28.04.2015 Views

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

รายงานการวิจัยเพื่อสอบอนุมัติบัตรแสดงความรูความชํานาญ<br />

ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา<br />

เรื่อง การศึกษาความสัมพันธของลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพบริเวณโพรงจมูกและไซนัส<br />

ในผูปวยปกติที่ไมมีอาการปวดบริเวณใบหนา กับผูปวยที่มีอาการปวดบริเวณใบหนา<br />

ในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม<br />

“Does the anatomical variations of the nasal cavity and paranasal sinus associate with facial pain?”<br />

โดย แพทยหญิงขวัญชนก บุญศรารักษพงศ<br />

สถาบันฝกอบรม ภาควิชา โสต ศอ นาสิกวิทยา<br />

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม พ.ศ. 2552


คํารับรองของหัวหนาภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา<br />

ขาพเจาขอรับรองวา รายงานฉบับนี้เปนผลงานของแพทยหญิงขวัญชนก บุญศรารักษพงศ ที่ไดทํา<br />

การวิจัยขณะรับการฝกอบรมตามหลักสูตรการอบรมแพทยประจําบาน สาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา<br />

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ระหวางปพ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2552<br />

(ผูชวยศาสตราจารยนายแพทยเธียรไชย ภัทรสกุลชัย)<br />

หัวหนาภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา<br />

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม


คํารับรองของอาจารยผูควบคุมงานวิจัย<br />

หนังสือฉบับนี้ ขอรับรองวา แพทยหญิงขวัญชนก บุญศรารักษพงศ แพทยประจําบานสาขาโสต ศอ<br />

นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดทําการวิจัย เรื่อง การศึกษาความสัมพันธของ<br />

ลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพบริเวณโพรงจมูกและไซนัส ในผูปวยปกติที่ไมมีอาการปวดบริเวณ<br />

ใบหนา กับผูปวยที่มีอาการปวดบริเวณใบหนาในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ระหวางปการศึกษา<br />

2550 – 2552 จริง<br />

(ผูชวยศาสตราจารยแพทยหญิงสายสวาท ไชยเศรษฐ)<br />

ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา<br />

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม


กิตติกรรมประกาศ<br />

งานวิจัยฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ผูวิจัยขอขอบคุณอาจารยทุกทานในภาควิชาโสต ศอ นาสิก<br />

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม โดยเฉพาะอยางยิ่งอาจารยสายสวาท ไชยเศรษฐ และอาจารยไพลิน<br />

เลิศทํานองธรรม อาจารยที่ปรึกษางานวิจัย ผูใหแนวคิด คําแนะนําเกี่ยวกับรูปแบบและขั้นตอนการทําวิจัย<br />

ตลอดจนใหขอเสนอแนะ แกไขเพื่อความถูกตอง รวมทั้งใหกําลังใจในการทํางานวิจัยครั้งนี้ และขอขอบคุณ<br />

คุณรจนา เผือกจันทึก และอาจารยกิตติกา กาญจนรัตนากร ผูใหคําแนะนําเกี่ยวกับสถิติในงานวิจัยครั้งนี้ดวย<br />

(แพทยหญิงขวัญชนก บุญศรารักษพงศ)<br />

แพทยประจําบานโสต ศอ นาสิกวิทยา<br />

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม


สารบัญ<br />

หนา<br />

บทคัดยอภาษาไทย 1<br />

บทคัดยอภาษาอังกฤษ 3<br />

บทนํา 5<br />

วัตถุประสงค 7<br />

วิธีการวิจัย 8<br />

ผลการวิจัย 11<br />

บทวิจารณ 15<br />

สรุปผลการวิจัย 18<br />

เอกสารอางอิง 19


1<br />

บทคัดยอ<br />

วัตถุประสงค : เพื่อหาความสัมพันธของลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพบริเวณโพรงจมูก และไซนัส ใน<br />

ผูปวยปกติที่ไมมีอาการปวดบริเวณใบหนา กับผูปวยที่มีอาการปวดบริเวณใบหนา ในโรงพยาบาลมหาราช<br />

นครเชียงใหม<br />

รูปแบบการวิจัย : การศึกษาแบบ case - control<br />

วิธีการศึกษา : ศึกษายอนหลังตั้งแต 1 ม.ค. 2544 – 31 พ.ค. 2551 จากภาพถายเอกซเรยคอมพิวเตอรบริเวณ<br />

โพรงจมูก และไซนัสในผูปวยผูใหญ โดยเปนผูปวยที่มีอาการปวดบริเวณใบหนาที่มารับการรักษาในแผนก<br />

ไซนัสและภูมิแพในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม จํานวน 26 คน และเปนผูปวยที่ไมมีอาการปวด<br />

บริเวณใบหนาที่มาเอกซเรยคอมพิวเตอรดวยสาเหตุอื่น จํานวน 60 คน โดยผูปวยทุกคนที่ศึกษาตองไมเคย<br />

ผาตัดชองจมูกและไซนัส หรือไดรับบาดเจ็บบริเวณใบหนามากอน และไมไดรับการวินิจฉัยวาเปนไซนัส<br />

