31.01.2015 Views

Download เนื้อหา - สถาบันพระปกเกล้า

Download เนื้อหา - สถาบันพระปกเกล้า

Download เนื้อหา - สถาบันพระปกเกล้า

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

คํานํา<br />

รายงานเรื่อง “การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนและความคิดเห็นตอการทํางานของ<br />

รัฐบาลและองคกรอิสระ” เปนหนึ่งในชุดโครงการวิจัยเรื่อง “การติดตามและประเมินผลบังคับใช<br />

รัฐธรรมนูญ” ซึ่งดําเนินการโดยสถาบันพระปกเกลา โดยไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากสํานัก<br />

งานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยมีวัตถุประสงคในการศึกษาวิจัยคือ<br />

1. เพื่อศึกษาประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน โดยเฉพาะ<br />

ที่เปนผลตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เชน ระดับของ<br />

การมีสวนรวมทางการเมือง ปจจัยที่มีอิทธิพลหรือมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมทางการเมืองของ<br />

ประชาชน เปนตน<br />

2. เพื่อสํารวจความคิดเห็นของประชาชนตอการทํางานของรัฐบาล โดยการวัดระดับความรู<br />

ความเขาใจ และทัศนคติความพึงพอใจที่มีตอกระบวนการบริหาร ทั้งที่ออกมาในรูปกฎหมาย นโยบาย<br />

และการตัดสินใจที่มีผลกระทบตอผลประโยชนของประชาชน<br />

3. เพื่อสํารวจความคิดเห็นของประชาชนตอการทําหนาที่ขององคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ<br />

ทั้งในดานการรับรูของประชาชน การมีสวนรวมโดยการใชบริการ และความพึงพอใจที่มีตอการทํางาน<br />

ที่ผานมา<br />

4. เพื่อศึกษาวิเคราะหระดับการมีสวนรวมของประชาชน และความพึงพอใจตอการทํางานของ<br />

รัฐบาลและองคกรอิสระภายหลังการบังคับใชรัฐธรรมนูญวาประสบความสําเร็จหรือลมเหลว อยางไร<br />

และเปนไปตามเจตนารมณที่แทจริงของรัฐธรรมนูญหรือไม เพื่อนําเสนอเปนแนวทางสําหรับการ<br />

ปรับปรุงการทํางานของหนวยงานที่เกี่ยวของ และนําไปสูการแกไขรัฐธรรมนูญตอไป<br />

ในการศึกษาวิจัย คณะผูวิจัยไดทําการเก็บขอมูลภาคสนามโดยใชแบบสอบถาม จากประชากร<br />

กลุมตัวอยางที่ไดจากการสุมตัวอยางอยางเปนระบบ จากบัญชีรายชื่อผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวนตัวอยาง<br />

2,000 ตัวอยาง จาก 42 จังหวัดทั่วประเทศ แลวนําขอมูลที่ไดมาศึกษาวิเคราะหนําเสนอขอเสนอแนะ<br />

อยางไรก็ตาม ขอเสนอแนะจากโครงการศึกษาวิจัยนี้ จะไมสามารถบรรลุผลสําเร็จไดโดยลําพัง<br />

เพราะเปนเพียงสวนหนึ่งของชุดโครงการวิจัยเรื่อง “การติดตามและประเมินผลบังคับใชรัฐธรรมนูญ”<br />

จึงจําเปนตองพิจารณาผลการศึกษาวิจัยจากโครงการอื่นๆ ประกอบดวย<br />

คณะผูวิจัยหวังเปนอยางยิ่งวา รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง “การมีสวนรวมทางการเมืองของ<br />

ประชาชนและความคิดเห็นตอการทํางานของรัฐบาลและองคกรอิสระ” จะเปนสวนหนึ่งที่ชวยใหการ<br />

ปฏิรูปการเมืองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 บรรลุผลไดอยางแทจริง


คณะผูวิจัยขอขอบคุณประชาชนที่ใหขอมูลตอการวิจัย ผูทรงคุณวุฒิทุกทานที่ชวยใหคําแนะนํา<br />

ตั้งแตตน ขอขอบคุณผูชวยศาสตราจารย .ประชัน รักพงษ ผูชวยศาสตราจารย ทศพล สมพงษ และ<br />

พนักงานสัมภาษณทุกคนที่ชวยในการเก็บรวมรวมขอมูลอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอด<br />

จนขอขอบคุณทุกทานที่มิไดเอยนาม แตมีสวนชวยในการทําใหงานวิจัยนี้บรรลุได<br />

ดร.ถวิลวดี บุรีกุล<br />

และคณะ<br />

มีนาคม 2546


สารบัญ<br />

หนา<br />

สารบัญภาพ<br />

สารบัญตาราง<br />

บทที่ 1 บทนํา 1<br />

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1<br />

1.2 วัตถุประสงค 2<br />

1.3 สมมติฐานของการวิจัย 3<br />

1.4 ขอบเขตของการศึกษา 3<br />

1.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา 4<br />

1.6 ตัวแปรและนิยามปฏิบัติการ 8<br />

1.7 ระยะเวลาดําเนินการ 12<br />

1.8 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 12<br />

1.9 คณะผูวิจัย 13<br />

บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม 14<br />

2.1 ขอกําหนดในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 เกี่ยวกับสิทธิและ<br />

หนาที่ของประชาชนในการมีสวนรวมทางการเมือง 14<br />

2.2 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับโครงสรางทางการเมืองใหม ตามรัฐธรรมนูญ<br />

แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 และการแปลงเจตนารมณไปสู<br />

การปฏิบัติในรอบ 5 ปที่ผานมา 16<br />

2.3 แนวคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยและการมีสวนรวมทางการเมือง 57<br />

2.4 แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินการทํางานของรัฐบาล 68<br />

บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 72<br />

3.1 วิธีวิจัย 72<br />

3.2 ประชากรและการสุมตัวอยาง 72<br />

3.3 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 73<br />

3.4 การสรางเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล 82<br />

3.5 การทดสอบและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใชในการศึกษา 83<br />

3.6 การเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนาม 84<br />

3.7 การวิเคราะหตัวแปร 84<br />


บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัย 86<br />

4.1 ขอมูลพื้นฐานของผูตอบ 86<br />

4.2 การเปดรับสื่อ 90<br />

4.3โลกทัศนและความเห็นทางการเมือง 92<br />

4.4 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการเมืองไทยปจจุบัน 103<br />

4.5 การมีสวนรวมทางการเมือง 112<br />

4.6 ความเขาใจและความคิดเห็นตอการทํางานของรัฐบาล 122<br />

4.7 ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ 136<br />

บทที่ 5 สรุปและเสนอแนะ 145<br />

5.1 สรุป 145<br />

5.2 เสนอแนะ 158<br />

บรรณานุกรม 162<br />

ภาคผนวก<br />

ภาคผนวก ก แบบสอบถาม<br />

ภาคผนวก ข การทดสอบและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใชในการศึกษา<br />

ภาคผนวก ค ตารางสรุปผลการเก็บขอมูลภาคสนาม<br />

ภาคผนวก ง รายงานการประชุม<br />

ภาคผนวก จ รูปภาพการเก็บขอมูลภาคสนาม<br />


บทที่ 1<br />

บทนํา<br />

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา<br />

ประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งที่กําลังมีการปฏิรูปการเมืองมุงสูการเปนประชาธิปไตยอยาง<br />

ยั่งยืน และมีการใหความสําคัญของการมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมตางๆ โดยระบุไวใน<br />

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ในหลายๆ มาตรา จนมีผูมักกลาววา<br />

รัฐธรรมนูญฉบับนี้เปนรัฐธรรมนูญฉบับมีสวนรวมของประชาชนภายใตเจตนารมณหลัก<br />

3 ประการ กลาวคือ ประการแรก เปลี่ยนการเมืองของนักการเมืองใหเปนการเมืองของพลเมือง<br />

ประการที่สอง ทําใหการเมืองสุจริตและโปรงใส และประการที่สาม ทําใหการเมืองมีเสถียรภาพ<br />

และประสิทธิภาพ<br />

เพื่อใหเปนไปตามเจตนารมณดังกลาว รัฐธรรมนูญจึงไดวางหลักการไวใหโครงสรางทาง<br />

การเมืองมีลักษณะเปด และมีการตรวจสอบถวงดุลกันระหวางสถาบันทางการเมือง จะเห็นไดจาก<br />

โครงสรางของรัฐสภาซึ่งยังคงใชระบบสองสภา ซึ่งมีขอดีในการตรวจสอบกลั่นกรองในทางนิติ<br />

บัญญัติ และไดเพิ่มในสวนที่มาของสมาชิกในสภาทั้งสอง โดยเฉพาะสมาชิกวุฒิสภาที่บัญญัติใหมา<br />

จากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนอันจะสอดคลองกับหลักการประชาธิปไตยยิ่งขึ้น ในสวน<br />

ของฝายบริหารเอง รัฐธรรมนูญไดวางหลักการไวชัดเจนที่จะทําใหฝายบริหารแยกขาดจากฝายสภา<br />

โดยการบัญญัติใหนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจะดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือ<br />

สมาชิกวุฒิสภาในขณะเดียวกันมิได อันจะเปนผลดีในการแบงแยกการทําหนาที่และทําใหการ<br />

ถวงดุลยอํานาจระหวางฝายนิติบัญญัติและฝายบริหารเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

นอกจากนี้ เพื่อใหการเมืองสุจริตและโปรงใส รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันไดเพิ่มระบบ<br />

ตรวจสอบใหครบถวน มีอิสระอยางแทจริงและไมซ้ําซอนกันแตสงเสริมซึ่งกันและกัน รวมทั้ง<br />

การเพิ่มองคกรอิสระเพื่อทําหนาที่ควบคุมตรวจสอบการทําหนาที่ของฝายการเมือง และฝายราชการ<br />

ใหครอบคลุมทุกดาน รวมทั้งเพื่อเปนการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนอีกทางหนึ่งดวย<br />

จะเห็นไดวาการจัดโครงสรางทางการเมืองตามรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน มุงสรางสถาบัน<br />

ทางการเมืองที่มีประสิทธิภาพ สุจริตโปรงใส และเพิ่มสวนรวมทางการเมือง แตการวางหลักการ<br />

ดังกลาวไวเปนเพียงกาวแรกของเสนทางการปฏิรูปไปสูการมีประชาธิปไตยที่ยั่งยืนของประเทศ<br />

เทานั้น การปฏิรูปทางการเมืองจะตองมีกาวตอๆ ไปซึ่งสวนสําคัญจะตองขึ้นอยูกับประชาชน<br />

คนไทยผูมีสวนรวมในการสนับสนุนรัฐธรรมนูญนี้จะตองมีความตื่นตัว และมีสํานึกของการเปน<br />

พลเมืองที่เห็นกิจการของบานเมืองเปนเรื่องสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวาเรื่องของตนเอง รวมทั้งการมี<br />

ทัศนคติความเชื่อที่มีเหตุผล มีการวิเคราะห วิจารณ และมองโลกในแงความเปนจริงอันเปนพื้นฐาน<br />

ของการมีวัฒนธรรมแบบประชาธิปไตย


นับตั้งแตมีการบังคับใชรัฐธรรมนูญฉบับนี้เปนตนมา เจตนารมณแหงรัฐธรรมนูญทั้งหลาย<br />

ไดถูกแปลงไปสูกระบวนการทางการเมืองในทางปฏิบัติเปนเวลา 5 ปแลว นาสนใจวาการเมืองไทย<br />

ภายใตกรอบกติกาใหมนี้มีการเปลี่ยนแปลงไปมากนอยเพียงใด โดยเฉพาะในมิติของการมีสวนรวม<br />

ของประชาชนอันเปนหัวใจสําคัญในการปฏิรูป และการตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลการทํางาน<br />

ของสถาบันทางการเมืองหลักที่เกี่ยวของ ซึ่งแนนอนวาภาพสะทอนที่นาจะชัดเจนมากที่สุดยอมมา<br />

จากการประมวลความคิดเห็นของประชาชนทั้งที่เปนเรื่องของความรูความเขาใจ ความสนใจ และ<br />

ทัศนคติความพึงพอใจที่มีตอระบบการเมืองและการทําหนาที่ของสถาบันทางการเมืองตางๆ ทั้งที่<br />

ออกมาในรูปกฎหมาย นโยบาย และการตัดสินใจที่มีผลกระทบตอผลประโยชนของประชาชน<br />

สภาพการณดังกลาว ทําใหสมควรที่จะไดมีการวิจัยเพื่อศึกษาการมีสวนรวมของประชาชน<br />

และความคิดเห็นตอการทํางานของรัฐบาลและองคกรอิสระ โดยการประเมินความสําเร็จจากการ<br />

บังคับใชรัฐธรรมนูญที่มีผลตอระดับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนวาไดมีสวนสงเสริม<br />

ใหประชาชนมีสวนรวมเพิ่มขึ้นหรือไม เพียงใด และปจจัยอะไรที่ทําใหประชาชนเขามามีสวนรวม<br />

