28.04.2015 Views

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

15<br />

บทวิจารณ<br />

อาการปวดบริเวณใบหนา เปนหนึ่งในอาการที่ยากที่สุดที่แพทยหูคอจมูกตองรักษา โดยมีการ<br />

อธิบายตางๆ เชน Stammberger และคณะ 8 อธิบายวากลไกที่ทําใหเกิดอาการปวดใบหนา อาจเปนสาเหตุจาก<br />

พยาธิสภาพของเยื่อบุผิวในจมูกและไซนัส ซึ่งสัมพันธกับโรคภูมิแพและ vasomotor rhinitis สารกอภูมิแพ<br />

และสารระคายเคืองทําใหเกิดการอักเสบ เกิดการบวมของเยื่อบุผิวในจมูก ทําใหเกิดการอุดตันของรูเปดของ<br />

ไซนัส เมื่อรูเปดของไซนัสถูกอุดตันและมีการคั่งของสารคัดหลั่งในไซนัส ทําใหเกิดอาการปวดใบหนาขึ้น<br />

การแปรปรวนทางกายภาพของ Agger nasi cells, middle turbinate, uncinate process, Haller cells หรือ ผนัง<br />

กั้นจมูกคด ก็นาจะเปนสาเหตุของโรคของไซนัส และอาการปวดใบหนา ซึ่งแมวาอาการปวดใบหนา หรือ<br />

ปวดศีรษะจะเปนอาการที่พบบอยในผูปวยที่มีการอักเสบภายในชองจมูก หรือไซนัส แตผูปวยก็อาจมาดวย<br />

9<br />

อาการปวดโดยที่ไมมีการอักเสบติดเชื้อได<br />

จากตารางที่ 1 กลุมผูปวยที่มีอาการปวดใบหนา 26 คน เปนเพศหญิง 15 คน (รอยละ 57.7) เปนเพศชาย<br />

11 คน (รอยละ 42.3) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมที่ไมมีอาการปวดใบหนา 60 คน เพศหญิง 25 คน (รอยละ<br />

41.7) เปนเพศชาย 35 คน (รอยละ 58.3) พบวาไมแตกตางกัน แตเมื่อเปรียบเทียบอายุของทั้ง 2 กลุม พบวา<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.001) โดยกลุมที่มีอาการปวดใบหนาอายุเฉลี่ย 33.08 ± 10.9 ป<br />

(พิสัย 19-60 ป) สวนกลุมที่ไมมีอาการปวดใบหนาอายุเฉลี่ย 56.12 ± 14.7 ป (พิสัย 22-86 ป) แตเนื่องจาก<br />

ไซนัสเจริญเต็มที่เมื่อผานชวงวัยรุน 1 ความแตกตางนี้จึงไมนาจะมีผลในการศึกษาเปรียบเทียบนี้<br />

Bolger และคณะ 3 ไดศึกษาเอกซเรยคอมพิวเตอรไซนัสของผูปวย 202 คน โดยไดศึกษาความแปรปรวน<br />

ทางกายภาพของโพรงจมูกและไซนัสไดแก pneumatization ของ middle turbinate, paradoxical curvature<br />

ของ middle turbinate, Haller cells, และ pneumatization ของ uncinate process ผลการศึกษาพบความ<br />

แปรปรวนทางกายภาพของโพรงจมูกและไซนัส 131 คน(รอยละ 64.9) และพบวาในกลุมผูปวยไซนัสมี<br />

ความแปรปรวนดังกลาว ไมแตกตางกับกลุมผูปวยที่ไมใชโรคทางไซนัส ซึ่งการศึกษาของ Tonai และคณะ 10<br />

ก็พบวาไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญระหวางการเกิดความแปรปรวนทางกายภาพในกลุมผูปวยไซนัส<br />

อักเสบเรื้อรัง กับกลุมผูปวยที่ไมมีอาการของไซนัส จากการศึกษาของ Lloyd และคณะ 11 สรุปวา ความ<br />

แปรปรวนทางกายภาพใน middle meatus ไมสัมพันธกับการเพิ่มขึ้นของไซนัสอักเสบ และ ไมพบวาการเกิด<br />

ความผิดปกตินี้จะมีผลตอการเกิดโรคของไซนัสดวยการทําใหรูเปดไซนัสตีบ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!