อักเสบ ริดสีดวงจมูก หรือเนื้องอก ในโพรงจมูกและไซนัส<br />

ผลการศึกษา : ลักษณะทางกายภาพของโพรงจมูกและไซนัสในผูปวยที่มีอาการปวดบริเวณใบหนา 26 คน<br />

พบวามี Agger nasi cells รอยละ 69.2, concha bullosa ของ middle turbinate รอยละ 57.7, Onodi cells รอย<br />

ละ 53.8, supreme turbinate รอยละ 30.8, Haller cell รอยละ 26.9, concha bullosa ของ superior turbinate<br />

รอยละ 23.1, ผนังกั้นจมูกคด รอยละ 15.4, paradoxical middle turbinate รอยละ7.7 และไมพบ double<br />

middle turbinate สวนในผูปวยที่ไมมีอาการปวดบริเวณใบหนา 60 คน พบวามี concha bullosa ของ<br />

middle turbinate รอยละ 60, Onodi cells รอยละ 56.7, Agger nasi cells รอยละ 53.3, Haller cell รอยละ<br />

28.3, concha bullosa ของ superior turbinate รอยละ 23.3, paradoxical middle turbinate รอยละ 6.7,<br />

supreme turbinate รอยละ 6.7, double middle turbinate รอยละ 3.3 และผนังกั้นจมูกคด รอยละ1.7 พบวา<br />

ลักษณะทางกายภาพของโพรงจมูกและไซนัสทั้ง 2 กลุม ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ยกเวน<br />

ความชุกของผนังกั้นจมูกคดซึ่งพบในกลุมผูปวยที่มีอาการปวดบริเวณใบหนา มากกวา กลุมที่ไมมีอาการ<br />

ปวดบริเวณใบหนา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p = 0.046 )(95% CI 1.136 -101.304)


2<br />

ผลสรุป : กลุมที่มีอาการปวดบริเวณใบหนามีโอกาสพบความแปรปรวนทางกายภาพของโพรงจมูกและ<br />

ไซนัสไดไมตางกันกับกลุมที่ไมมีอาการปวดบริเวณใบหนา ยกเวน ความชุกของ supreme turbinate และ<br />

ผนังกั้นจมูกคด ซึ่งพบในกลุมผูปวยที่มีอาการปวดบริเวณใบหนา มากกวา กลุมที่ไมมีอาการปวดบริเวณ<br />

ใบหนา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ


3<br />

Abstract<br />

Objective : To study the association between facial pain and the prevalence of anatomical variation of the<br />

nasal cavity and paranasal sinus.<br />

Design : Retrospective Case - Control Study<br />

Methods : CT paranasal sinus scans and medical records, obtained from adult patients undergoing<br />

evaluation at Maharaj Nakorn ChiangMai Hospital from 1 st January 2001 to 31 st May 2008, were reviewed.<br />

There were 26 patients in the facial pain group and 60 patients in the nonfacial pain. The controlled group<br />

of non facial pain patients were underwent CT scan for non rhinologic diagnosis.The patients with<br />

previous sinus surgery, facial trauma, sinusitis, nasal cavity and paranasal sinus tumors or polyps, and<br />

Lund score > 4 were excluded. The prevalence of each bony anatomical variation was compared.<br />

Data was analyzed using SPSS program version 11.0 : Chi-square test, Fisher’s exact test, t-test, Mann-<br />

Whitney test, p-value, and Odd ratio.<br />

Result : The prevalence of anatomical variation of the nasal cavity and paranasal sinus in facial pain<br />

group (26 patients) were 69.2% of Agger nasi cells, 57.7% of concha bullosa of middle turbinate, 53.8%<br />

of Onodi cells, 30.8% of supreme turbinate, 26.9% of Haller cell, 23.1% of concha bullosa of superior<br />

turbinate, 15.4% of contact deviated nasal septum, 7.7% of paradoxical middle turbinate, and there was no<br />

double middle turbinate found. In the non facial pain group (60 patients), the concha bullosa of middle<br />

turbinate were presented in 60%, Onodi cells 56.7%, Agger nasi cells 53.3%, Haller cell 28.3%, concha<br />

bullosa of superior turbinate 23.3%, paradoxical middle turbinate 6.7%, supreme turbinate 6.7%, double<br />

middle turbinate 3.3%, and contact deviated nasal septum 1.7%. Most of the presented bony anatomical<br />

variations between the two groups showed no significant difference, except the deviated nasal septum<br />

were significantly more common in the facial pain groups than the non facial pain group (p = 0.046 )<br />

(95% CI 1.136 – 101.304).