ทางการเมือง พรอมไปกับการประเมินผลการทํางานของฝายบริหารผานตัวการสําคัญคือรัฐบาลและ<br />

ผลจากการดําเนินนโยบายที่ไดประกาศไวตอสาธารณะ วามีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับความ<br />

ตองการของประชาชนหรือไมอยางไร รวมทั้งการประเมินผลการทํางานของกระบวนการ<br />

ตรวจสอบการใชอํานาจผานองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญวามีความสุจริต และมีความชอบธรรม<br />

ในการใชอํานาจหรือไม ประชาชนมีความเชื่อมั่นและพอใจตอการทํางานที่ผานมาในระดับใด<br />

คําตอบจากการทําวิจัยซึ่งอางอิงบนหลักวิชาการที่ถูกตองจะทําใหไดรับทราบขอมูลที่เปนประโยชน<br />

ในการพัฒนาระบบการเมืองของประเทศไปสูความเปนประชาธิปไตย ที่ประชาชนใหความสําคัญ<br />

และมีสวนรวมในระดับสูง และผลจากการประเมินการทํางานของกลไกทางการเมืองตางๆ<br />

จะนําไปสูขอเสนอในการปรับปรุงการทํางานของสถาบันทางการเมืองที่เกี่ยวของใหมีความ<br />

สอดคลองตอความตองการของประชาชน ตลอดจนใชเปนขอมูลพื้นฐานประกอบการเสนอแกไข<br />

บทบัญญัติรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวของตอไป<br />

1.2 วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อศึกษาประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน โดย<br />

เฉพาะที่เปนผลตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เชน<br />

ระดับของการมีสวนรวมทางการเมือง ปจจัยที่มีอิทธิพลหรือมีความสัมพันธกับการมีสวนรวม<br />

ทางการเมืองของประชาชน เปนตน<br />

2. เพื่อสํารวจความคิดเห็นของประชาชนตอการทํางานของรัฐบาล โดยการวัดระดับความรู<br />

ความเขาใจ และทัศนคติความพึงพอใจที่มีตอกระบวนการบริหาร ทั้งที่ออกมาในรูปกฎหมาย<br />

นโยบาย และการตัดสินใจที่มีผลกระทบตอผลประโยชนของประชาชน<br />

2


3. เพื่อสํารวจความคิดเห็นของประชาชนตอการทําหนาที่ขององคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ<br />

ทั้งในดานการรับรูของประชาชน การมีสวนรวมโดยการใชบริการ และความพึงพอใจที่มีตอการ<br />

ทํางานที่ผานมา<br />

4. เพื่อศึกษาวิเคราะหระดับการมีสวนรวมของประชาชน และความพึงพอใจตอการทํางาน<br />

ของรัฐบาลและองคกรอิสระภายหลังการบังคับใชรัฐธรรมนูญวาประสบความสําเร็จหรือลมเหลว<br />

อยางไร และเปนไปตามเจตนารมณที่แทจริงของรัฐธรรมนูญหรือไม เพื่อนําเสนอเปนแนวทาง<br />

สําหรับการปรับปรุงการทํางานของหนวยงานที่เกี่ยวของ และนําไปสูการแกไขรัฐธรรมนูญตอไป<br />

1.3 สมมติฐานของการวิจัย<br />

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มุงสงเสริมและคุมครองสิทธิเสรีภาพ<br />

ของประชาชน ใหประชาชนมีสวนรวมในการปกครอง เมื่อมีการบังคับใชรัฐธรรมนูญมาไดหาป<br />

นาจะทําใหประชาชนสวนใหญมีระดับการมีสวนรวมทางการเมืองที่คอนขางสูง และปจจัยทาง<br />

เศรษฐกิจ-สังคม ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการเมือง ความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล และ<br />

ความคาดหวังและความเชื่อมั่นตอสถาบันทางการเมืองนาจะมีผลตอระดับการมีสวนรวมทางการ<br />

เมืองของประชาชน<br />

นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญยังไดกําหนดมาตรการตางๆ เพื่อใหประชาชนสามารถตรวจสอบ<br />

การใชอํานาจรัฐเพิ่มขึ้น ตลอดทั้งปรับปรุงโครงสรางทางการเมืองใหมีเสถียรภาพและประสิทธิ<br />

ภาพยิ่งขึ้น นาจะทําใหประชาชนมีความเชื่อมั่นตอสถาบันทางการเมืองตางๆ รวมถึงนาจะมีผล<br />

ทําใหประชาชนมีระดับความพึงพอใจตอการทํางานของรัฐสภา รัฐบาล องคกรอิสระ และ<br />

หนวยงานตางๆ คอนขางสูง และดีขึ้นกวาในอดีต ทั้งนี้ปจจัยดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับอํานาจ<br />

หนาที่ และความคาดหวังตอบทบาทของสถาบันทางการเมืองตางๆ นาจะมีผลตอความพอใจในการ<br />

ทํางานของสถาบันทางการเมืองนั้น<br />

1.4 ขอบเขตของการศึกษา<br />

การวิจัยนี้เปนการศึกษาการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน และความคิดเห็นของ<br />

ประชาชนตอการทํางานของรัฐบาลและองคกรอิสระภายหลังการบังคับใชรัฐธรรมนูญแหง<br />

ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยเนนที่ประเด็นหลักดังตอไปนี้<br />

1. ศึกษาวิเคราะหประเด็นตางๆ เกี่ยวกับการมีสวนรวมทางการเมือง ไดแก<br />

1.1 ระดับของการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน<br />

1.2 ปจจัยที่มีอิทธิพลหรือมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของประชาชน<br />

2. ศึกษาวิเคราะหความคิดเห็นของประชาชนตอรัฐบาล โดย<br />

3


2.1 วิเคราะหระดับความพึงพอในของประชาชนตอนโยบายรัฐบาลโดยแบงเปน<br />

นโยบายดานตางๆ<br />

2.2 ประเมินผลสําเร็จของนโยบายรัฐบาลที่ไดเริ่มดําเนินการไปแลว และอยูใน<br />

ความสนใจของประชาชนจากการวิเคราะหระดับความพึงพอใจของประชาชน<br />

3. ศึกษาวิเคราะหความคิดเห็นของประชาชนตอองคกรอิสระ โดย<br />

3.1 วัดระดับความเปนที่รูจักของประชาชนเกี่ยวกับองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ<br />

3.2 วิเคราะหผลการทํางานขององคกรอิสระจากระดับความเชื่อมั่น และความพึง<br />

พอใจของประชาชนตอการใชอํานาจหนาที่ และแสดงบทบาทที่ผานมาขององคกรอิสระตางๆ<br />

4. ศึกษาวิเคราะหการทํางานขององคกรอิสระและรัฐบาลในภาพรวม<br />

1.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา<br />

กรอบแนวคิดของการศึกษาครั้งนี้ ไดสรางจากเจตนารมณหลักของรัฐธรรมนูญแหงราช<br />

อาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ที่มีสาระสําคัญเปนการเสริมสรางการมีสวนรวมของประชาชน<br />

การทําการเมืองใหเสถียรภาพและประสิทธิภาพ โดยสะทอนจากการทํางานของรัฐบาลตามนโยบาย<br />

ที่แถลงไว และประชาชนมีความพึงพอใจในการปฏิบัติตามนโยบายตางๆ ตลอดจนความพอใจตอ<br />

หนวยงานระดับกระทรวงที่เปนผูนํานโยบายไปปฏิบัติ และความเชื่อมั่นตอสถาบันทางการเมือง<br />

และการกอตั้งองคกรอิสระตางๆ เพื่อคุมครองสิทธิ เสรีภาพของประชาชน ทําหนาที่ตรวจสอบ<br />

การใชอํานาจรัฐและสงเสริมการมีสวนรวม โดยสะทอนการทํางานขององคกรอิสระเหลานี้จาก<br />

ความเชื่อมั่นและความพึงพอใจที่ประชาชนมีตอสถาบันเหลานี้ดวย โดยการศึกษานี้ไดกําหนด<br />

กรอบการศึกษาใหมีประชาชนเปนศูนยกลาง เนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันนี้มีที่มาจากความ<br />

ตองการของประชาชนในการปฏิรูปทางการเมืองและการบริหาร<br />

ภาพที่ 1.1<br />

แผนผังแสดงสถาบันที่เกี่ยวของกับการศึกษา<br />

4


ภายใตกรอบแนวคิดดังกลาว ผูวิจัยไดสรางแนวคิดเรื่องความสัมพันธของตัวแปรตางๆ<br />

เพื่อการศึกษาในประเด็นหลักสําหรับงานวิจัยขึ้น 3 สวน กลาวคือ แนวคิดเรื่องการมีสวนรวมทาง<br />

การเมือง แนวคิดเรื่องความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล และแนวคิดเรื่องความเชื่อมั่นตอองคกร<br />

อิสระ ดังนี้<br />

แนวคิดในเรื่องของการมีสวนรวมทางการเมืองนั้น ผูวิจัยไดใชทฤษฎีของการมีสวนรวม<br />

ตาม Milbrath และ Goel (1965) Almond และ Verba (1965) Herbert Meclosky (1968) และธงชัย<br />

และเทียนชัย วงศสุวรรณ (2542) ที่วาการมีสวนรวมทางการเมืองเปนการกระทําของบุคคล<br />

โดยสมัครใจที่พยายามมีอิทธิพลหรือสนับสนุนระบบการเมือง และมีความแตกตางกันตาม<br />

วัฒนธรรมทางการเมืองของแตละบุคคล และพฤติกรรมการมีสวนรวมจะมีหลายระดับตามแนวคิด<br />

ของ Roth และ Wilson (1980) คือระดับต่ําหรือกลุมผูดู ระดับกลางหรือผูมีสวนรวมทางการเมือง<br />

คือปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม (ตามทฤษฎีของ Creighton แปลโดยวันชัย วัฒนศัพท, 2543<br />

Sherill and Vogler,1982 Conway,2000 และอมร รักษาสัตย และคณะ,2544) ความรูความเขาใจ<br />

ทางการเมือง ซึ่งนํามาสูการไดมาซึ่งแนวคิดทางการเมือง (Conway,2000 และถวิลวดี บุรีกุล,2543)<br />

และปจจัยสิ่งแวดลอมทางการเมือง (Conway,2000) ซึ่งอธิบายไดจากความพอใจตอการทํางานของ<br />

รัฐบาลในการบริหารงาน ซึ่งความสัมพันธของตัวแปรตางๆ สามารถอธิบายไดโดยงาย ในลักษณะ<br />

ของตัวแบบในภาพที่ 1.2<br />

ภาพที่ 1.2<br />

ตัวแบบของความสัมพันธระหวางตัวแปรที่มีผลตอการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

ปจจัยทางเศรษฐกิจ-สังคม<br />

การอาศัยอยูในเมือง-ชนบท<br />

ความรูความเขาใจทางการเมือง<br />

โลกทัศน /ความคิดเห็น<br />

วัฒนธรรมทางการเมือง<br />

ความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล<br />

ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ<br />

การมีสวนรวม<br />

ทางการเมือง<br />

5


การศึกษาความพอใจตอการทํางานของรัฐบาลในที่นี้มีกรอบแนวคิดตามการศึกษาของ<br />

Borre และ Scarbrough,1998 วาระดับการสนับสนุนกิจกรรมหรือนโยบายตางๆ ของรัฐ เปนเรื่อง<br />

สําคัญที่สนับสนุนระบบการเมืองโดยรวม การสะทอนความตองการและการสนับสนุนของ<br />

ประชาชน ศึกษาไดจากการทํางานของรัฐบาล อธิบายไดดวยความพอใจตอนโยบายของรัฐ ความรู<br />

เกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของรัฐบาล ซึ่งจัดเปนตัวแปรที่สําคัญ สวนความพอใจตอนโยบายดานตางๆ<br />

ของรัฐ ยังขึ้นอยูกับประเด็นทางเศรษฐกิจ สังคม ตางๆ ซึ่งไดมีการศึกษากันในหลายประเทศและ<br />

คนพบวามีความสําคัญมากตอการสนับสนุนการทํางานของรัฐบาล (Inglehard ,1990)<br />

ภาพที่ 1.3<br />

ตัวแบบของความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล<br />

ปจจัยทางเศรษฐกิจ-สังคม<br />

การอาศัยอยูในเมือง-ชนบท<br />

ความรูความเขาใจทางการเมือง<br />

โลกทัศน /ความคิดเห็น<br />

วัฒนธรรมทางการเมือง<br />

ระดับการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ<br />

ความพอใจตอการ<br />

ทํางานของรัฐบาล<br />

สําหรับกรอบแนวคิดเรื่องความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระนั้น เชนเดียวกับการศึกษาประเด็น<br />

ตางๆ ที่กลาวมาแลว องคกรอิสระเปนองคกรที่เกิดขึ้นตามรัฐธรรมนูญ เกิดขึ้นจากการปฏิรูป<br />

