ผูชวยศาสตราจารยรมณี สงวนดีกุล)<br />

8. ผูแทนภาควิชาผลิตภัณฑประมง อนุกรรมการ<br />

คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

(รองศาสตราจารยนงนุช รักสกุลไทย<br />

ผูชวยศาสตราจารยมยุรี จัยวัฒน<br />

ผูชวยศาสตราจารยปทมา ระตะนะอาพร)<br />

9. ผูแทนภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร อนุกรรมการ<br />

คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

(รองศาสตราจารยวรรณวิบูลย กาญจนกุญชร)


(3)<br />

10. ผูแทนสภาหอการคาแหงประเทศไทย อนุกรรมการ<br />

(นางสาวนารีรัตน จันทรทอง)<br />

11. ผูแทนสมาคมผูผลิตอาหารสําเร็จรูป อนุกรรมการ<br />

(นายวันชัย โพธิเพียรทอง)<br />

12. ผูแทนกลุมอุตสาหกรรมอาหาร สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย อนุกรรมการ<br />

(นางสาวสุภาภรณ ชัยสถาวรวงศ)<br />

13. ผูทรงคุณวุฒิและผูแทนภาคเอกชน (เฉพาะคราวประชุม) อนุกรรมการ<br />

(นางเพ็ญศรี บุญเรือง ผูทรงคุณวุฒิดานผลิตภัณฑสัตวน้ํา<br />

นางสาววราทิพย สมบุญญฤทธิ ผูทรงคุณวุฒิดานผลิตภัณฑสัตวน้ํา<br />

นางสาวพรรณจิรา วงศสวัสดิ์ ผูทรงคุณวุฒิดานการผลิตสัตวน้ํา<br />

นางสาวพรทิพย ศิริสุนทราลักษณ ผูทรงคุณวุฒิดานการผลิตสัตวน้ํา<br />

นางสาวรัตะยาน อินภูวา ผูแทนภาคเอกชน<br />

นางสาวเยาวลักษณ โตยั่งยืนทรัพย ผูแทนภาคเอกชน)<br />

14. ผูแทนสํานักมาตรฐานสินคาและระบบคุณภาพ อนุกรรมการและเลขานุการ<br />

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

(นางอุษา บํารุงพืช)<br />

15. ผูแทนสํานักมาตรฐานสินคาและระบบคุณภาพ อนุกรรมการและผูชวยเลขานุการ<br />

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

(นางสาวจิตรลดา บุญเจริญ)


(4)<br />

กุงแหงเปนผลิตภัณฑอาหารที่สําคัญ ใชในการบริโภคทั้งภายในประเทศและสงออก แตดวยการผลิต<br />

กุงแหงเปนอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ดังนั้นประเทศไทยจึงควรมีการพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัย<br />

ของกุงแหงใหเปนที่ยอมรับของผูบริโภคมากขึ้น เพื่อใหแขงขันไดในการคาระหวางประเทศ<br />

จึงเห็นสมควรจัดทํามาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ เรื่อง กุงแหง<br />

มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาตินี้ กําหนดขึ้นโดยอาศัยขอมูลจากผลการศึกษาโครงการ<br />

ศึกษาการกําหนดเกณฑคุณภาพกุงแหง ของสํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

ซึ่งไดรับความรวมมือการดําเนินงานจากสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชียและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

พระจอมเกลาธนบุรี<br />

มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาตินี้ กําหนดขึ้นโดยใชเอกสารตอไปนี้เปนแนวทาง<br />

สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม.2533. มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมกุงแหง<br />

มอก.1003-2533<br />

กรมวิทยาศาสตรการแพทย. 2549. ความรูเกี่ยวกับสารเคมี/จุลินทรียในอาหาร ในโครงการอาหาร<br />

ปลอดภัย Food Safety<br />

ICMSF. 1986. 2nd Ed. International Commission on Microbiological Specifications for Foods.<br />

Microorganisms in Foods 2; Sampling for microbiological analysis: Principles and specific<br />

applications.