Conclusion: There was no significantly different prevalence of most bony anatomical variation between<br />

facial pain and non facial pain group.<br />

4


5<br />

เรื่อง การศึกษาสัมพันธของลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพบริเวณโพรงจมูกและไซนัส ในผูปวยปกติที่<br />

ไมมีอาการปวดบริเวณใบหนา กับผูปวยที่มีอาการปวดบริเวณใบหนาในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม<br />

(Does the anatomical variation of the nasal cavity and paranasal sinus associate with facial pain?)<br />

พญ. ขวัญชนก บุญศรารักษพงศ *<br />

ผศ.พญ. สายสวาท ไชยเศรษฐ *<br />

พญ. ไพลิน เลิศทํานองธรรม **<br />

* ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา<br />

** ภาควิชารังสีวิทยา<br />

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม<br />

บทนํา<br />

อาการปวดบริเวณใบหนา เปนอาการที่พบไดบอย ซึ่งพยาธิสภาพของโพรงจมูกและไซนัสเปน<br />

สาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดอาการปวดบริเวณใบหนา โดยผานเสนประสาทที่รับความรูสึกหลักของจมูกคือ<br />

เสนประสาทสมองคูที่ 5 แขนง 1 และ 2 1, 2<br />

มีการศึกษาเกี่ยวกับความแปรปรวนทางกายภาพ (anatomical variation) ของโพรงจมูกและไซนัส<br />

จากเอกซเรยคอมพิวเตอรของผูปวยที่มารับการผาตัดไซนัสหลายการศึกษา เชน การศึกษาของ Bolger และ<br />

คณะ 3 ศึกษาผูปวย 202 คนพบวามีการแปรปรวนทางกายภาพของโครงสรางกระดูกของโพรงไซนัสรอยละ<br />

64.9 (pneumatization of middle turbinate รอยละ 53, Haller cell รอยละ 45.1, paradoxical middle turbinate<br />

รอยละ 26.1, และ uncinate bulla รอยละ 2.5) การศึกษาของพญ.เบญจพร นิตินาวาการ และคณะ 4<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน เปรียบเทียบ CT scanในผูปวย 88 คนซึ่งมีโรคทางจมูกและไมมีโรคทางจมูก พบ<br />

agger nasi cell รอยละ 92, concha bullosa รอยละ 34, Haller cell รอยละ 24, Onodi cell รอยละ 25, โดย


6<br />

พบวา Haller cell และ concha bullosa ไมมีความสัมพันธ หรือ เสี่ยงตอการเกิดการอักเสบของ maxillary<br />

sinus<br />

การศึกษาการแปรปรวนทางกายภาพกระดูกของไซนัสจากเอกซเรยคอมพิวเตอรของพญ. สุปราณี<br />

ฟูอนันต และคณะ 5 ในผูปวยไซนัสอักเสบเรื้อรัง 100 คน พบวามี Agger nasi รอยละ 78.1, concha bullosa<br />

รอยละ 57.5, Haller cell รอยละ 29.4, paradoxical middle turbinate รอยละ 21.9, ผนังกั้นจมูกคด รอยละ<br />

21.3 และ พบวา ความแปรปรวนทางกายภาพของผนังดานของของจมูกกับโรคของไซนัส ไมมีความ<br />

สัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญ<br />

การศึกษาของ Chow 6 พบวา การผาตัดไซนัสลดอาการปวดตําแหนง contact trigger headache ได<br />

รอยละ 83 และ septal spur ก็พบเปนสาเหตุที่ทําใหปวดศีรษะไดบอย นอกจากนี้มีการผาตัดแกไขการ<br />

แปรปรวนทางกายภาพในผูปวยที่มีอาการทางจมูก ปวดใบหนา ที่ CT scan ไมมีไซนัสอักเสบ พบวาอาการ<br />

ผูปวยบางสวนดีขึ้น แตโดยมากอาการปวดคงอยู ซึ่งพบวาอาจเกิดจากการปวดของโรคทางระบบประสาท<br />

เชน การศึกษาของ Paulson 7 ในผูปวยที่มีอาการปวดใบหนา มี CT scan และการสองกลองตรวจจมูกปกติ<br />

104 คน (ซึ่ง 29 คนเคยไดรับการผาตัดไซนัสแตอาการไมดีขึ้น) โดยทั้งหมดเมื่อปรึกษาแพทยทางระบบ<br />

ประสาท พบวา ไดรับการวินิจฉัยวาเปน migraine รอยละ 37, rebound headache รอยละ17, chronic daily<br />

headach รอยละ 17 และ obstructive sleep apnea รอยละ 16 และพบวา รอยละ 58 ดีขึ้นเมื่อรับยารักษาโรค<br />

ทางระบบประสาท<br />

จากการสืบคนฐานขอมูลทางการแพทยไมพบการศึกษาเปรียบเทียบลักษณะการแปรปรวนทาง<br />

กายภาพของโพรงจมูก และไซนัส ระหวางผูปวยที่ไมมีอาการปวดใบหนา และผูปวยที่มีอาการปวดใบหนา<br />

ที่มิไดเกิดจากไซนัสอักเสบ หากศึกษาแลวพบวา ลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพของโพรงจมูกและ<br />

ไซนัสในผูปวยสองกลุมนี้ไมแตกตางกัน อาจมีผลตอการพิจารณาเปนแนวทางการดูแลรักษาผูปวยเหลานี้<br />

คําถามวิจัย<br />

ลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพของโพรงจมูกและไซนัส ในผูปวยที่มีอาการปวดบริเวณใบหนา<br />

แตกตางจากผูปวยที่ไมมีอาการปวดบริเวณใบหนาหรือไม


7<br />

วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อศึกษาหาความสัมพันธของลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพของโพรงจมูกและไซนัสใน<br />