การเมือง เพื่อมุงทําใหบรรลุเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ และการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญเปนไป<br />

อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระจึงเปนสิ่งสําคัญ ที่อธิบาย<br />

ไดดวยความเชื่อมั่นที่ประชาชนมีตอสถาบันทางการเมือง ความพอใจตอการทํางานของภาครัฐและ<br />

ตอนโยบายตางๆ ของรัฐบาล ทั้งนี้เพราะองคกรอิสระตั้งขึ้นมาเพื่อตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ<br />

พิทักษสิทธิเสรีภาพ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย และเสริมสรางการมีสวนรวมของประชาชน<br />

หากองคกรอิสระเหลานี้ทํางานไมมีประสิทธิภาพ กอใหเกิดการลิดรอนสิทธิเสรีภาพของประชาชน<br />

ซึ่งแสดงไดโดยนโยบายหรือการทํางานของรัฐ ความเชื่อมั่นตอองคกรเหลานี้คงจะลดลง<br />

6


ภาพที่ 1.4<br />

ตัวแบบของความสัมพันธของปจจัยตางๆ กับความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ<br />

ปจจัยทางเศรษฐกิจ-สังคม<br />

การอาศัยอยูในเมือง-ชนบท<br />

ความรูความเขาใจทางการเมือง<br />

โลกทัศน /ความคิดเห็น<br />

วัฒนธรรมทางการเมือง<br />

ระดับการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

ความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล<br />

ความเชื่อมั่นตอ<br />

องคกรอิสระ<br />

ตามแบบแนวคิดของ Borre และ Scarroughs 1998 และจากการศึกษาของนักวิชาการหลาย<br />

ทานในเรื่องนี้เพื่อสงเสริมแนวคิดดังกลาวขางตน พบความสัมพันธของตัวแปรตางๆที่สามารถ<br />

บูรณาการเปนกรอบแนวคิดของการศึกษา ดังนี้<br />

ภาพที่ 1.5<br />

บูรณาการความสัมพันธของปจจัยตางๆ และความเชื่อมโยงกับเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ<br />

ความพอใจตอ<br />

นโยบายดานตางๆ<br />

ความพอใจตอการทํางาน<br />

ของสถาบันทางการเมือง<br />

ความรูความเขาใจเกี่ยวกับ<br />

อํานาจหนาที่ของรัฐบาล<br />

ความพอใจตอการ<br />

ทํางานของรัฐบาล<br />

ความเชื่อมั่นตอ<br />

สถาบันทางการเมือง<br />

ขาวสารและ<br />

ความสนใจทางการเมือง<br />

การมีสวนรวม<br />

ทางการเมือง<br />

ความเชื่อมั่น<br />

ตอองคกรอิสระ<br />

ความรูความเขาใจ<br />

ทางการเมือง<br />

ปจจัยทาง<br />

เศรษฐกิจ-สังคม<br />

7


ภาพที่ 1.6<br />

กรอบแนวคิด “การบรรลุผลตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ”<br />

เจตนารมณรัฐธรรมนูญ<br />

• มีสวนรวมทางการเมือง<br />

• รัฐบาลมีเสถียรภาพ (ความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล)<br />

• ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ<br />

กรอบแนวคิดของการศึกษาการบรรลุเจตนารมณของรัฐธรรมนูญนี้ ใชหลักการสําคัญของ<br />

การรางรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน ซึ่งมุงพิทักษสิทธิเสรีภาพของประชาชนและสรางการมีสวนรวม<br />

ทางการเมือง ตลอดจนการสรางเสถียรภาพทางการเมืองที่สะทอนดวยเสถียรภาพของรัฐบาล โดยมี<br />

องคกรอิสระเกิดขึ้นเพื่อทําใหเจตนารมณเหลานี้บรรลุผล ดังปรากฏในภาพขางตน<br />

1.6 ตัวแปรและนิยามปฏิบัติการ<br />

ตัวแปรที่ใชประกอบเปนแบบสอบถาม สําหรับตอบสมมติฐานในการวิจัยนี้ ประกอบดวย<br />

1.6.1 ตัวแปรตาม ไดแก<br />

(1) การมีสวนรวมทางการเมือง<br />

(2) การบรรลุผลตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ<br />

(1) การมีสวนรวมทางการเมือง<br />

การมีสวนรวมทางการเมืองหมายถึงการปฏิบัติการอยางใดอยางหนึ่งดวยความสมัครใจ ใน<br />

รูปแบบตางๆ ไมวาจะใชวิธีการที่ถูกตองตามกฎหมายหรือไมมีกฎหมายบัญญัติรองรับ มีการดําเนิน<br />

การแบบจัดองคกรหรือไมมี โดยจะเปนการกระทําที่มีความตอเนื่องหรือเปนครั้งคราวก็ได รวมทั้ง<br />

จะเปนผลสําเร็จหรือไมก็ตาม การกระทํานั้นมุงประสงคที่จะมีอิทธิพลตอการเลือกนโยบาย<br />

สาธารณะ การบริหารงานนโยบายสาธารณะ และการเลือกผูนําทางการเมืองไมวาจะเปนระดับชาติ<br />

หรือระดับทองถิ่น<br />

การศึกษาตัวแปรการมีสวนรวมทางการเมืองในการศึกษาครั้งนี้จะอาศัยระดับของการเขา<br />

รวมกิจกรรมทางการเมือง ทั้งที่เปนการบัญญัติไวตามรัฐธรรมนูญโดยตรงและกิจกรรมที่เปนผล<br />

8


โดยออมจากการที่รัฐธรรมนูญไดเปดกวางไว เพื่อทําความเขาใจระดับการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

ของประชาชน โดยใชคําถามที่ถามถึงความถี่ของการมีสวนรวมในการกระทํากิจกรรมตางๆ ไดแก<br />

ก. ความสนใจและการมีสวนรวมระดับต่ํา<br />

1. พูดคุยเรื่องการเมือง<br />

2. ไปลงคะแนนในการเลือกตั้งทองถิ่น<br />

3. ไปลงคะแนนในการเลือกตั้งระดับชาติ<br />

4. พูดชักชวนผูอื่น ใหไปลงคะแนน<br />

5. รวมประชาสัมพันธทางการเมือง<br />

ข. ความสนใจและการมีสวนรวมระดับปานกลาง<br />

1. มีการติดตอกับนักการเมือง<br />

2. เคยบริจาคเงินหรือสิ่งของ<br />

3. รวมชุมนุมฟงการหาเสียง/แนะนําตัว<br />

4. เขารวมในเวทีสาธารณะ<br />

5. มีการรวมตัวกับคนอื่นเปนกลุมผลประโยชนหรือเปนสมาชิกกลุม<br />

6. ชวยผูสมัครหรือพรรคการเมืองหาเสียง<br />

7. บริจาคเงินเพื่อสนับสนุนพรรคการเมือง<br />

8. เปนสมาชิกพรรคการเมือง<br />

ค. ความสนใจและการมีสวนรวมระดับสูง<br />

1. ดํารงตําแหนงสําคัญในพรรคการเมือง<br />

2. ลงสมัครรับเลือกตั้ง<br />

ในการตอบคําถามที่เปนการถามถึงความถี่นี้จะมีตัวเลือกแบงตามความถี่ของการปฏิบัติกิจ<br />

กรรม เชน บอยมาก คอนขางบอย นานๆ ครั้งจนถึงไมเคยเลย เปนตน หลังจากนั้นจะมีการให<br />

คะแนนสําหรับตัวเลือก (ตั้งแต 0 คะแนนขึ้นไป) และทําการรวมคะแนน โดยจะตองมีการตรวจ<br />

สอบความถูกตองของขอมูลและความนาเชื่อถือของขอมูลดวย เพื่อเลือกคําถามที่สามารถนําคําตอบ<br />

มารวมเปนคะแนนรวมของการมีสวนรวมตอไป<br />

(2) การบรรลุผลตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ<br />

เจตนารมณของรัฐธรรมนูญที่ใชในการศึกษานี้ คือเจตนารมณตามคําปรารภในรัฐธรรมนูญ<br />

แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ซึ่งมีสาระสําคัญหลักแยกไดเปนสามประการ กลาวคือ<br />

ประการแรก สงเสริมและคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ประการที่สอง ใหประชาชนมีสวน<br />

รวมในการปกครองและตรวจสอบการใชอํานาจรัฐเพิ่มขึ้น ประการที่สาม ปรับปรุงโครงสรางทาง<br />

9


การเมืองใหมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้งนี้โดยคํานึงถึงความคิดเห็นของประชาชนเปน<br />

สําคัญ<br />

การบรรลุผลตามเจตนารมณดังกลาวจะเปนการทดสอบผลการศึกษา ไดแก<br />

ก. การมีสวนรวมทางการเมือง ซึ่งพิจารณาจากตัวแปรดานปจจัยทางเศรษฐกิจ-สังคม<br />

ความรูความเขาใจทางการเมือง ความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล ความคาดหวังและความเชื่อ<br />

มั่นตอสถาบันการเมือง<br />

ข. ความพอใจของประชาชนตอการทํางานของรัฐบาล พิจารณาจากความรูความเขาใจ<br />

เกี่ยวกับอํานาจหนาที่ และความพอใจตอนโยบายดานตางๆ<br />

ค. ความเชื่อมั่นตอสถาบันทางการเมือง สะทอนไดจากการมีสวนรวมทางการเมือง ความ<br />

พอใจตอการทํางาน และความคาดหวังตอการทําหนาที่<br />

ง. ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ โดยพิจารณาจากระดับความเชื่อมั่นของประชาชนตอ<br />

สถาบันทางการเมืองตางๆ โดยรวม รวมไปกับปจจัยที่เกี่ยวกับการทํางานของรัฐบาล ไดแก ความ<br />

พอใจตอการทํางานของรัฐบาล และความพอใจตอนโยบายของรัฐบาล<br />

1.6.2 ตัวแปรอิสระ ไดแก<br />

(1) ขอมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจสังคม<br />

(2) การเปดรับสื่อ<br />

(3) โลกทัศนและความเห็นทางการเมือง<br />

(4) ความรูเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพและหนาที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ<br />

(5) ความรูความเขาใจและความพึงพอใจตอบทบาทและอํานาจหนาที่ของรัฐสภา<br />

(6) ความรูความเขาใจและความพึงพอใจตอบทบาทและอํานาจหนาที่ของรัฐบาล<br />

(7) การติดตอกับเจาหนาที่ของรัฐและนักการเมือง<br />

(8) ความรูความเขาใจ ความเชื่อมั่น และความพึงพอใจตอบทบาทและอํานาจหนา<br />

ที่ขององคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ และสถาบันทางการเมืองตางๆ<br />

(9) การทํางานโดยภาพรวมของกระทรวงตางๆ<br />

(10) ทัศนคติและประสบการณเกี่ยวกับการคอรัปชั่น<br />

(1) ปจจัยทางเศรษฐกิจสังคม<br />

ศึกษาขอมูลพื้นฐานทางดานประชากร สังคมและเศรษฐกิจของกลุมตัวอยาง ไดแก เพศ<br />

อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ รายได การศึกษา การนับถือศาสนา ภาษาที่ใชในครอบครัว และเขตที่<br />

อยูอาศัย<br />

10


(2) การเปดรับสื่อ<br />

ศึกษาถึงการเปดรับฟงขอมูลขาวสารทางการเมืองของประชาชนวามีการเปดรับจากแหลง<br />

ใดบาง ในระดับใด และจากแหลงขาวสารใดมากที่สุด ซึ่งในการศึกษานี้ไดสอบถามการเปดรับสื่อ<br />

จากหนังสือพิมพ วิทยุ และโทรทัศน<br />

(3) โลกทัศนและความเห็นทางการเมือง<br />

ศึกษาโลกทัศนและความเห็นที่เปนการสนับสนุนและขัดตอความคิดแบบประชาธิปไตย<br />

เชน ประเด็นความเห็นตอระบบการเมือง ประสิทธิภาพทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง และ<br />

ความเชื่อมั่นตอระบอบการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย<br />

(4) ความรูเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพและหนาที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ<br />

สิทธิ เสรีภาพและหนาที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญถือเปนกรอบพื้นฐานที่จะนําไปสู<br />

การบรรลุตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน ผูวิจัยจึงไดเลือกสิทธิ เสรีภาพ และหนาที่<br />

ตามรัฐธรรมนูญบางประการที่ประชาชนควรมีความรู เพื่อทดสอบระดับความรูพื้นฐานของประชา<br />

ชนที่มีตอรัฐธรรมนูญ เชน สิทธิไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปโดยไมตองเสียคาใชจาย (มาตรา<br />

43) สิทธิที่จะไดรับการบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพและทั่วถึง (มาตรา 52) สิทธิในการรวมดูแล<br />

รักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรและสิ่งแวดลอมในทองถิ่น (มาตรา 56) เปนตน<br />