1 ขอบขาย<br />

มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

กุงแหง<br />

มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาตินี้ กําหนดคุณภาพกุงแหง เพื่อใชสําหรับการบริโภค<br />

2 นิยาม<br />

2.1 กุงแหง (dried shrimp) หมายถึง ผลิตภัณฑที่ไดจากการนํากุงสดที่อยูในวงศพีนีอีดี (Penaeidae) และ<br />

พาลีโมนิดี (Palaemonidae) นํามาผานกระบวนการผลิตกุงแหงตามขอ 2.2 แลวนํามาทําใหแหง อาจเอา<br />

เปลือกออกหรือไมก็ได และอาจมีสวนหัวและ/หรือหางติดอยูหรือไมก็ได<br />

2.2 กระบวนการผลิตกุงแหง หมายถึง การนํากุงสดมาลางทําความสะอาด แลวใหความรอนในชวงเวลาสั้น<br />

(precook) เชน การตมหรือนึ่ง พอที่จะทําใหเนื้อกุงหดตัว หลุดออกจากเปลือก ทําใหแกะเปลือกไดงาย<br />

แลวนําไปลดความชื้น อาจนําเปลือกออกกอนหรือหลังลดความชื้น โดยใชพลังงานความรอนจากแสงอาทิตย1/<br />

หรือ<br />

แหลงพลังงานความรอนอื่น คัดขนาด แลวบรรจุ<br />

2.3 วอเตอรแอกทิวิตี (water activity: a w ) หมายถึง ตัวเลขที่แสดงคาน้ําอิสระที่มีผลตอการเจริญเติบโต<br />

ของจุลินทรียและการเปลี่ยนแปลงของอาหาร คํานวณจากอัตราสวนของความดันไอของน้ําในอาหารตอ<br />

ความดันไอของน้ําบริสุทธิ์ ที่อุณหภูมิเดียวกัน<br />

2.4 กุงแหงชิ้นหัก หมายถึง กุงแหงที่มีสวนของลําตัว ตั้งแต 2 ปลอง ถึง 4 ปลอง<br />

2.5 เศษ หมายถึง ชิ้นสวนของเนื้อที่มีขนาดนอยกวา 2 ปลอง และชิ้นสวนอื่น ๆ ของกุงแหงที่ไมใชเนื้อ<br />

3 แบบของผลิตภัณฑ<br />

ผลิตภัณฑกุงแหงมี 3 แบบ ดังนี้<br />

(1) แบบมีเปลือก ไดแก กุงที่ไมเอาเปลือกออก<br />

(2) แบบไมมีเปลือก ไดแก กุงที่เอาเปลือกออกจากตัวกอนหรือหลังทําแหงก็ได<br />

มกอช. <strong>7012</strong>-<strong>2551</strong><br />

(3) แบบกะเทาะเปลือก ไดแก กุงที่เอาเปลือกออกจากตัวหลังจากการทําแหง ซึ่งอาจมีเปลือกติดกับลําตัวไดบาง<br />

____________________<br />

1/ กรณีการทําใหแหงโดยวิธีตากแดด ถาไมแหงตามตองการในครั้งแรก (เชน แดดแรก) ใหคลุมผลิตภัณฑดวยผาใบ<br />

หรือผาหนา เพื่อใหน้ําในผลิตภัณฑกระจาย (redistribute) ทั่วตัวอีกครั้ง กอนนําไปตากครั้งตอไป จะทําใหลักษณะเนื้อ<br />