ผูปวยปกติที่ไมมีอาการปวดบริเวณใบหนา และในผูปวยที่มีอาการปวดบริเวณใบหนา<br />

2. เพื่อศึกษาถึงชนิดและตําแหนงที่เกิดการแปรปรวนทางกายภาพของโพรงจมูกและไซนัส<br />

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ<br />

1. ทําใหทราบถึงชนิดและลักษณะความแปรปรวนทางกายภาพของโพรงจมูกและไซนัสในผูปวย<br />

ปกติที่ไมมีอาการปวดบริเวณใบหนา และในผูปวยที่มีอาการปวดบริเวณใบหนา<br />

2. ทําใหทราบถึงความสัมพันธของความแปรปรวนทางกายภาพของโพรงจมูกและไซนัส กับอาการ<br />

ปวดบริเวณใบหนา<br />

3. ชวยในการพิจารณาแนวทางการดูแลรักษาผูปวยที่มีอาการปวดบริเวณใบหนา รวมกับมีความ<br />

แปรปรวนของโพรงจมูกและไซนัส<br />

ประเภทของงานวิจัย<br />

เนื่องจากจํานวนผูปวยมีนอยจึงใชการศึกษายอนหลัง (retrospective) แบบ case – control


8<br />

วัสดุและวิธีการวิจัย<br />

1. การเลือกกลุมตัวอยาง<br />

เกณฑการคัดเลือกเขา<br />

1. ผูปวยที่ไดมารับการตรวจเอกซเรยคอมพิวเตอรบริเวณโพรงจมูกและไซนัส ที่โรงพยาบาล<br />

มหาราชนครเชียงใหม ตั้งแต 1 มกราคม พ.ศ. 2544 ถึง 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2551<br />

2. อายุ มากกวา 18 ป<br />

โดยแบงเปน 2 กลุม<br />

1. กลุมผูปวยปกติที่ไมมีอาการปวดใบหนา<br />

มารับการตรวจเอกซเรยคอมพิวเตอรบริเวณโพรงจมูกและไซนัส ดวยสาเหตุอื่นที่ไมใช<br />

โรคทางจมูกและไซนัส ไมมีอาการปวดบริเวณใบหนา ไมพบไซนัสอักเสบ<br />

ดูภาพจากเครื่อง CT scan และจากฟลมเอกซเรย<br />

2. กลุมผูปวยที่มีอาการปวดบริเวณใบหนา ที่มารับการรักษาในหนวยไซนัสและภูมิแพ<br />

ดูภาพจากฟลมเอกซเรย<br />

เกณฑการคัดออก<br />

1. เคยผาตัดชองจมูกและไซนัส หรือเคยไดรับบาดเจ็บบริเวณใบหนามากอน<br />

2. เคยไดรับการวินิจฉัยวาเปนเนื้องอก หรือ ริดสีดวง ในโพรงจมูกและไซนัส<br />

3. ผูปวยที่เปนไซนัสอักเสบ หรือ มี Lund score มากกวา 4<br />

โดยเก็บขอมูลทั่วไปของผูปวย คือ อายุ และ เพศ ขอมูลที่ตองการศึกษาคือ ความแปรปรวนทางกายภาพของ<br />

จมูกและไซนัส ดังนี้ ผนังกั้นจมูกคด (contact deviated nasal septum), ความผิดปกติของ turbinate, Agger<br />

nasi cell, Haller cell และ Onodi cell


9<br />

การประมวลผล<br />

วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS ในการประมวลผล<br />

อายุเฉลี่ย ดวย t-test<br />

เพศชาย / เพศหญิง<br />

Lund score<br />

ดวย Chi-square test<br />

ดวย Mann-Whitney test<br />

ลักษณะของการแปรปรวนทางกายภาพ ดวย Chi-square test หรือ Fisher’s exact test, Odds ratio<br />

งบประมาณสนับสนุน : ไมมี<br />

ขนาดตัวอยาง<br />

งานวิจัยนี้ทําการเก็บขอมูลนํารองผูปวยที่มีอาการปวดใบหนา 10 คน มี Agger nasi cell 9 คน และ<br />

ผูปวยที่ไมมีอาการปวดใบหนา 30 คน มี Agger nasi cell 13 คนแลวนํามาคํานวนหาจํานวนที่จะใชใน<br />

การศึกษาที่แทจริง เลือกใช Agger nasi เนื่องจากเปนความแปรปรวนที่พบไดบอย 4,5 และอาจมีความสัมพันธ<br />