(5) รัฐสภา<br />

การศึกษาตัวแปรนี้จะเริ่มตนตั้งแตการทดสอบความรูความเขาใจเบื้องตนที่มีตอรัฐสภา<br />

จากนั้นจะเปนการศึกษาระดับความพึงพอใจที่มีตอบทบาทและอํานาจหนาที่ของรัฐสภาทั้งในแงตัว<br />

บุคคล คือผูดํารงตําแหนงสําคัญๆ และในแงภาพรวมขององคกร และในตอนทายจะเปนพิจารณาใน<br />

เรื่องความคาดหวังที่มีตอบทบาทและอํานาจหนาที่ของรัฐสภาในอนาคตวาประชาชนมีความ<br />

ตองการใหเปนสถาบันที่ทําหนาที่ใดมากที่สุดเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชน<br />

(6) รัฐบาล<br />

เชนเดียวกันกับการศึกษาในเรื่องรัฐสภา การศึกษาตัวแปรนี้จะเริ่มตนจากการทดสอบความ<br />

รูความเขาใจเบื้องตน แตในการวัดระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอรัฐบาลนั้นจะเนนไปที่<br />

นโยบายของรัฐบาล โดยเฉพาะนโยบายที่มีผลกระทบตอชีวิตประจําวันของประชาชนและมีการ<br />

ปฏิบัติไปแลวตั้งแตรัฐบาลชุดปจจุบันภายใตรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 เขาดํารงตําแหนง รวมไปถึง<br />

ความสนใจของประชาชนในการตรวจสอบติดตามการทํางานของรัฐบาลดวย<br />

(7) การติดตอกับเจาหนาที่ของรัฐและนักการเมือง<br />

ศึกษาถึงกลุมเปาหมายและวิธีการที่ประชาชนใชเพื่อแกไขปญหาในชีวิตประจําวัน วาเมื่อ<br />

เกิดปญหาขึ้นประชาชนจะติดตอกับใครเพื่อใหชวยเหลือในการแกไขปญหา โดยยกองคกร<br />

หนวยงาน และบุคคลทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ เชน ขาราชการ สมาชิกรัฐสภา พรรคการ<br />

เมือง องคกรอิสระ สื่อมวลชน ฯลฯ<br />

11


(8) องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ และสถาบันทางการเมืองตางๆ<br />

องคกรอิสระที่ใชในการวิจัยนี้ มุงศึกษาองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญเปนหลัก โดยที่มีการ<br />

เพิ่มองคกรอิสระตามกฎหมายอื่นที่สําคัญเขาไวดวย ในการทําการศึกษานั้นจะเนนไปที่การวัด<br />

ระดับความเปนที่รูจักขององคกรอิสระตางๆ ตามรัฐธรรมนูญในฐานะองคกรที่เพิ่งเกิดใหม ความ<br />

เชื่อมั่นที่มีตอองคกรเหลานี้ โดยผนวกมิติของเปรียบเทียบกับสถาบันทางการเมืองที่มีมาตอเนื่อง<br />

และยาวนานอื่นๆ รวมไปถึงความพึงพอใจที่มีตอการทํางานสถาบันทางการเมืองตางๆ<br />

(9) การทํางานโดยภาพรวมของกระทรวงตางๆ<br />

กระทรวงที่ใชศึกษาในงานวิจัยนี้คือกระทรวงตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ<br />

แผนดิน พุทธศักราช 2534 ประกอบดวยหนวยงานระดับกระทรวงและเทียบเทารวม 15 หนวยงาน<br />

ในการศึกษาจะเนนไปที่การวัดระดับความพอใจของประชาชนตอการทํางานโดยภาพรวมของ<br />

กระทรวงตางๆ<br />

(10) ทัศนคติและประสบการณเกี่ยวกับการคอรัปชั่น<br />

การศึกษาเกี่ยวกับการคอรัปชั่นนับเปนภาพสะทอนอีกอันหนึ่งของระบบการเมืองที่มี<br />

ประสิทธิภาพ ซึ่งจะตองมีความสุจริตและเที่ยงธรรมดวย ในการวิจัยครั้งนี้ไดวางประเด็นการศึกษา<br />

เกี่ยวกับการคอรัปชั่นไวเปนตัวแปรที่สําคัญอันหนึ่ง โดยสรางคําถามที่เปนการวัดทัศนคติเกี่ยวกับ<br />

คอรัปชั่นของประชาชน และการสอบถามถึงประสบการณของประชาชนที่มีสวนรับทราบหรือพบ<br />

เห็นเกี่ยวกับการคอรัปชั่นในประเทศไทย<br />

1.7 ระยะเวลาดําเนินการ<br />

มกราคม – ธันวาคม 2545<br />

1.8 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ<br />

1. ไดรับทราบแนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมของประชาชน ตั้งแตความรูความเขาใจ การ<br />

ใหความสําคัญ ระดับของการมีสวนรวม และปจจัยที่มีอิทธิพลหรือมีความสัมพันธตอการมีสวน<br />

รวมของประชาชน ซึ่งจะเปนแนวทางในการสงเสริมการมีสวนรวมตอไป<br />

2. ไดรับทราบทัศนคติและระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอสถาบันทางการเมือง<br />

ทั้งฝายบริหาร และองคกรที่ทําหนาที่ตรวจสอบตามรัฐธรรมนูญ<br />

3. ไดรับทราบแนวทางในการปรับปรุงการทํางานของรัฐบาล และผูทําหนาที่ในองคกร<br />

อิสระใหมีความสอดคลองกับความตองการของประชาชน<br />

4. ไดรับขอมูลเกี่ยวกับการมีสวนรวมทางการเมือง ความคิดเห็นตอการทําหนาที่ของ<br />

สถาบันทางการเมืองตางๆ เผยแพรตอประชาชน และผูสนใจ นําไปสูการสรางองคความรูดานการ<br />

12


เมืองการปกครองไทย และการพัฒนาระดับความเปนประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลของประเทศ<br />

ตอไป<br />

5. ไดทราบขอมูลเกี่ยวกับการมีสวนรวมทางการเมือง ความพึงพอใจตอการทํางานของ<br />

รัฐบาลและองคกรอิสระ วาเปนไปตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญหรือไม เพื่อจะนําไปสูการ<br />

ปรับปรุงแกไขรัฐธรรมนูญตอไป<br />

1.9 คณะผูวิจัย<br />

1. ดร.ถวิลวดี บุรีกุล หัวหนาโครงการและนักวิจัย<br />

2. รศ.ดร.พิชิต พิทักษเทพสมบัติ นักวิจัย<br />

3. นายเลขา วัลไพจิตร ผูชวยนักวิจัย<br />

4. นางสาวปทมา สูบกําบัง ผูชวยนักวิจัย<br />

5. นายสติธร ธนานิธิโชติ ผูชวยนักวิจัย<br />

13


บทที่ 2<br />

ทบทวนวรรณกรรม<br />

ดังที่ไดกลาวไวแลวในบทที่ผานมาวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540<br />

มุงสงเสริมและคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ใหประชาชนมีสวนรวมในการปกครอง และ<br />

ตรวจสอบการใชอํานาจรัฐเพิ่มขึ้น ตลอดทั้งปรับปรุงโครงสรางทางการเมืองใหมีเสถียรภาพและ<br />

ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยกําหนดใหมีการจัดตั้งองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญขึ้น เพื่อควบคุมใหมี<br />

การดําเนินการตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ ทั้งมีการแบงแยกอํานาจฝายบริหารออกจากนิติ<br />

บัญญัติอยางชัดเจน ตลอดจนทําใหรัฐบาลมีเสถียรภาพ กลาวคือมีเสียงขางมากที่จะทําใหสามารถ<br />

ทําตามนโยบายที่รัฐบาลแถลงตอสภาบรรลุผลได งานวิจัยนี้มุงศึกษาการมีสวนรวมในทางการเมือง<br />

ของประชาชนตอการทํางานของรัฐบาลและองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ โดยมีประชาชนเปน<br />

ศูนยกลางในการประเมิน ทั้งนี้ เปนสวนหนึ่งของการประเมินผลการปฏิบัติตามเจตนารมณของ<br />

รัฐธรรมนูญ ดังนั้น ในบทนี้ผูวิจัยไดทําการทบทวนเอกสารทางวิชาการที่มีความเกี่ยวของกับ<br />

การมีสวนรวมทางการเมือง และแนวคิดในการประเมินการทํางานของรัฐบาลและองคกรอิสระ<br />

ตามลําดับดังนี้<br />

(2.1) ขอกําหนดในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 เกี่ยวกับสิทธิและหนาที่<br />

ของประชาชนในการมีสวนรวมทางการเมืองและการเสียสิทธิตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ<br />

วาดวยการเลือกตั้ง<br />

(2.2) ความรูทั่วไปเกี่ยวกับโครงสรางทางการเมืองใหม ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร<br />

ไทย พ.ศ.2540 และการแปลงเจตนารมณไปสูการปฏิบัติในรอบ 5 ปที่ผานมา<br />

(2.3) แนวคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยและการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน<br />

(2.4) แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินการทํางานของรัฐบาล<br />

2.1. ขอกําหนดในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 เกี่ยวกับสิทธิและหนาที่ของ<br />

ประชาชนในการมีสวนรวมทางการเมือง ดังนี้<br />

ใหประชาชนมีสวนรวมในดานตางๆ ในทุกระดับตั้งแตรวมรับรู รวมคิด รวมตัดสินใจ<br />

รวมกระทําการและรับผล รวมตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ และรวมในกระบวนการนิติบัญญัติ ดังนี้<br />

(1) ประชาชนมีสิทธิไดรับทราบขอมูลหรือขาวสารสาธารณะในครอบครองของหนวย<br />

ราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น เวนแตการเปดเผยขอมูลนั้น<br />

14


จะกระทบตอความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชน หรือสวนไดเสียอันพึงไดรับความ<br />

1<br />

คุมครองของบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ<br />

(2) ประชาชนมีสิทธิไดรับรูขอมูล คําชี้แจง และเหตุผลจากหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ<br />

รัฐวิสาหกิจหรือราชการสวนทองถิ่น กอนการอนุญาตหรือการดําเนินโครงการ หรือกิจกรรมใด<br />

ที่อาจมีผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต หรือสวนไดเสียสําคัญอื่นใด<br />

ที่เกี่ยวกับตนหรือชุมชนทองถิ่น และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนในเรื่องดังกลาว ทั้งนี้ ตาม<br />

2<br />

กระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนที่กฎหมายบัญญัติ<br />

(3) ใหประชาชนมีสิทธิเขามีสวนรวมกับรัฐและชุมชนในการบํารุงรักษาและใชประโยชน<br />

จากทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุมครอง สงเสริม และรักษา<br />

3<br />

คุณภาพสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ<br />

(4) ใหบุคคลซึ่งรวมกันเปนชุมชนทองถิ่นดั้งเดิมมีสิทธิอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี<br />

ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปะหรือวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่นหรือของชาติ และมีสวนรวมในการจัดการ<br />

บํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมดุลและยั่งยืน<br />

4<br />

ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ<br />

(4) ใหประชาชนมีสวนรวมในกระบวนการพิจารณาของเจาหนาที่ของรัฐในการปฏิบัติ<br />

ราชการทางปกครองอันมีผลหรือาจมีผลกระทบตอสิทธิและเสรีภาพของตน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย<br />

5<br />

บัญญัติ<br />

(5) ใหประชาชนมีสวนรวมในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทั้งระดับชาติและระดับ<br />

ทองถิ่น โดยที่กําหนดใหประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้ง 50,000 คน เขาชื่อรวมเสนอใหถอดถอน<br />

นักการเมืองและขาราชการระดับสูง รวมทั้งกรรมการองคกรอิสระ 6 และใหประชาชนผูมีสิทธิ<br />

เลือกตั้งในองคกรปกครองสวน ทองถิ่น จํานวนไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้ง<br />

ที่มาลงคะแนนเสียงสามารถลงคะแนนเสียงใหสมาชิกสภาทองถิ่นและผูบริหารทองถิ่นพนจาก<br />

7<br />

ตําแหนงได ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ<br />

1<br />

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 58<br />

2<br />

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 59<br />

3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 56<br />

4 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 46<br />

5 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 60<br />

6 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 304<br />

7 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 286<br />

15


(6) ใหประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้ง 50,000 คน เขาชื่อรวมกันเสนอรางกฎหมาย 8 และผูมี<br />

สิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นจํานวนไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้ง<br />

ในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานสภาทองถิ่นใหออกขอบัญญัติ<br />

9<br />

ทองถิ่นได<br />

(7) ผูเสียหายจากการกระทําความผิดของนักการเมืองหรือขาราชการการเมืองมีสิทธิยื่น<br />

คํารองตอคณะกรรมการ ป.ป.ช.ใหดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงและสงเรื่องใหศาลฎีกาแผนก<br />

10<br />

คดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองพิจารณาพิพากษาได<br />

ในการนี้ รัฐธรรมนูญไดกําหนดใหรัฐสงเสริมและสนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวม<br />