ของกุงแหงดีขึ้น และลดการสูญเสีย เนื่องจากการหักหรือแตกของสวนหางและหัว


มกอช. <strong>7012</strong>- <strong>2551</strong> 2<br />

4 สวนประกอบ<br />

4.1 สวนประกอบหลัก<br />

กุงที่สดและสะอาด<br />

4.2 สวนประกอบอื่น ๆ<br />

เกลือที่มีคุณภาพเหมาะสมสําหรับการบริโภค<br />

5 ปจจัยคุณภาพ<br />

5.1 ความชื้นโดยน้ําหนักตองไมเกิน 30 %<br />

5.2 วอเตอรแอกทิวิตี ตองไมเกิน 0.75<br />

5.3 เกลือ โดยน้ําหนักตองไมเกิน 7%<br />

5.4 ตองมีสีตามธรรมชาติของกุงแหง ขึ้นกับชนิดของกุงที่นํามาใชเปนวัตถุดิบ<br />

5.5 ตองมีกลิ่นและกลิ่นรสปกติของกุงแหง ปราศจากกลิ่นหรือกลิ่นรสอื่นที่ไมพึงประสงค เชน กลิ่นอับ<br />

กลิ่นหืน กลิ่นแอมโมเนีย<br />

6 การบรรจุหีบหอ<br />

6.1 ใหบรรจุในภาชนะบรรจุที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ และสามารถรักษาคุณภาพผลิตภัณฑได<br />

6.2 ในภาชนะบรรจุเดียวกัน ตองเปนกุงที่มีแบบเดียวกันและขนาดสม่ําเสมอ<br />

7 ขนาดและเกณฑความคลาดเคลื่อน<br />

หากไมไดเปนที่ตกลงกันเปนอยางอื่นระหวางผูซื้อกับผูขาย ขนาดและความคลาดเคลื่อนของขนาดกุงแหง<br />

ใหเปนไปตามตารางที่ 1 ดังนี้<br />

ตารางที่ 1 ขนาดของกุงแหง<br />

(ขอ 7 และขอ 11.1(6))<br />

ขนาด จํานวนกุงแหง (ตัวตอ 100 g)<br />

พิเศษ<br />

ใหญ<br />

กลาง<br />

เล็ก<br />

ไมเกิน 50<br />

51 ถึง 250<br />

251 ถึง 500<br />

มากกวา 501 ขึ้นไป<br />

กุงแหงแตละขนาดในตารางที่ 1 มีความคลาดเคลื่อนไดไมเกิน 15%


8 วัตถุเจือปนอาหาร<br />

3<br />

มกอช. <strong>7012</strong>- <strong>2551</strong><br />

ชนิดและปริมาณวัตถุเจือปนอาหาร ใหเปนไปตามขอกําหนดของกฎหมายที่เกี่ยวของ และขอกําหนดของ<br />

มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ เรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร<br />

9 สารปนเปอน<br />

ชนิดและปริมาณสารปนเปอน ใหเปนไปตามขอกําหนดของกฎหมายที่เกี่ยวของ และขอกําหนดของ<br />

มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ เรื่อง สารปนเปอน<br />

10 สุขลักษณะ<br />

10.1 ผลิตภัณฑที่ครอบคลุมในมาตรฐานนี้ ผานการเตรียมและจัดการที่เหมาะสมตามขอกําหนดการ<br />

ปฏิบัติวาดวยเรื่องหลักเกณฑการปฏิบัติ: หลักการทั่วไปเกี่ยวกับลักษณะสุขอาหาร มกอช. 9023 และ<br />

ในกฎหมายที่เกี่ยวของ<br />

10.2 ชนิดและปริมาณจุลินทรีย ตองไมเกินเกณฑที่กําหนดดังนี้<br />

(1) จํานวนจุลินทรียทั้งหมด ตองไมเกิน 10 5 cfu/g<br />

(2) ยีสตและเชื้อรา ตองไมเกิน 5x10 2 cfu/g<br />

(3) แซลโมเนลลา (Salmonella spp.) ตองไมพบใน 25 g<br />

(4) สตาฟโลค็อกคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus) ตองไมเกิน 10 2 cfu/g<br />