กับการปวดใบหนา<br />

P C = สัดสวนการมี Agger nasi cell ในกลุมผูปวยที่ไมมีอาการปวดใบหนา<br />

= 13/30 = 0.43


10<br />

P t = สัดสวนการมี Agger nasi cell ในกลุมผูปวยที่มีอาการปวดใบหนา<br />

= 9/10 = 0.9<br />

Q C = 1 – P C = 0.57<br />

Q t = 1 – P t = 0.1<br />

λ = 10/30 = 0.33<br />

P = (0.43 + 0.33(0.9) ) / (1 + 0.33) = 0.55<br />

Q = 1 – 0.55 = 0.45<br />

กําหนดคา α error = 5%<br />

ถาเปนการทดลองแบบ สองทาง คา Z α =1.96<br />

กําหนดกําลังของการทดสอบ (power of the test)= 90%<br />

คา β error = 10% จะไดคา Z β = 1.28<br />

เมื่อนํามาแทนในสูตรแลว คํานวนขนาดตัวอยางไดดังนี้<br />

n = (1.96√0.495 + 1.28√0.33 ) 2 / 0.22<br />

= ( 1.96(0.703) + 1.28(0.57) ) 2 / 0.22<br />

= 4.49 /0.22 = 20.4<br />

คํานวณขนาดตัวอยางไดประมาณกลุมละ 21 คน


11<br />

ผลการศึกษา<br />

ในชวงเวลา 7 ป 5 เดือน ตั้งแต 1 ม.ค. 2544 ถึง 31 พ.ค. 2551 มีผูปวยที่มีอาการปวดใบหนา ที่มารับการ<br />

รักษาในหนวยไซนัสและภูมิแพโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหมทั้งหมด 95 คน คัดออก 55 คนเนื่องจาก<br />

เคยผาตัดไซนัสมากอน 3 คน มีไซนัสอักเสบ 43 คน มีริดสีดวงจมูก 6 คน อายุนอยกวา 18 ป 2 คน พบเนื้อ<br />

งอก osteoma 1 คน หลังจากคัดออก เหลือผูปวย 40 คน ซึ่งในจํานวนนี้สามารถหาประวัติ และ ฟลม<br />

เอกซเรยคอมพิวเตอรไซนัส ได 26 คน<br />

ในจํานวนผูปวยที่มีอาการปวดใบหนาทั้ง 26 คน พบวา เปน เพศหญิง 15 คน (รอยละ 57.7) เปนเพศชาย<br />

11 คน (รอยละ 42.3) อายุเฉลี่ย 33.08 ± 10.9 ป (ตั้งแต 19-60 ป)<br />

ในกลุมผูปวยที่ไมมีอาการปวดบริเวณใบหนา ที่มารับการตรวจเอกซเรยคอมพิวเตอรบริเวณโพรงจมูก<br />

และไซนัส ดวยสาเหตุอื่นที่ไมใชโรคทางจมูก และไมมีไซนัสอักเสบ ไดศึกษา จํานวน 60 คน พบวา เปน<br />

เพศหญิง 25 คน (รอยละ 41.7) เพศชาย 35 คน (รอยละ 58.3) อายุเฉลี่ย 56.12 ± 14.7 ป (ตั้งแต 22-86 ป)<br />

ดังตารางที่ 1<br />

ตารางที่ 1 แสดงขอมูลทั่วไป และคา Lund score ในผูปวย<br />

ขอมูลทั่วไป กลุมผูปวยที่มีอาการปวดใบหนา กลุมผูปวยที่ไมมีอาการปวดใบหนา p - value<br />

จํานวน 26 คน<br />

จํานวน 60 คน<br />

อายุ(mean±SD)ป *** 33.08 ± 10.9 56.12 ± 14.7


12<br />

จากการศึกษาพบลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพบริเวณจมูกและไซนัสในผูปวยที่มีอาการปวด<br />

บริเวณใบหนา และผูปวยที่ไมมีอาการปวดบริเวณใบหนา ดังตารางที่ 2<br />

ตารางที่ 2 แสดงจํานวนผูปวยจําแนกตามลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพ<br />

รายการ กลุมผูปวยที่ปวดใบหนา (%) กลุมผูปวยที่ไมมีปวดใบหนา (%) p-value Odds ratio<br />

(26 คน) (60 คน)<br />

DNS* 4(15.4%) 1(1.7%) 0.046 0.359<br />

CB-MT* 15(57.7%) 36(60%) 1 0.909<br />

CB-ST* 6(23.1%) 14(23.3%) 1 0.986<br />

AG* 18(69.2%) 32(53.3%) 0.257 1.969<br />

Para-MT** 2(7.7%) 4(6.7%) 1 1.167<br />

HC* 7(26.9%) 17(28.3%) 1 0.932<br />

Sup.T* 8(30.8%) 4(6.7%) 0.009 6.222<br />

Dou.MT** 0 2(3.3%) 1 0<br />

On.cell* 14(53.8%) 34(56.7%) 0.996 0.892<br />

DNS : contact deviated nasal septum<br />

CB-ST : concha bullosa of superior turbinate<br />

Para-MT : paradoxical middle turbinate<br />

Sup.T : supreme turbinate<br />

CB-MT : concha bullosa of middle turbinate<br />

AG : Agger nasi cell<br />

HC : Haller cell<br />

Dou.MT : double middle turbinate<br />

On.cell : Onodi cell<br />

* Chi-square test , ** Fisher’s exact test


13<br />

แผนภูมิที่1 เปรียบเทียบลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพ<br />