ในการกําหนดนโยบาย การตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง<br />

รวมทั้งการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับ 11 สงเสริมและสนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวม<br />

ในการคุมครอง บํารุงรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 12 และเสริม<br />

สรางและพัฒนาความเขมแข็งของชุมชน 13<br />

2.2 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับโครงสรางทางการเมืองใหม ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.<br />

2540 และการแปลงเจตนารมณไปสูการปฏิบัติในรอบ 5 ปที่ผานมา<br />

(2.2.1) ความรูทั่วไปเกี่ยวกับโครงสรางทางการเมืองใหม ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณา<br />

จักรไทย พ.ศ.2540<br />

ระบบการเมืองการปกครองในแตละประเทศอาจมีความแตกตางกันในรายละเอียด อัน<br />

เนื่องมาจากเหตุผลทางประวัติศาสตร สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของ<br />

ประเทศเหลานั้น รวมไปถึงสถานการณทางการเมืองที่ผันแปรของสังคมโลก แตโดยทั่วไป (โดย<br />

เฉพาะในวงวิชาการรัฐศาสตร) ตางยอมรับกันวามีระบบการปกครองประเทศที่เปนแมแบบหลักอยู<br />

สองระบบ (Dickerson and Flanagan, 1998: 265) กลาวคือ ระบบรัฐสภา (Parliamentary Systems)<br />

และระบบประธานาธิบดี (Presidential Systems)<br />

อยางไรก็ตาม ไมวาจะเปนระบบการเมืองการปกครองแบบใดก็มักจะมีการแบงการใช<br />

อํานาจ (Separation of Power) ออกเปนสามทาง คือ (1) อํานาจนิติบัญญัติ (Legislative) หรืออํานาจ<br />

8 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 170<br />

9 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 286<br />

10 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 309<br />

11<br />

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 76<br />

12 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 79<br />

13 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 80<br />

16


ในการบัญญัติกฎหมายเพื่อใชในการปกครองประเทศ (2) อํานาจบริหาร (Executive) ซึ่งหมายถึง<br />

การใชอํานาจในการปกครองประเทศและการบังคับใหเปนไปตามกฎหมาย และ (3) อํานาจตุลาการ<br />

(Judicial) ไดแก อํานาจในการจัดการกับความขัดแยงที่เกิดขึ้นจากการที่สมาชิกในสังคมไมเคารพ<br />

เชื่อฟงกฎหมาย และรวมไปถึงบางครั้งที่กฎหมายถูกเขาใจแตกตางกันดวย<br />

ในการใชอํานาจทั้งสามทางนั้นจะเปนการใชอํานาจผานสถาบันทางการเมืองที่สําคัญ อาทิ<br />

การใชอํานาจนิติบัญญัติผานทางรัฐสภา อํานาจบริหารผานทางประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรีและ<br />

คณะรัฐมนตรี และอํานาจตุลาการผานศาล ซึ่งมีลักษณะเฉพาะแตกตางกันไปตามระบบการเมือง<br />

อยางไรก็ตาม แมวาอํานาจทั้งสามจะถูกแบงแยกการใชไมกาวกายกัน แตในระบบการเมืองที่เปน<br />

ประชาธิปไตยการใชอํานาจเหลานี้จะมีการถวงดุลกัน หรือที่เรียกวา Check and Balance เสมอ<br />

เพื่อมิใหการใชอํานาจมีความเหลื่อมล้ํามากเกินไปจนอาจกอความไมเปนธรรมขึ้นได<br />

สําหรับประเทศไทยนั้นไดนําระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยระบบรัฐสภามาใช<br />

โดยแบงการใชอํานาจอธิปไตยเปนสามทางผานรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล เชนเดียวกับนานา<br />

ประเทศที่ยึดมั่นในระบบเดียวกัน ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันก็ยังคงหลักการดังกลาวไว โดยที่ได<br />

กําหนดมาตรการเพื่อแกไขปญหาในอดีต เชน กําหนดใหมีองคกรอิสระเพื่อทําหนาที่ตรวจสอบ<br />

การใชอํานาจรัฐเพิ่มขึ้นอีกหลายองคกร ในลําดับตอไปนี้จะไดทบทวนแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับ<br />

สถาบันทางการเมืองเหลานี้ รวมถึงบทบาทและอํานาจหนาที่ตามรัฐธรรมนูญของสถาบันทาง<br />

การเมืองตางๆ เพื่อเปนกรอบแนวคิดสําหรับการศึกษาวิจัย และการจัดทําแบบสอบถามเพื่อวัด<br />

ระดับความรูความเขาใจเกี่ยวกับสถาบันทางการเมืองที่สําคัญ รวมไปถึงการสอบถามระดับความ<br />

พึงพอใจที่มีตอการทําหนาที่ ตลอดระยะเวลาที่ผานมานับจากประกาศใชรัฐธรรมนูญ ความเชื่อมั่น<br />

และความคาดหวังที่มีตอสถาบันเหลานี้ในการใชอํานาจทางการเมืองแทนปวงชน<br />

รัฐสภา<br />

ในประเทศที่ปกครองดวยระบอบประชาธิปไตยซึ่งยอมรับระบบการเลือกตัวแทน<br />

(Representative System) เพื่อคัดสรรบุคคลเขาสูระบบการเมือง “รัฐสภา” ถือวามีความสําคัญมาก<br />

เนื่องจากรัฐสภาคือสถาบันการปกครองของประเทศ ซึ่งทําหนาที่ในการบัญญัติกฎหมายเพื่อนํามา<br />

ใชในการปกครองประเทศและมีอํานาจหนาที่ในการควบคุมการบริหารราชการแผนดิน หรือ<br />

รัฐบาลใหเปนไปตามนโยบายที่รัฐบาลไดแถลงไวกับสภา (นรนิติ, 2544: 101) ดังนั้น รัฐสภาจึงเปน<br />

เสมือนสัญลักษณของการแสดงออกซึ่งเจตจํานงของคนสวนใหญ เปนศูนยรวมของบรรดาตัวแทน<br />

ของประชาชนที่เขามาทําหนาที่ทางการเมือง และมีความสําคัญอยางยิ่งตอการเมืองการปกครอง<br />

แบบประชาธิปไตย<br />

โดยเฉพาะในการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ความสําคัญของรัฐสภาจะยิ่ง<br />

มีมาก โดยรัฐสภาเปนผูเลือกนายกรัฐมนตรีซึ่งเปนผูนําสูงสุดของฝายบริหาร เพื่อไปจัดตั้งรัฐบาล<br />

ซึ่งจะตองแถลงนโยบายตอสภาและรับผิดชอบในการปฏิบัติใหเปนไปตามนโยบายที่แถลงนั้นดวย<br />

17


(Ball and Peter, 2000: 176) ดังนั้น การเลือกตัวแทนประชาชนในระบบรัฐสภาจึงเปนทั้ง<br />

การเลือกตัวแทนเขาไปทําหนาที่นิติบัญญัติและทําหนาที่บริหารดวยในขณะเดียวกัน<br />

โครงสรางของรัฐสภา<br />

การจัดโครงสรางของรัฐสภาที่ใชโดยทั่วไปในประเทศประชาธิปไตยนั้นมีอยูดวยกันสอง<br />

รูปแบบ คือ รูปแบบสภาเดี่ยว (Unicameral Parliament) หรือรูปแบบสองสภา (Bicameral<br />

Parliament)<br />

รูปแบบสภาเดี่ยว คือมีสภาที่ทําหนาที่นิติบัญญัติสภาเดียวนั้น ในตางประเทศถือวาเปนรูป<br />

แบบของประชาธิปไตยแบบซายจัด ดังที่ปรากฏในฝรั่งเศสสมัยกอนและในสหรัฐอเมริกาสมัยที่มี<br />

การรางรัฐธรรมนูญขึ้นใหมๆ ภายใตแนวความคิดที่ยึดหลักของความเสมอภาคที่ประชาชนมีสิทธิ<br />

เลือกตั้งผูแทนเพียงคนเดียวเหมือนกันหมด<br />

ในกรณีของประเทศไทยที่ผานมาเคยมีการใชรูปแบบรัฐสภาทั้งสองแบบ โดยรูปแบบสภา<br />

เดี่ยวนั้นมักจะถูกใชในยามที่บานเมืองมีการเปลี่ยนแปลงจากการเกิดเหตุการณทางการเมืองสําคัญๆ<br />

เชน การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 เกิดรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวขึ้นกําหนดใหมีสภานิติ<br />

บัญญัติเปนสภาแตงตั้ง ประกอบดวยสมาชิกคณะราษฎร และเมื่อมีรัฐธรรมนูญฉบับถาวรเมื่อวันที่<br />

10 ธันวาคม พ.ศ.2475 ก็ยังคงรูปแบบสภาเดี่ยวไวโดยกําหนดใหประกอบดวยสมาชิกสองประเภท<br />

คือ ประเภทแตงตั้งและประเภทเลือกตั้ง<br />

นอกจากนี้ ภายหลังเหตุการณรัฐประหารยึดอํานาจบริหารโดยกองทัพในอดีต การบัญญัติ<br />

รัฐธรรมนูญหรือที่เรียกวา “ธรรมนูญการปกครอง” ขึ้นใช มักจะกําหนดใหมีสภานิติบัญญัติเพียง<br />

สภาเดียวโดยเรียกชื่อแตกตางกัน เชน ธรรมนูญการปกครอง พ.ศ.2520 เรียก “สภารางรัฐธรรมนูญ”<br />

ธรรมนูญการปกครอง พ.ศ.2515 ธรรมนูญการปกครอง พ.ศ.2520 และธรรมนูญการปกครอง พ.ศ.<br />

2534 เรียก “สภานิติบัญญัติแหงชาติ” เปนตน<br />

รูปแบบสภาคู หรือการมีสองสภาทําหนาที่นิติบัญญัตินั้นโดยทั่วไปรูปแบบสองสภาจะ<br />

ประกอบดวยสภาผูแทนราษฎรกับวุฒิสภา ในประเทศที่มีพัฒนาการของระบอบประชาธิปไตยยาว<br />

นานเชนอังกฤษ การมีระบบสองสภานั้นก็เพื่อเปนการประนีประนอมทางการเมืองระหวางพลัง<br />

มวลชนกับอิทธิพลของกลุมอํานาจเกา ไดแก ฝายขุนนาง และชนชั้นผูมั่งคั่ง สวนในสหรัฐอเมริกา<br />

และเยอรมันวุฒิสภาหรือสภาสูงถือเปนผูแทนของมลรัฐเพื่อเขาไปทําหนาที่ในรัฐสภา นอกจากนี้<br />

สําหรับประเทศที่ประชาธิปไตยยังพัฒนาไปไดไมไกลนั้น แนวคิดเกี่ยวกับการมีสองสภานั้นเปนไป<br />

เพื่อใหมีสภาที่ทําหนาที่นิติบัญญัติอีกสภาหนึ่งเปนสภาพี่เลี้ยงในกระบวนการกลั่นกรองกฎหมาย<br />

ใหมีความรอบคอบและปองกันการใชอิทธิพลในทางมิชอบจากฝายที่คุมเสียงขางมากในสภา<br />

สําหรับประเทศไทย ระบบรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญที่ยอมรับหลักการประชาธิปไตยเทาที่<br />

ผานมามักเลือกใชรูปแบบสภาคู เพื่อใหประชาชนสามารถมีสวนรวมทางการเมืองโดยการเลือกตั้ง<br />

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรของตน พรอมไปกับการมีวุฒิสภาอีกหนึ่งสภาเปนสภาถวงดุล อยางไร<br />

18


ก็ตาม ที่มาของวุฒิสภาไทยยังมิอาจกลาวไดวาเปนประชาธิปไตยที่สมบูรณได เนื่องจากวุฒิสภาไทย<br />

กอนการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันลวนมีที่มาจากการแตงตั้งแทบทั้งสิ้น กลาวคือ มีเพียง<br />

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 ฉบับเดียวที่วุฒิสภาหรือที่เรียกตาม<br />

รัฐธรรมนูญฉบับดังกลาววา “พฤฒิสภา” เทานั้นที่มาจากการเลือกตั้งทางออม<br />

อยางไรก็ตาม รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันไดมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะของรัฐสภา โดยยังคง<br />

รูปแบบสภาคูไว แตกําหนดใหที่มาของสมาชิกรัฐสภาตองมาจากการเลือกตั้งของประชาชนทั้งสอง<br />

สภา กลาวคือ ประชาชนมีสิทธิในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรโดยตรงจากผูสมัครรับ<br />

เลือกตั้งในเขตเลือกตั้งของตน พรอมไปกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจากบัญชีรายชื่อ<br />

พรรคการเมือง นอกจากนี้ นับเปนครั้งแรกที่รัฐธรรมนูญบัญญัติใหประชาชนมีสิทธิเลือกตั้งสมาชิก<br />

วุฒิสภาโดยตรงอีกทางหนึ่งดวย จึงอาจสรุปไดวาโครงสรางของรัฐสภาไทยตามรัฐธรรมนูญฉบับ<br />