(5) เอสเคอริเคีย โคไล (Escherichia coli) นอยกวา 3 MPN/g<br />

(6) คลอสตริเดียม เพอรฟริงเจนส (Clostridium perfringens) ตองไมเกิน 10 2 cfu/g<br />

11 การแสดงเครื่องหมายและฉลาก<br />

11.1 ภาชนะบรรจุสําหรับผลิตภัณฑขายปลีก<br />

ที่ภาชนะบรรจุทุกหนวยอยางนอยตองมีเลขอักษร เครื่องหมายและขอความแสดงรายละเอียดใหเห็นไดงาย<br />

ชัดเจน ไมเปนเท็จหรือหลอกลวง ดังตอไปนี้<br />

(1) ชื่อผลิตภัณฑ ใหใชชื่อ “กุงแหง”<br />

(2) ใหระบุแบบผลิตภัณฑกุงแหง มีเปลือก ไมมีเปลือก กะเทาะเปลือก<br />

(3) สวนประกอบที่สําคัญ แสดงเปนรอยละของน้ําหนักโดยประมาณ<br />

(4) วัตถุเจือปนอาหาร (ถาใช) เปนไปตามขอกําหนดในกฎหมายที่เกี่ยวของ


มกอช. <strong>7012</strong>- <strong>2551</strong> 4<br />

(5) น้ําหนักสุทธิเปนกรัม หรือ กิโลกรัม<br />

(6) ใหระบุขนาดของกุงแหง ตามตารางที่ 1<br />

(7) ใหระบุวัน เดือน ปที่ผลิต และวัน เดือน ปที่หมดอายุ<br />

(8) ชื่อและที่ตั้งของผูผลิต หรือผูแบงบรรจุ สําหรับสินคาที่ผลิตภายในประเทศ ชื่อและที่ตั้งของผูนําเขา<br />

สําหรับสินคานําเขา แลวแตกรณี<br />

(9) รุนของผลิตภัณฑ<br />

(10) ระบุคําแนะนําในการเก็บรักษา เชน ควรเก็บไวที่อุณหภูมิ 2 ◦C ถึง 10 ◦C จะชวยรักษาสีและยืดอายุการเก็บ<br />

(11) มีขอความเปนภาษาไทย กรณีฉลากผลิตภัณฑที่ผลิตเพื่อสงออกจะแสดงขอความเปนภาษาตางประเทศก็ได<br />

ในกรณีที่ผลิตเพื่อการสงออกโดยเฉพาะขอ (5) ถึง ขอ (8) ใหเปนไปตามขอตกลงของประเทศคูคา<br />

11.2 ภาชนะบรรจุสําหรับผลิตภัณฑขายสง<br />

ที่ภาชนะบรรจุสําหรับผลิตภัณฑขายสงหรือในเอกสารกํากับสินคา ใหมีขอความตามขอ 11.1 ยกเวนขอมูล<br />

ที่เปนชื่อผลิตภัณฑ รุนสินคา ชื่อและสถานที่ตั้งของผูผลิตหรือผูบรรจุ รวมทั้งคําแนะนําในการเก็บรักษา<br />

ตองอยูที่ภาชนะบรรจุสําหรับผลิตภัณฑขายสงเทานั้น<br />

รุนของผลิตภัณฑ ชื่อ และสถานที่ตั้งของผูผลิตหรือผูแบงบรรจุ อาจแทนดวยเครื่องหมาย ถาเครื่องหมาย<br />

การคานั้นมีการระบุอยางชัดเจนในเอกสารกํากับสินคา<br />

12 วิธีชักตัวอยาง<br />

วิธีชักตัวอยางใหเปนไปตามขอกําหนดในกฎหมายที่เกี่ยวของและขอกําหนดของมาตรฐานสินคาเกษตร<br />