70<br />

60<br />

50<br />

57.7<br />

60<br />

69.2<br />

53.3<br />

53.8<br />

56.7<br />

กลุมที่ปวดใบหนา<br />

กลุมที่ไมปวดใบหนา<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

28.3 30.8<br />

23.3<br />

26.9<br />

23.1<br />

15.4<br />

7.7 6.7 6.7<br />

1.7<br />

DNS CB‐MT CB‐ST AG Para‐MT HC Sup.T On.cell<br />

จากการศึกษาพบวา กลุมที่มีอาการปวดบริเวณใบหนา มีโอกาสพบความแปรปรวนทางกายภาพ<br />

บริเวณโพรงจมูก และไซนัสไดแก concha bullosa ของ middle turbinate, concha bullosa ของ superior<br />

turbinate, Haller cell, Onodi cell นอยกวากลุมที่ไมมีอาการปวดบริเวณใบหนา แตไมมีความแตกตางกันทาง<br />

สถิติ แตพบ ผนังกั้นจมูกคด, Agger nasi, paradoxical middle turbinate และ supreme turbinate มากกวา<br />

กลุมที่ไมมีอาการปวดบริเวณใบหนา โดยความแตกตางของความชุกของผนังกั้นจมูกคด และ supreme<br />

turbinate ในสองกลุมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ


ตารางที่ 3 แสดงจํานวนลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพในกลุมผูปวยที่ไมไดเปนโรคทางจมูกและไซนัส<br />

จากการศึกษาของสถาบันตางๆ<br />

Anatomical variation Tonai 1996 (%) Jone 1997 (%) CMU(%)<br />

(18 คน) (100 คน) (60 คน)<br />

DNS _ 24 1.7<br />

CB-MT 27.8 23 60<br />

CB-ST _ _ 23.3<br />

AG 88.9 96 53.3<br />

Para-MT 11.1 16 6.7<br />

HC 38.9 9 28.3<br />

Sup.T _ _ 6.7<br />

Dou.MT _ _ 3.3<br />

On.cell _ 9 56.7<br />

-: ไมกลาวถึง<br />

แผนภูมิที่ 2 เปรียบเทียบลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพในกลุมผูปวยที่ไมไดเปนโรคทางจมูกและไซนัส<br />

จากการศึกษาของสถาบันตางๆ<br />

14<br />

100<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

96<br />

88.9<br />

60<br />

56.7<br />

53.3<br />

38.9<br />

27.8<br />

28.3<br />

24 23<br />

16<br />

11.1<br />

9 9<br />

1.7<br />

6.7<br />

DNS CB‐MT AG Para‐MT HC On.cell<br />

Tonai<br />

Jone<br />

CMU


15<br />

บทวิจารณ<br />

อาการปวดบริเวณใบหนา เปนหนึ่งในอาการที่ยากที่สุดที่แพทยหูคอจมูกตองรักษา โดยมีการ<br />

อธิบายตางๆ เชน Stammberger และคณะ 8 อธิบายวากลไกที่ทําใหเกิดอาการปวดใบหนา อาจเปนสาเหตุจาก<br />

พยาธิสภาพของเยื่อบุผิวในจมูกและไซนัส ซึ่งสัมพันธกับโรคภูมิแพและ vasomotor rhinitis สารกอภูมิแพ<br />

และสารระคายเคืองทําใหเกิดการอักเสบ เกิดการบวมของเยื่อบุผิวในจมูก ทําใหเกิดการอุดตันของรูเปดของ<br />

ไซนัส เมื่อรูเปดของไซนัสถูกอุดตันและมีการคั่งของสารคัดหลั่งในไซนัส ทําใหเกิดอาการปวดใบหนาขึ้น<br />

การแปรปรวนทางกายภาพของ Agger nasi cells, middle turbinate, uncinate process, Haller cells หรือ ผนัง<br />

กั้นจมูกคด ก็นาจะเปนสาเหตุของโรคของไซนัส และอาการปวดใบหนา ซึ่งแมวาอาการปวดใบหนา หรือ<br />

ปวดศีรษะจะเปนอาการที่พบบอยในผูปวยที่มีการอักเสบภายในชองจมูก หรือไซนัส แตผูปวยก็อาจมาดวย<br />

9<br />

อาการปวดโดยที่ไมมีการอักเสบติดเชื้อได<br />

จากตารางที่ 1 กลุมผูปวยที่มีอาการปวดใบหนา 26 คน เปนเพศหญิง 15 คน (รอยละ 57.7) เปนเพศชาย<br />

11 คน (รอยละ 42.3) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมที่ไมมีอาการปวดใบหนา 60 คน เพศหญิง 25 คน (รอยละ<br />

41.7) เปนเพศชาย 35 คน (รอยละ 58.3) พบวาไมแตกตางกัน แตเมื่อเปรียบเทียบอายุของทั้ง 2 กลุม พบวา<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.001) โดยกลุมที่มีอาการปวดใบหนาอายุเฉลี่ย 33.08 ± 10.9 ป<br />

(พิสัย 19-60 ป) สวนกลุมที่ไมมีอาการปวดใบหนาอายุเฉลี่ย 56.12 ± 14.7 ป (พิสัย 22-86 ป) แตเนื่องจาก<br />

ไซนัสเจริญเต็มที่เมื่อผานชวงวัยรุน 1 ความแตกตางนี้จึงไมนาจะมีผลในการศึกษาเปรียบเทียบนี้<br />