ปจจุบันประกอบไปดวยสองสภาโดยมีที่มาและองคประกอบที่แตกตางกันดังนี้<br />

1. สภาผูแทนราษฎร<br />

สภาผูแทนราษฎรของไทยตามรัฐธรรมนูญปจจุบันประกอบดวยสมาชิกจํานวน 500 คน<br />

(มาตรา 98 วรรค 1)โดยเปนสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อจํานวน 100 คน (มาตรา<br />

99) และสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้ง จํานวน 400 คน (มาตรา 102) มีอํานาจ<br />

หนาที่ในการตรากฎหมายและใหความเห็นชอบพระราชกําหนด การควบคุมการบริหารราชการ<br />

แผนดิน การกําหนดระเบียบวิธีการประชุม และหนาที่ที่กําหนดใหกระทํารวมกับวุฒิสภา<br />

คุณสมบัติของผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (มาตรา 107)<br />

(1) มีสัญชาติไทย โดยการเกิด<br />

(2) มีอายุไมต่ํากวายี่สิบหาปบริบูรณในวันเลือกตั้ง<br />

(3) สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทา เวนแตเคยเปนสมาชิกสภาผูแทน<br />

ราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา<br />

(4) เปนสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งแตเพียงพรรคเดียว นับถึงวันสมัคร<br />

รับเลือกตั้งเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวา 90 วัน<br />

(5) ผูสมัครรับเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งตองมีลักษณะอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ดวย<br />

คือ<br />

(ก) มีชื่ออยูในทะเบียนบานในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งมาแลวเปนเวลาติดตอกัน<br />

ไมนอยกวาหนึ่งป นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง<br />

(ข) เคยเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้ง หรือเคยเปนสมาชิก<br />

สภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นในจังหวัดนั้น<br />

(ค) เปนบุคคลซึ่งเกิดในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้ง<br />

19


(ง) เคยศึกษาในสถานศึกษาที่ตั้งอยูในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งเปนเวลาติดตอกัน<br />

ไมนอยกวาสองปการศึกษา<br />

(จ) เคยรับราชการหรือเคยมีชื่ออยูในทะเบียนบานในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งเปน<br />

เวลาติดตอกัน ไมนอยกวาสองป<br />

วาระการดํารงตําแหนง<br />

รัฐธรรมนูญกําหนดอายุของสภาผูแทนราษฎรไวคราวละ 4 ป นับแตวันเลือกตั้ง 14 เมื่ออายุ<br />

ของสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลง จะตองกําหนดใหมีการเลือกตั้งทั่วไปภายใน 45 วัน 15 กรณีมีการ<br />

ยุบสภาผูแทนราษฎรกําหนดใหมีการเลือกตั้งทั่วไปภายใน 60 วัน 16<br />

นอกจากนี้ อาจมีกรณีที่ตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรวางลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึง<br />

คราวออกตามอายุของสภาผูแทนราษฎรหรือเมื่อมีการยุบสภาผูแทนราษฎร ซึ่งตามรัฐธรรมนูญ<br />

มาตรา 118 บัญญัติถึงการสิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไวรวม 12 กรณี กลาวคือ<br />

(1) ถึงคราวออกตามอายุของสภาผูแทนราษฎร หรือมีการยุบสภาผูแทนราษฎร<br />

(2) ตาย<br />

(3) ลาออก<br />

(4) ขาดคุณสมบัติของผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตามมาตรา<br />

107<br />

(5) มีลักษณะตองหามมิใหใชสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตาม<br />

มาตรา 109 ยกเวน (4)<br />

(6) กระทําการอันตองหามตามมาตรา 110 หรือ มาตรา 111<br />

(7) ไดรับแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี โดยใหมีผลในวันถัดจากวันที่ครบ30 วัน<br />

นับแตวันที่มีพระบรมราชโองการแตงตั้ง<br />

(8) ลาออกจากพรรคการเมืองที่ตนเปนสมาชิกหรือพรรคการเมืองที่ตนเปนสมาชิกมีมติให<br />

พนจากการเปนสมาชิกของพรรค<br />

(9) ขาดจากการเปนสมาชิกของพรรคการเมืองในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคําสั่งยุบพรรค<br />

การเมือง และไมสามารถเขาเปนสมาชิกของพรรคการเมืองอื่นไดภายใน 60 วัน<br />

(10) วุฒิสภามีมติใหถอดถอนออกจากตําแหนงตามมาตรา 307 หรือรัฐธรรมนูญ<br />

มีคําวินิจฉัยใหพนจากสมาชิกภาพตามมาตรา 96<br />

14 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 114<br />

15 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 115<br />

16 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 116 วรรคสอง<br />

20


(11) ขาดประชุมเกินจํานวน 1 ใน 4 ของจํานวนวันประชุมโดยไมไดรับอนุญาต<br />

จากประธานสภาผูแทนราษฎร<br />

(12) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตความผิดอันไดกระทําโดยประมาท<br />

หรือความผิดลหุโทษ<br />

สวนการดําเนินการภายหลังการมีตําแหนงวางนั้น รัฐธรรมนูญวางหลักการไวโดยพิจารณา<br />

จากประเภทของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร โดยหากเปนกรณีตามมาตรา 119 (1) กลาวคือในกรณีที่<br />

ตําแหนงวางเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในบัญชีรายชื่อพรรคการเมืองใด ใหประธานสภาผูแทน<br />

ราษฎรประกาศในราชกิจจานุเบกษาภายใน 7 วันนับแตวันที่ตําแหนงวางลง ใหผูมีชื่ออยูในบัญชี<br />

รายชื่อของพรรคการเมืองนั้นในลําดับถัดไป เลื่อนขึ้นมาเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแทน โดย<br />

สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูแทนตําแหนงที่วาง ใหเริ่มตั้งแตวันถัดจากวันที่ไดรับ<br />

การประกาศชื่อ<br />

หากเปนกรณีตําแหนงวางของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขต<br />

เลือกตั้ง รัฐธรรมนูญมาตรา 119 (2) กําหนดใหมีการเลือกตั้งขึ้นแทนภายใน 45 วันนับแตวันที่<br />

ตําแหนงวาง เวนแตอายุของสภาผูแทนราษฎรจะเหลือไมถึง 180 วัน ทั้งนี้ ใหสมาชิกภาพของ<br />

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่เขามาแทนตําแหนงที่วาง ใหอยูในตําแหนงไดเทาอายุของสภาผูแทน<br />

ราษฎรที่เหลืออยู<br />

2. วุฒิสภา<br />

ตามรัฐธรรมนูญปจจุบัน วุฒิสภาประกอบดวยสมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้งจํานวนคงตัวคือ<br />

200 คนทั้งประเทศ 17 เพื่อทําหนาที่นิติบัญญัติ และตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ ตลอดจนการพิจารณา<br />

เรื่องตาง ๆ ตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ<br />

คุณสมบัติของผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกวุฒิสภา 18<br />

(1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด<br />

(2) มีอายุไมต่ํากวา 40 ปบริบูรณในวันเลือกตั้ง<br />

(3) สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทา<br />

(4) มีลักษณะอยางใดอยางหนึ่งตามมาตรา 107 (5) กลาวคือ<br />

(ก) มีชื่ออยูในทะเบียนบานในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งมาแลวเปนเวลาติดตอกันไมนอย<br />

กวา 1 ป นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง<br />

17 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 121<br />

18 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 125<br />

21


(ข) เคยเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งหรือเคยเปนสมาชิก<br />

สภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นในจังหวัดนั้น<br />

(ค) เปนบุคคลที่เกิดในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้ง<br />

(ง) เคยศึกษาในสถานศึกษาที่ตั้งอยูในจังหวัดที่สมัครเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวาสองป<br />

การศึกษา<br />

(จ) เคยรับราชการหรือเคยมีชื่ออยูในทะเบียนในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งติดตอกันไม<br />

นอยกวา 2 ป<br />

วาระการดํารงตําแหนง<br />

อายุของสมาชิกวุฒิสภามีกําหนดเวลาคราวละ 6 ป นับแตวันเลือกตั้ง 19 และสมาชิกภาพ<br />

ของสมาชิกวุฒิสภาสิ้นสุดลงเมื่อ<br />

(1) ถึงคราวออกตามอายุของวุฒิสภา<br />

(2) ตาย<br />

(3) ลาออก<br />

(4) ขาดคุณสมบัติของผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกวุฒิสภา<br />

(5) มีลักษณะตองหามมิใหใชสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกวุฒิสภา<br />

(6) ไดรับแตงตั้งเปนรัฐมนตรีหรือขาราชการการเมือง<br />

(7) กระทําการอันตองหามตามมาตรา 128<br />

(8) วุฒิสภามีมติถอดถอนออกจากตําแหนงหรือศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัยตามมาตรา 307<br />

ใหพนจากสมาชิกภาพตามมาตรา 96 ในกรณีเชนนี้ใหถือวาสิ้นสุดสมาชิกภาพนับแตวันที่วุฒิสภา<br />

มีมติหรือศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัยแลวแตกรณี<br />

(9) ขาดประชุมเกินจํานวน 1 ใน 4 ของจํานวนวันประชุมในสมัยประชุมที่มีกําหนดเวลาไม<br />

นอยกวา 120 วัน โดยไมไดรับอนุญาตจากประธานวุฒิสภา<br />

(10) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตในความผิดอันไดกระทําโดยประมาท<br />

หรือความผิดลหุโทษ (มาตรา 133)<br />

ทั้งนี้ เมื่ออายุของวุฒิสภาสิ้นสุดลงตามวาระการดํารงตําแหนง จะตองกําหนดใหมีการ<br />

เลือกตั้งทั่วไป ภายใน 30 วันนับแตวันที่อายุของวุฒิสภาสิ้นสุดลง (มาตรา 131) แตหากเปนกรณีเมื่อ<br />

ตําแหนงสมาชิกวุฒิสภาวางลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามอายุของวุฒิสภาใหมีการ<br />

เลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาขึ้นแทนภายใน 45 วัน นับแตวันที่ตําแหนงนั้นวางลง เวนแตอายุของวุฒิสภา<br />

จะเหลือไมถึง 180 วัน (มาตรา 134 วรรค 1) โดยสมาชิกวุฒิสภาผูเขามาแทนนั้นใหอยูในตําแหนง<br />

ไดเพียงเทาอายุของวุฒิสภาที่เหลืออยู (มาตรา 134 วรรค 2)<br />

19 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 130<br />

22


อํานาจหนาที่ของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540<br />

ดังที่ไดกลาวไปแลววารัฐสภาไทยตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช<br />

2540 ประกอบดวยสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา โดยทั้งสองสภามาจากการเลือกตั้งของประชาชน<br />

ซึ่งอาจมีความแตกตางกันไปในเรื่องวิธีการและองคประกอบ รวมทั้งการแบงแยกการทําหนาที่และ<br />

แสดงบทบาท อยางไรก็ตาม รัฐธรรมนูญไดวางหลักเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของรัฐสภาไทยไวโดยยึด<br />

ตามแนวทางที่ใชกันในประเทศประชาธิปไตยทั่วไป ซึ่งอาจสรุปและแบงไดเปน 3 อํานาจหนาที่<br />

หลักดวยกัน กลาวคือ<br />

1. อํานาจหนาที่ในการตรากฎหมาย<br />

2. อํานาจหนาที่ในการควบคุมบริหารราชการแผนดิน<br />

3. อํานาจหนาที่ในการใหความเห็นชอบ<br />

1. อํานาจหนาที่ในการตรากฎหมาย<br />

อํานาจหนาที่ในการตรากฎหมายหรือการออกกฎหมายเพื่อบังคับใช ถือเปนอํานาจหนาที่<br />

หลักของรัฐสภา ซึ่งในทางการเมืองการปกครองนั้น กฎหมายนับเปนสิ่งที่สําคัญและจําเปนอยางยิ่ง<br />

สําหรับใชในการบริหารและการปกครองประเทศ เพื่อเปนการจัดระเบียบเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพ<br />

ความเสมอภาค และความเปนธรรมใหเกิดขึ้นในสังคม ดังนั้นในการตรากฎหมายแตละฉบับเพื่อใช<br />

บังคับจะ ตองเปนไปเพื่อประโยชนสุขสวนรวมของประชาชนเปนหลัก โดยมุงคุมครองสิทธิและ<br />

ผลประโยชนของประชาชนอยางทั่วถึงและเปนธรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งคําวา "กฎหมาย"<br />

ตามอํานาจหนาที่ของรัฐสภานี้เปนการใชในความหมายที่กวางครอบคลุมกฎหมายทั้งระดับ<br />

รัฐธรรมนูญ ประมวลกฎหมาย พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด เปนตน รัฐสภาซึ่งมีที่มาจาก<br />

ประชาชนจึงถือเปนตัวแทนการใชอํานาจโดยทําหนาที่นําเจตนารมณของประชาชนมาปฏิบัติให<br />