และอาหารแหงชาติ เรื่อง วิธีชักตัวอยาง<br />

13 วิธีวิเคราะห<br />

วิธีวิเคราะห ใหเปนไปตามวิธีที่กําหนดในตารางที่ 2 (โดยใหอางอิงเอกสารฉบับลาสุด) ดังนี้


5<br />

ตารางที่ 2 วิธีวิเคราะห<br />

(ขอ 13)<br />

มกอช. <strong>7012</strong>- <strong>2551</strong><br />

ขอกําหนด วิธีวิเคราะห หลักการ<br />

1. ความชื้น AOAC ขอ 950.46 ฉบับลาสุด หรือวิธีอื่น<br />

ที่เทียบเทา<br />

การชั่งน้ําหนัก<br />

(Gravimetry)<br />

2. วอเตอรแอกทิวิตี ใหวัดดวยเครื่องวัดวอเตอรแอกทิวิตีที่ควบคุม<br />

อุณหภูมิไดที่ 25±1 ◦C<br />

3. ปริมาณเกลือ<br />

AOAC ขอ 937.09 ฉบับลาสุด หรือวิธีอื่น<br />

ที่เทียบเทา<br />

4. สี ตรวจพินิจโดยบุคคลที่ผานการฝกอบรมมา<br />

โดยเฉพาะ ตามแนวทางการประเมินคุณภาพสัตวน้ํา<br />

ดวยประสาทสัมผัสในหองปฏิบัติการ (มกอช.<br />

9026)<br />

5. กลิ่นและ กลิ่นรส ตรวจพินิจโดยบุคคลที่ผานการฝกอบรมมา<br />

โดยเฉพาะ ตามแนวทางการประเมินคุณภาพสัตวน้ํา<br />

ดวยประสาทสัมผัสในหองปฏิบัติการ (มกอช.<br />

9026)<br />

6. จํานวนจุลินทรียทั้งหมด BAM (Bacteriological Analytical Manual)<br />

Chapter 3 หรือใชวิธีวิเคราะหที่มีคุณลักษณะ<br />

เทียบเทากัน<br />

7. ยีสตและรา BAM (Bacteriological Analytical Manual)<br />

Chapter 18 หรือใชวิธีวิเคราะหที่มีคุณลักษณะ<br />

เทียบเทากัน<br />

8. แซลโมเนลลา (Salmonella spp.) BAM (Bacteriological Analytical Manual)<br />

Chapter 5 หรือใชวิธีวิเคราะหที่มีคุณลักษณะ<br />

เทียบเทากัน<br />

9. สตาฟโลค็อกคัส ออเรียส<br />

(Staphylococcus aureus)<br />

10. เอสเคอริเคีย โคไล<br />

(Escherichia coli)<br />

11. คลอสตริเดียม เพอรฟริงเจนส<br />

(Clostridium perfringens)<br />

BAM (Bacteriological Analytical Manual)<br />

Chapter 12 หรือใชวิธีวิเคราะหที่มีคุณลักษณะ<br />

เทียบเทากัน<br />

BAM (Bacteriological Analytical Manual)<br />

Chapter 4 หรือใชวิธีวิเคราะหที่มีคุณลักษณะ<br />

เทียบเทากัน<br />

BAM (Bacteriological Analytical Manual)<br />

Chapter 16 หรือใชวิธีวิเคราะหที่มีคุณลักษณะ<br />

เทียบเทากัน<br />

12. น้ําหนักสุทธิ ชั่งน้ําหนัก<br />

การวัดความดันไอในอาหารเทียบกับความดัน<br />

ไอน้ําบริสุทธิ์โดยตรง หรือการวัดคุณสมบัติทาง<br />

กายภาพและไฟฟาโดยออม(Direct<br />

measurement of partial pressure/dew point<br />

or indirect measurement of physical/<br />