Bolger และคณะ 3 ไดศึกษาเอกซเรยคอมพิวเตอรไซนัสของผูปวย 202 คน โดยไดศึกษาความแปรปรวน<br />

ทางกายภาพของโพรงจมูกและไซนัสไดแก pneumatization ของ middle turbinate, paradoxical curvature<br />

ของ middle turbinate, Haller cells, และ pneumatization ของ uncinate process ผลการศึกษาพบความ<br />

แปรปรวนทางกายภาพของโพรงจมูกและไซนัส 131 คน(รอยละ 64.9) และพบวาในกลุมผูปวยไซนัสมี<br />

ความแปรปรวนดังกลาว ไมแตกตางกับกลุมผูปวยที่ไมใชโรคทางไซนัส ซึ่งการศึกษาของ Tonai และคณะ 10<br />

ก็พบวาไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญระหวางการเกิดความแปรปรวนทางกายภาพในกลุมผูปวยไซนัส<br />

อักเสบเรื้อรัง กับกลุมผูปวยที่ไมมีอาการของไซนัส จากการศึกษาของ Lloyd และคณะ 11 สรุปวา ความ<br />

แปรปรวนทางกายภาพใน middle meatus ไมสัมพันธกับการเพิ่มขึ้นของไซนัสอักเสบ และ ไมพบวาการเกิด<br />

ความผิดปกตินี้จะมีผลตอการเกิดโรคของไซนัสดวยการทําใหรูเปดไซนัสตีบ


16<br />

ในประเทศไทย พญ.สุปราณีและคณะ 5 ไดศึกษา ความแปรปรวนทางกายภาพของโพรงจมูกและไซนัส<br />

ในเอกซเรยคอมพิวเตอร ในผูปวยไซนัสอักเสบเรื้อรัง 100 คน พบวา ความแปรปรวนทางกายภาพที่พบมาก<br />

ที่สุดไดแก agger nasi cells รอยละ 78.1, concha bullosa รอยละ 57.5, Haller cells รอยละ 29.4, paradoxical<br />

middle turbinate รอยละ 21.9, ผนังกั้นจมูกคด รอยละ 21.3, supreme turbinate รอยละ 1.9, double middle<br />

turbinate รอยละ 3.1, Onodi cell รอยละ 37.5 และพบวา ความแปรปรวนทางกายภาพไมสัมพันธกับการขุน<br />

ของไซนัส และไมมีผลตอโรคไซนัสอักเสบ และการศึกษาของพญ.เบญจพร และคณะ 4 ก็ไดสรุปวา ความ<br />

แปรปรวนทางกายภาพ ไดแก Haller cell หรือ concha bullosa ไมไดเปนปจจัยเสี่ยงตอการเกิดการอักเสบ<br />

ของไซนัสแมกซิลลารี<br />

มีการศึกษาพบวา การผาตัดไซนัสชวยลดอาการปวดบริเวณใบหนาในผูปวยที่มีผลตรวจเอกซเรย<br />

คอมพิวเตอรที่ปกติ แตอาจยังคงมีอาการปวดใบหนาเหลืออยูไมหายสนิทหลังการผาตัดไซนัส 7,9,12-13,17<br />

จากตารางที่ 2 พบวา ลักษณะการแปรปรวนทางกายภาพของโพรงจมูกและไซนัสไดแก concha bullosa<br />

ของ middle turbinate, concha bullosa ของ superior turbinate, Agger nasi cells, paradoxical middle<br />

turbinate, Haller cells, double middle turbinate และ Onodi cells ในกลุมที่มีอาการปวดใบหนา ไมแตกตาง<br />

กับกลุมที่ไมมีอาการปวดใบหนา มีเพียงลักษณะของผนังกั้นจมูกคด และ supreme turbinate ในกลุมที่มี<br />

อาการปวดใบหนาพบมากกวากลุมที่ไมมีอาการปวดใบหนา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.046, p=0.009)<br />

แตเนื่องจากการพบ supreme turbinate พบนอย และอาจมีความคลาดเคลื่อนในการแปลผลจากการอานฟลม<br />

ในผูปวยกลุมที่มีอาการปวดใบหนา ไมละเอียดเทากับการอาน CT scan จากเครื่องคอมพิวเตอรในกลุมผูปวย<br />

ที่ไมปวดใบหนา สวนการพบผนังกั้นจมูกคดซึ่งในการศึกษานี้นับเฉพาะกรณีที่เปนมาก (contact deviated<br />

nasal septum) เทานั้นซึ่งเปนความผิดปกติที่ชัดเจนจึงไมนาจะมีความคลาดเคลื่อนจากการแปลผล ไมวาจะ<br />

อานจากฟลมหรือจากเครื่องคอมพิวเตอร<br />

อยางไรก็ตามความชุกของความแปรปรวนทางกายภาพสวนใหญไมตางกัน ดังนั้นเปนไปไดวา<br />

ความแปรปรวนทางกายภาพสวนใหญไมสัมพันธกับการเกิดอาการปวดใบหนา แตเนื่องจากการศึกษานี้เปน<br />

การศึกษาแบบ case – control จึงนาที่จะไดมีการศึกษาเพิ่มเติมโดยใชการศึกษาแบบ prospective จะไดขอมูล