เกิดผลอยางแทจริง<br />

รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันตระหนักในความสําคัญขอนี้ จึงไดวางหลักการที่จะทําใหสมาชิก<br />

รัฐสภาโดยสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเสนอกฎหมายไดงายขึ้น 20 และเสนอแกรัฐธรรมนูญไดงายขึ้น<br />

(มาตรา 313) นอกจากนี้ กฎหมายที่รัฐสภาพิจารณาไมเสร็จแลวยุบสภาหรือสภาสิ้นอายุจะไมตกไป<br />

โดยปริยายอีกตอไป หากคณะรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกตั้งทั่วไปขอให รัฐสภาพิจารณาตอไป<br />

ภายใน 60 วันนับแตวันเรียกประชุมสภาและรัฐสภาเห็นชอบดวย (มาตรา 178) อันทําใหการ<br />

พิจารณากฎหมายรวดเร็วทันการณขึ้น เพื่อใหกฎหมายไมคั่งคางมากดังในอดีต และตองเริ่มเสนอ<br />

ใหมอันทําใหสิ้นเปลืองทั้งเวลาและเงินทองมหาศาล (บวรศักดิ์, 2541 : 78)<br />

20 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 169<br />

23


2. อํานาจหนาที่ในการควบคุมการบริหารราชการแผนดิน<br />

กระบวนการควบคุมการบริหารราชการแผนดินถือไดวาเปนหลักการที่สําคัญอยางยิ่งใน<br />

ระบบรัฐสภาซึ่งรัฐธรรมนูญสวนใหญจะกําหนดสัมพันธภาพ ระหวางอํานาจนิติบัญญัติและอํานาจ<br />

บริหารไว แตละอํานาจตางมีความเชื่อมโยงและมีการถวงดุลยแหงอํานาจซึ่งกันและกัน โดยฝาย<br />

บริหารมีอํานาจที่จะยุบสภาผูแทนราษฎรเพื่อใหมีการ เลือกตั้งทั่วไปขึ้นใหม และในขณะเดียวกัน<br />

ฝายนิติบัญญัติมีอํานาจในการควบคุมการบริหารราชการแผนดิน โดยบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ<br />

ซึ่งมีวิธีการตางๆ โดยเฉพาะการตั้งกระทูถาม และการเปดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไมไววางใจ<br />

รัฐมนตรีเปนรายบุคคลหรือทั้งคณะ (http://www.parliament.go.th)<br />

รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันเองก็ไดบัญญัติถึงความเชื่อมโยงดังกลาวไว อีกทั้งยังไดเพิ่มหลัก<br />

การที่ทําใหการถวงดุลยอํานาจระหวางฝายนิติบัญญัติกับฝายบริหารมีประสิทธิภาพมากขึ้น ไดแก<br />

การบัญญัติใหสมาชิกรัฐสภาหากไปดํารงตําแหนงรัฐมนตรีจะตองหมดสมาชิกภาพ เพื่อใหสมาชิก<br />

รัฐสภาทําหนาที่ฝายนิติบัญญัติเพียงอยางเดียว มิใชการมีสองสถานะคือเปนทั้งสมาชิกรัฐสภา<br />

ผูอํานาจหนาที่ในการควบคุมการบริหารราชการแผนดิน และเปนรัฐมนตรีมีอํานาจหนาที่ใน<br />

ฝายบริหาร จนเขาลักษณะการควบคุมการใชอํานาจของตนเอง นอกจากนี้ ระบบรัฐสภายังถูก<br />

ออกแบบใหมีเสถียรภาพมากขึ้น โดยการบัญญัติหามฝายบริหารโดยนายกรัฐมนตรียุบสภาระหวาง<br />

ที่มีการยื่นญัตติไมไววางใจแลว (มาตรา 185 วรรคหนึ่ง) เพื่อมิใหฝายบริหารหลุดพนจากการ<br />

ควบคุมตรวจสอบโดยฝายสภา<br />

3. อํานาจหนาที่ในการใหความเห็นชอบ<br />

รัฐธรรมนูญที่ผานมาของไทย โดยทั่วไปจะไดบัญญัติใหรัฐสภามีอํานาจหนาที่ในการให<br />

ความเห็นชอบในเรื่องที่มีความสําคัญตางๆ ไว เชนเดียวกับในรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันไดบัญญัติ<br />

ใหรัฐสภามีอํานาจหนาที่ในการใหความเห็นชอบ อาทิ ในการแตงตั้งผูสําเร็จราชการแทนพระองค<br />

ตามมาตรา 19 การประกาศสงคราม ตามมาตรา 223 การทําหนังสือสัญญาตามมาตรา 224 เปนตน<br />

นอกจากนี้ รัฐสภาโดยวุฒิสภายังมีอํานาจหนาที่ในการใหความเห็นชอบในการแตงตั้งบุคคลดํารง<br />

ตําแหนงตางๆ ตามรัฐธรรมนูญ ไดแก เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต<br />

แหงชาติดวย<br />

กลาวโดยสรุป รัฐสภาไทยในปจจุบันเปนสถาบันทางการเมืองทําหนาที่นิติบัญญัติ อันได<br />

แกการบัญญัติกฎหมาย การควบคุมการทํางานของฝายบริหาร และการใหความเห็นชอบในเรื่อง<br />

สําคัญตางๆ ประกอบดวยสมาชิกรวม 700 คนจากสองสภา แบงเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรสอง<br />

ประเภท คือ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบแบงเขต 400 คนและสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจากระบบ<br />

บัญชีรายชื่อพรรคการเมือง 100 คน รวม 500 คน และวุฒิสภาจํานวน 200 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง<br />

โดยตรงของประชาชน ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวารัฐสภาไทยในเชิงโครงสรางหนาที่ถือเปนสถาบัน<br />

24


ของการแสดงออกซึ่งเจตจํานงของคนสวนใหญ และเปนศูนยรวมของบรรดาตัวแทนของประชาชน<br />

ที่เขามาทําหนาที่ทางการเมืองอยางแทจริง<br />

รัฐบาล<br />

คําวา “รัฐบาล” มีความหมายทั้งในมุมมองอยางแคบและกวาง กลาวคือ โดยทั่วไปเมื่อพูด<br />

ถึงรัฐบาลคนสวนใหญจะนึกถึงคณะรัฐมนตรีซึ่งประกอบไปดวยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี<br />

อีกจํานวนหนึ่ง ซึ่งเปนมุมมองอยางแคบ แตสําหรับการปกครองระบอบประชาธิปไตยแลว รัฐบาล<br />

หรืออาจเรียกใหเขาใจไดงายกวาวา “ฝายบริหาร” นั้น จะครอบคลุมถึงประมุขของประเทศ และฝาย<br />

ปฏิบัติการคือระบบราชการดวย<br />

ในระบอบการปกครองของอังกฤษ ฝายบริหารมีองคประกอบสามสวน ซึ่งสัมพันธกันและ<br />

ในบางลักษณะคาบเกี่ยวกัน ไดแก พระมหากษัตริยหรือสวนที่เปนพิธีการ คณะรัฐมนตรีหรือสวนที่<br />

เปนการเมือง และขาราชการหรือสวนที่ปฏิบัติหนาที่ ซึ่งสองสวนหลังนี้จะประกอบขึ้นเปน<br />

กระทรวงตางๆ ของรัฐบาล (Punnett, 1968: 217) เชนเดียวกันกับรูปแบบที่ปรากฏในระบบการ<br />

เมืองการปกครองไทย อยางไรก็ตาม ในการวิจัยครั้งนี้จะมุงทําการศึกษาเฉพาะสวนการเมืองคือ<br />

นายกรัฐมนตรีและคณะ เกี่ยวกับความรูความเขาใจ ความพึงพอใจ และความคาดหวังที่มีตอบทบาท<br />

อํานาจหนาที่ และนโยบายที่ผานมา รวมกับสวนปฏิบัติการอันไดแกกระทรวงตางๆ ในแงของความ<br />

พอใจตอการทํางาน ตอไปนี้จะไดสรุปเกี่ยวกับที่มา องคประกอบ และอํานาจหนาที่ของคณะ<br />

รัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญ (2540) ตลอดจนนโยบายของรัฐบาลปจจุบันไวพอสังเขปซึ่งเปนกรอบ<br />

แนวคิดในการจัดทําแบบสอบถามสําหรับเก็บขอมูลวิจัยซึ่งจะไดกลาวในบทถัดไป<br />

คณะรัฐมนตรี<br />

คณะรัฐมนตรี คือ องคกรผูใชอํานาจอธิปไตยในทางบริหารที่มีหนาที่ในการปกครอง<br />

ประเทศและบังคับการใหเปนไปตามกฎหมาย (นรนิติ, 2544 : 40) ในการจัดตั้งคณะรัฐมนตรีขึ้นมา<br />

คณะหนึ่งนั้นนับเปนสิ่งที่มีความสําคัญมากสําหรับนายกรัฐมนตรีในการบริหารประเทศ สิ่งที่ตอง<br />

ครุนคิดเปนพิเศษประการหนึ่งก็คือการสรางดุลยภาพใหกับความเปนตัวแทนที่แตกตางหลากหลาย<br />

ของรัฐมนตรีแตละคน โดยเฉพาะในกรณีที่จะตองจัดตั้งรัฐบาลผสม (Coalition Government) ขึ้น<br />

การจัดสรรสวนรวมทางการบริหารระหวางพรรคการเมืองตางๆ ในรัฐบาลนับเปนปจจัยสําคัญที่มี<br />

ผลตอเสถียรภาพของรัฐบาล (Ball and Peter, 2000: 214) ดังนั้นในเรื่องจํานวนและองคประกอบ<br />

ของบุคคลที่จะรวมเขาเปนคณะรัฐมนตรีจึงเปนสิ่งที่ตองใหความสําคัญดวย<br />

รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันทําการปรับคณะรัฐมนตรีใหมีขนาดกะทัดรัดมากขึ้น ดวยการ<br />

กําหนดจํานวนคณะรัฐมนตรีไวไมเกิน 36 คน ประกอบไปดวย นายกรัฐมนตรี 1 คน และรัฐมนตรี<br />

อื่นอีกไมเกิน 35 คน (มาตรา 201) โดยนายกรัฐมนตรีตองแตงตั้งจากสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือ<br />

ผูเคยเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแตพนจากสมาชิกภาพตามมาตรา 118 (7) ในอายุของสภาผูแทน<br />

25


ราษฎรชุดเดียวกัน (มาตรา 201 วรรค 2) สวนรัฐมนตรีไมจําเปนตองแตงตั้งจากสมาชิกสภาผูแทน<br />

ราษฎรก็ได ทั้งนี้จะตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา 206 ดังตอไปนี้<br />

(1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด<br />

(2) มีอายุไมต่ํากวา 35 ปบริบูรณ<br />

(3) สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา<br />

(4) ไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา 109 (1) (2) (3) (4) (6) (7) (12) (13) หรือ (14)<br />

(5) ไมเคยตองคําพิพากษาใหจําคุกตั้งแตสองปขึ้นไป โดยไดพนโทษมายังไมถึงหาปกอน<br />

ไดรับแตงตั้ง เวนแตในความผิดอันไดกระทําโดยประมาท<br />

(6) ไมเปนสมาชิกวุฒิสภา หรือเคยเปนสมาชิกวุฒิสภาซึ่งสมาชิกภาพสิ้นสุดลงมาแลวยัง<br />

ไมเกินหนึ่งปนับถึงวันที่ไดรับแตงตั้งเปนรัฐมนตรี เวนแตสมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามมาตรา 133 (1)<br />

อยางไรก็ตาม หากสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไดรับแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี<br />

ใหพนสภาพการเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (มาตรา 204 วรรค 2) ซึ่งเปนไปตามเจตนารมณ<br />

ของรัฐธรรมนูญ ในการแยกอํานาจหนาที่ของฝายบริหาร (คณะรัฐมนตรี) ออกจากฝายนิติบัญญัติ<br />

(สมาชิกสภาผูแทนราษฎร) อยางชัดเจน โดยคาดหวังกันวาจะทําใหเสถียรภาพของรัฐบาลมีความ<br />

มั่นคง เพราะหากรัฐมนตรีคนใดปฏิบัติหนาที่ไมดี อาจถูกนายกรัฐมนตรีสั่งปลดได ซึ่งจะกลายเปน<br />

บุคคลธรรมดาทันทีเนื่องจากไมมีสถานะของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรอยางเดิมอีกแลว อันนาจะมี<br />

ผลในการชวยลดแรงบีบคั้นตอตัวนายกรัฐมนตรีจากการตอรองหรือกดดันของรัฐมนตรีในคณะให<br />

ลดนอยลงได<br />

นอกจากนี้ การแยกอํานาจดังกลาวยังเปนไปตามเจตนารมณที่ตองการหลีกเลี่ยงความขัด<br />

กันในการใชหลักการควบคุมตรวจสอบ จากประสบการณทางการเมืองที่ผานๆ มา พบวาการให<br />

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรสามารถดํารงตําแหนงรัฐมนตรีอีกสถานะหนึ่งนั้น ทําใหการปฏิบัติหนาที่<br />