electrical characteristics)<br />

ไตรเตรชั่น<br />

(Volumetric titrimetry))<br />

การประเมินทางประสาทสัมผัส<br />

การประเมินทางประสาทสัมผัส<br />

การเพาะเชื้อ<br />

(Direct Plating)<br />

การเพาะเชื้อ<br />

(Direct Plating)<br />

วิธีเอ็ม เอส อาร วี,วิธีการตกตะกอนดวยวิธีซีรั่ม<br />

วิทยา Modified Semi-solid Rappaport<br />

Vassiliadis method; MSRV, Biochemical และ<br />

Serological Confirmation<br />

การเพาะเชื้อ<br />

(Direct Plating)<br />

วิธีเอ็ม พี เอ็น (most probable number<br />

method; MPN)<br />

การเพาะเชื้อ<br />

(Direct Plating)<br />

การชั่งน้ําหนัก<br />

(Gravimetry)


มกอช. <strong>7012</strong>- <strong>2551</strong> 6<br />

14 ขอบกพรอง<br />

14.1 กุงแหงตองไมมีจํานวนชิ้นหักและเศษ เกินปริมาณที่กําหนดในตารางที่ 3 หากเกินจากนี้ถือวาเปน<br />

ขอบกพรองที่ไมยอมรับ<br />

ตารางที่ 3 ปริมาณขอบกพรอง<br />

(ขอ 14.1)<br />

14.2 สิ่งแปลกปลอม<br />

ขนาด จํานวนกุงแหง<br />

(ตัวตอ 100 g)<br />

พิเศษ ไมเกิน 50<br />

ใหญ<br />

51 ถึง 250<br />

กลาง<br />

251 ถึง 500<br />

เล็ก มากกวา 501 ขึ้นไป<br />

น้ําหนักกุงแหงชิ้นหัก<br />

(%)<br />

ไมเกิน 1.0<br />

ไมเกิน 8.0<br />

ไมเกิน 12.0<br />

ไมเกิน 20.0<br />

น้ําหนักเศษ<br />

(%)<br />

ไมเกิน 1.0<br />

ไมเกิน 1.0<br />

ไมเกิน 1.0<br />

ไมเกิน 1.0<br />

ตองไมพบสิ่งที่ปะปนมากับหนวยตัวอยางที่ไมใชชิ้นสวนของกุง แมไมเปนอันตรายตอผูบริโภค แตสามารถ<br />

มองเห็นไดงายโดยวิธีการตรวจพินิจดวยตาเปลาหรือวิธีการอื่น รวมทั้งใชแวนขยายก็ได และสิ่งแปลกปลอมนั้น<br />

แสดงใหเห็นถึงการผลิตที่ไมเปนไปตามหลักเกณฑการปฏิบัติที่ดีในการผลิตและสุขลักษณะที่ดี<br />

15 การยอมรับรุนสินคา<br />

รุนสินคา หมายถึง กุงแหงที่มีแบบของผลิตภัณฑ สวนประกอบ และขนาดบรรจุเปนอยางเดียวกันที่ผลิต<br />

หรือสงมอบในคราวเดียวกัน<br />

รุนสินคาจะถือวาเปนไปตามมาตรฐานนี้ ในกรณีดังตอไปนี้<br />

15.1 จํานวนขอบกพรองทั้งหมดไมเกินเกณฑกําหนดในตารางที่ 3<br />

15.2 น้ําหนักสุทธิของบรรจุภัณฑทั้งหมดที่ตรวจสอบตองไมนอยกวาน้ําหนักที่ระบุไว<br />

15.3 ผลิตภัณฑเปนไปตามขอกําหนดเรื่อง ปจจัยคุณภาพ การบรรจุหีบหอ วัตถุเจือปนอาหาร<br />

สารปนเปอน สุขลักษณะ การแสดงเครื่องหมายและฉลาก วิธีชักตัวอยาง และวิธีวิเคราะห ที่ระบุในขอ 5<br />

ขอ 6 และขอ 8 ถึง ขอ 13

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!