ที่เชื่อถือไดแมนยํามากกวา และศึกษาเพื่อหาสาเหตุของอาการปวดใบหนาที่แทจริงรวมกับอายุรแพทยทาง<br />

ระบบประสาท เพื่อหาขอสรุป และ แนวทางในการรักษา หรือ ผาตัดในกลุมผูปวยเหลานี้ตอไป<br />

17


18<br />

สรุปผลการวิจัย<br />

กลุมที่มีอาการปวดบริเวณใบหนามีโอกาสพบความแปรปรวนทางกายภาพของโพรงจมูกและ<br />

ไซนัสไดไมตางกันอยางมีนัยสําคัญกับกลุมที่ไมมีอาการปวดบริเวณใบหนา ยกเวน ความชุกของ supreme<br />

turbinate และผนังกั้นจมูกคด ซึ่งพบในกลุมผูปวยที่มีอาการปวดบริเวณใบหนา มากกวา กลุมที่ไมมีอาการ<br />

ปวดบริเวณใบหนา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ


19<br />

เอกสารอางอิง:<br />

1. Moore KL. The Head. In: Satterfield TS, editor. Clinical oriented anatomy. 3 rd ed. Baltimore: William<br />

& Wilkins, 1992:637-782.<br />

2. ลลิดา เกษมสุวรรณ, ธงชัย ลักษมีจันทรพร. Anatomy & physiology of nose and paranasal sinus.ใน: สุภา<br />

วดี ประคุณหังสิต, สมยศ คุณจักร. ตําราโสต ศอ นาสิกวิทยา. กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพ Holistic<br />

Publishing, 2544:174-182.<br />

3. Bolger WE, Butzin CA, Parsons DS. Paranasal sinus bony anatomic variations and mucosal<br />

abnormalities: CT analysis for endoscopic sinus surgery. Laryngoscope 1991;101:56-64.<br />

4. Nitinavakarn B, Thanaviratananich S, Sangsilp N. Anatomical variations of the lateral nasal wall and<br />

paranasal sinuses: a CT study for Endoscopic Sinus Surgery (ESS) in Thai patients. J Med Assoc Thai<br />

2005;88:763-8.<br />

5. Fooanant S, Kangsanarak J, Chaiyasate S, Roongrotwattanasiri K, Oranratanachai K. Anatomical<br />

variation of bone on sinonasal CT:an analysis of 100 chronic rhinosinusitis cases. 9 th Asian Research<br />

Symposium in Rhinology & 10 th Biennial Congress of the Trans-Pacific Allergy & Immunology Society.<br />

Mumbai, November 2004 [abstract P36].<br />

6. Chow JM. Rhinologic headaches. Otolaryngol Head Neck Surg 1994;111:211-8.<br />

7. Paulson EP, Graham SM. Neurologic diagnosis and treatment in patients with computed tomography<br />

and nasal endoscopy negative facial pain. Laryngoscope 2004;114:1992-6.<br />

8. Stammberger H, Wolf G. Headaches and sinus disease : the endoscopic approach. Ann Otol Rhinol<br />

Laryngol 1988;97(Suppl 134):3-23.<br />

9. Boonchoo R. Functional Endoscopic Sinus Surgery in patients with Sinugenic Headache. J Med Assoc<br />

Thai 1997;80:521-6.


20<br />

10. Tonai A, Baba S. Anatomic variations of the bone in sinonasal CT. Acta Otolaryngol (Stockh) 1996;<br />

Suppl 525: 9-13.<br />

11. Lloyd GAS, Lund VJ, Scadding GK. CT of the paranasal sinuses and functional endoscopic surgery: a<br />

critical analysis of 100 symptomatic patients. J Laryngol Otol 1991;105:181-5.<br />

12. Cook PR, Nishioka GJ, Davis WE, McKinsey JP. Functional endoscopic sinus surgery in patients with<br />

normal computed tomography scans. Otolaryngol Head Neck Surg 1994;110:505-9.<br />

13. Jone NS, Strobl A, Holland I. A study of the CT findings in 100 patients with rhinosinusitis and 100<br />

controls. Clin Otolaryngol 1997;22:47-51.<br />

14. Stammberger H. Endoscopic endonasal surgery -Concepts in treatment of recurring rhinosinusitis. Part<br />

I. Anatomic and pathophysiologic considerations. Otolaryngol Head Neck Surg 1986;94:143-7.<br />

15. Kennedy DW, Zinreich SJ, Rosenbaum AE, Johns ME. Functional endoscopic sinus surgery. Theory<br />

and diagnostic evaluation. Arch Otolaryngol 1985;111:576-82.<br />

16. Zinreich SJ, Kennedy DW, Rosenbaum AE, Gayler BW, Kumar AJ, Stammberger H. Paranasal<br />

sinuses: CT imaging requirements for endoscopic surgery. Radiology 1987;163:769-75.<br />

17. Huang HH, Lee TJ, Huang CC, Chang PH, Huang SF. Non-sinusitis-related rhinogenous headache: a<br />

ten-year experience. Am J Otolaryngol 2008;29:326-32.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!