28.04.2015 Views

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

5<br />

เรื่อง การศึกษาสัมพันธของลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพบริเวณโพรงจมูกและไซนัส ในผูปวยปกติที่<br />

ไมมีอาการปวดบริเวณใบหนา กับผูปวยที่มีอาการปวดบริเวณใบหนาในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม<br />

(Does the anatomical variation of the nasal cavity and paranasal sinus associate with facial pain?)<br />

พญ. ขวัญชนก บุญศรารักษพงศ *<br />

ผศ.พญ. สายสวาท ไชยเศรษฐ *<br />

พญ. ไพลิน เลิศทํานองธรรม **<br />

* ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา<br />

** ภาควิชารังสีวิทยา<br />

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม<br />

บทนํา<br />

อาการปวดบริเวณใบหนา เปนอาการที่พบไดบอย ซึ่งพยาธิสภาพของโพรงจมูกและไซนัสเปน<br />

สาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดอาการปวดบริเวณใบหนา โดยผานเสนประสาทที่รับความรูสึกหลักของจมูกคือ<br />

เสนประสาทสมองคูที่ 5 แขนง 1 และ 2 1, 2<br />

มีการศึกษาเกี่ยวกับความแปรปรวนทางกายภาพ (anatomical variation) ของโพรงจมูกและไซนัส<br />

จากเอกซเรยคอมพิวเตอรของผูปวยที่มารับการผาตัดไซนัสหลายการศึกษา เชน การศึกษาของ Bolger และ<br />

คณะ 3 ศึกษาผูปวย 202 คนพบวามีการแปรปรวนทางกายภาพของโครงสรางกระดูกของโพรงไซนัสรอยละ<br />

64.9 (pneumatization of middle turbinate รอยละ 53, Haller cell รอยละ 45.1, paradoxical middle turbinate<br />

รอยละ 26.1, และ uncinate bulla รอยละ 2.5) การศึกษาของพญ.เบญจพร นิตินาวาการ และคณะ 4<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน เปรียบเทียบ CT scanในผูปวย 88 คนซึ่งมีโรคทางจมูกและไมมีโรคทางจมูก พบ<br />

agger nasi cell รอยละ 92, concha bullosa รอยละ 34, Haller cell รอยละ 24, Onodi cell รอยละ 25, โดย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!