ตางๆ ทําไดไมเต็มที่ เนื่องจาก สมาชิกสภาผูแทนราษฎรซึ่งเปนฝายนิติบัญญัติตองมีหนาที่ในการ<br />

ตรวจสอบการทํางานของรัฐบาล หากใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเปนรัฐมนตรีดวยในขณะเดียวกัน<br />

ก็เทากับใหรัฐมนตรีตรวจสอบตัวเอง เพราะฉะนั้น การแยกอํานาจหนาที่ ตามรัฐธรรมนูญฉบับ<br />

ปจจุบัน จึงสอดคลองกับการปฏิรูปการเมืองที่การเมืองทุกระดับตองสามารถตรวจสอบได<br />

อํานาจหนาที่ของคณะรัฐมนตรี<br />

ในระบบที่มีการแบงแยกการใชอํานาจ ฝายบริหารมีอํานาจหนาที่หลักสองประการ<br />

กลาวคือ หนาที่ในการนําเสนอนโยบายตอรัฐสภา และหนาที่ในการบังคับการใหเปนไปตาม<br />

กฎหมาย (Dickerson and Flanagan, 1998: 396) ซึ่งในรัฐธรรมนูญที่ยึดหลักการประชาธิปไตย<br />

โดยทั่วไปมักปรากฏขอบัญญัติที่มุงใหหนาที่ทั้งสองมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยการให<br />

อํานาจแกฝายบริหารในการริเริ่มกฎหมายเพื่อเปนเครื่องมือทางการบริหารอีกทางหนึ่งดวย<br />

26


รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันเปนรัฐธรรมนูญที่ยึดมั่นในหลักการประชาธิปไตย ตลอดทั้งมุง<br />

ปรับปรุงโครงสรางทางการเมืองใหมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การบัญญัติเกี่ยวกับอํานาจ<br />

หนาที่ของคณะรัฐมนตรีก็มุงสนองเจตนารมณสําคัญในขอนี้ โดยสามารถแยกอํานาจหนาที่ของ<br />

คณะรัฐมนตรีที่สําคัญไดอยางนอยสี่ประการ กลาวคือ<br />

(1) กําหนดนโยบายในการบริหารราชการแผนดิน โดยตองมีการแถลงนโยบายตอรัฐสภา<br />

โดยไมมีการลงมติความไววางใจ (มาตรา 211) และตองดําเนินการใหเปนไปตามนโยบายดังกลาว<br />

ตลอดจนรับผิดชอบตอสภาผูแทนราษฎรในหนาที่ของตนและรับผิดชอบรวมกันตอรัฐสภา<br />

ในนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรี (มาตรา 212)<br />

(2) มอบหมายนโยบายการบริหารแกกระทรวง ทบวง กรมตางๆ และรัฐวิสาหกิจในความ<br />

รับผิดชอบ รวมทั้งกํากับดูแล และประสานงานใหเกิดการปฏิบัติตามนโยบายเหลานั้น<br />

(3) เสนอรางกฎหมาย ซึ่งหมายรวมถึงการเสนอพระราชบัญญัติและรางพระราชบัญญัติ<br />

ประกอบรัฐธรรมนูญตอสภาผูแทนราษฎรตามมาตรา 169 การตราพระราชกําหนดตามมาตรา 218<br />

และการออกพระราชกฤษฎีกาซึ่งถือเปนกฎหมายสําคัญของฝายบริหาร นอกจากนี้ คณะรัฐมนตรี<br />

สามารถมีอํานาจมีมติในคณะรัฐมนตรีในขอบเขตของกฎหมายในเรื่องตางๆ ซึ่งถือเปนเครื่องมือ<br />

บริหารที่มีผลบังคับในทางปฏิบัติเปนอยางมาก และถูกใชมากที่สุดในทางการบริหาร<br />

(4) คณะรัฐมนตรีโดยนายกรัฐมนตรีเปนผูสนองพระบรมราชโองการเกี่ยวกับกฎหมาย<br />

พระราชหัตถเลขา พระบรมราชโองการ และ พระราชดําริเกี่ยวกับราชการแผนดิน<br />

จะเห็นไดวา ภายใตรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันคณะรัฐมนตรีของไทยไดรับการปฏิรูปใหมี<br />

อํานาจหนาที่มากขึ้น โดยครอบคลุมการบริหารประเทศตั้งแตการกําหนดนโยบาย การมอบหมาย<br />

นโยบายแกฝายปฏิบัติการ และกํากับดูแล ประสานงานใหนโยบายเหลานั้นเกิดผล พรอมไปกับการ<br />

มีเครื่องมือทางการบริหารในการเสนอกฎหมายสําคัญ และการมีมติคณะรัฐมนตรีที่มีผลบังคับ อันมี<br />

สวนชวยในการเพิ่มประสิทธิภาพทางการบริหาร จนเปนที่คาดหวังกันวา “นโยบาย” ทั้งหลายที่<br />

คณะรัฐมนตรีประกาศตอสาธารณะ และตองแถลงและรับผิดชอบตอสภาผูแทนราษฎรนั้นจะ<br />

สามารถขับเคลื่อนไปไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดวยกลไกตามรัฐธรรมนูญที่เอื้อ<br />

อํานวยดังกลาว ดังนั้น การประเมินและติดตามผลจากการบังคับใชรัฐธรรมนูญที่ดียิ่งอันหนึ่งก็คือ<br />

การประเมินระดับการไดมีสวนรับทราบ ความพอใจ และความเชื่อมั่นที่มีตอนโยบายของรัฐบาล<br />

ผูวิจัยไดรวบรวมและสรุปนโยบายของรัฐบาลชุดปจจุบันซึ่งมี พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตร<br />

เปนนายกรัฐมนตรีและนับเปนรัฐบาลชุดแรกตามรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน เพื่อเปนกรอบในการ<br />

สรางแบบสอบถามสําหรับทําการวิเคราะหผลจากการบังคับใชรัฐธรรมนูญ ในประเด็นสําคัญทั้งใน<br />

เรื่องระดับการมีสวนรวมของประชาชน ผลของการวางมาตรการสงเสริมเสถียรภาพและประสิทธิ<br />

ภาพของรัฐบาล ตลอดจนระดับความคิดเห็นของประชาชนที่มีตอตัวนโยบายในแงความเหมาะสม<br />

สอดคลองกับความตองการของประชาชนดวย สรุปไดดังนี้<br />

27


จาก “คําแถลงนโยบาย” ของคณะรัฐมนตรี คณะที่ 54 โดย พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายก<br />

รัฐมนตรี แถลงตอรัฐสภาเมื่อวันจันทรที่ 26 กุมภาพันธ 2544 ไดแบงนโยบายออกเปน 16 นโยบาย<br />

กลาวคือ<br />

1. นโยบายเรงดวน<br />

2. นโยบายเศรษฐกิจ<br />

3. นโยบายการสรางรายได<br />

4. นโยบายการพาณิชยและเศรษฐกิจระหวางประเทศ<br />

5. นโยบายดานการคมนาคม<br />

6. นโยบายการพัฒนาแรงงาน<br />

7. นโยบายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<br />

8. นโยบายดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม<br />

9. นโยบายการพลังงาน<br />

10. นโยบายเสริมสรางสังคมเขมแข็ง<br />

11. นโยบายการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม<br />

12. นโยบายความมั่นคงแหงรัฐ<br />

13. นโยบายดานการตางประเทศ<br />

14. นโยบายความปลอดภัยของประชาชน<br />

15. นโยบายการบริหารราชการแผนดิน<br />

16. นโยบายพัฒนาภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร<br />

อยางไรก็ตาม ดูเหมือนวา “นโยบายเรงดวน” ของรัฐบาลปจจุบันเปนสิ่งที่คณะรัฐมนตรีให<br />

ความสําคัญและมีการดําเนินการในทางปฏิบัติตลอดชวงปแรกของรัฐบาล นอกจากนี้ ยังเปนที่<br />

วิพากษวิจารณแสดงความคิดเห็นอยางกวางขวางจากบุคคลหลายฝาย ทั้งสื่อมวลชน นักวิชาการ<br />

นักการเมืองฝายคาน รวมถึงการพูดคุยประจําวันของประชาชนผูสนใจการเมืองทั่วไป ในการวิจัย<br />

ครั้งนี้ ผูวิจัยไดนํานโยบายเรงดวนทั้งหลายที่อยูในความสนใจของสาธารณะจัดทําเปนแบบสอบ<br />

ถาม เพื่อทดสอบวาประชาชนไดมีสวนรับทราบเกี่ยวกับนโยบายเหลานี้หรือไม อยางไร รวมถึงการ<br />

สํารวจความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายดังกลาววามีความเหมาะสมและสอดคลองกับความ<br />

ตองการของประชาชนในระดับใด ดังนั้น จึงสมควรที่จะนํานโยบายเรงดวนของรัฐบาลมากลาวถึง<br />

เพื่อประกอบการศึกษาวิจัย ดังนี้<br />

นโยบายแรงดวนที่รัฐบาลชุดปจจุบันแถลงตอสภามีทั้งหมด 9 ดานดวยกัน กลาวคือ<br />

28


(1) พักชําระหนี้ใตกับเกษตรกรรายยอยเปนเวลา 3 ป<br />

นโยบายนี้มีวัตถุประสงคหลักอยูที่การแกไขปญหาหนี้สินของเกษตรกร โดยมีการวางแนว<br />

ทางการแกปญหาอยางเปนระบบใหกับเกษตรกรที่ประสบปญหาทางดานหนี้สิน ณ วันที่ 30<br />

กันยายน 2544 มีเกษตรกรเขารวมโครงการรวม 2,309,966 ราย คิดเปนรอยละ 97.07 ของเกษตรกร<br />

กลุมเปาหมาย นอกจากนี้รัฐบาลยังไดมีการจัดโครงการฟนฟูอาชีพเกษตรกรหลังการพักชําระหนี้ มี<br />

การจัดทําแผนแมบทเกษตรเพื่อใหประเทศไทยมีความสามารถในการแขงขันในตลาดโลกได<br />

(2) จัดตั้งกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง<br />

วัตถุประสงคหลักของการจัดตั้งกองทุนหมูบาน ทั้งนี้ก็เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งทาง<br />

ดานเศรษฐกิจและสังคมแกประชาชนและองคกรชุมชนในหมูบานและองคกรชุมชนในหมูบานให<br />

มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืนนอกจากนี้ยังเปนการกระตุนเศรษฐกิจของหมูบาน<br />

และชุมชนซึ่งเปนเศรษฐกิจระดับฐานราก โดยในการนี้รัฐบาลไดจัดตั้งกองทุนหมูบานและชุมชน<br />

เมืองแหงละ 1 ลานบาท เพื่อเปนแหลงเงินทุนหมุนเวียน สําหรับพัฒนาอาชีพ สรางอาชีพเสริม<br />

สรางรายไดใหแกประชาชนในชุมชน<br />

(3) การจัดตั้งธนาคารประชาชน<br />

โครงการนี้จัดตั้งขึ้นมาเพื่อกระจายโอกาสเขาถึงแหลงเงินทุนใหกับผูประกอบการรายยอย<br />

ตลอดจนผูมีรายไดประจําที่ตองการประกอบอาชีพเสริมและผูที่สนใจจะประกอบอาชีพอิสระราย<br />

ยอย ทั้งนี้เพื่อสรางทางเลือกและลดการพึ่งพอแหลงเงินกูนอกระบบ โดยมอบหมายใหธนาคาร<br />

ออมสินจัดใหมีบริการทั้งในดานเงินฝาก ดานการพัฒนา และดานสินเชื่อ ผานสาขาของธนาคารที่<br />

กระจายอยูทุกภาคทั่วประเทศ จํานวน 584 สาขา<br />

(4) การจัดตั้งธนาคารวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก<br />

การจัดตั้งองคกรนี้ขึ้นมาเพื่อ พัฒนาผูประกอบการเดิมและเพิ่มจํานวนผูประกอบการใหม<br />

อยางเปนระบบ ทั้งนี้เมื่อประเทศมีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดเล็กเปนจํานวนมาก นั่นยอมจะ<br />

เปนแหลงจางงานขนาดใหญใหแกแรงงานภายประเทศซึ่งจะชวยบรรเทาภาวะการวางงานของ<br />

ประเทศในขณะนอกจากนั้นยังเปนแหลงเก็บรายไดที่สําคัญของประเทศ<br />

(5) การตั้งบรรษัทกลางในการบริหารสินทรัพย<br />

บรรษัทกลางในการบริหารสินทรัพยจะเปนหนวยงานที่สําคัญในการดําเนินการกับหนี้ที่<br />

ไมกอใหเกิดรายไดภายในระบบธนาคารพาณิชยซึ่งมีจํานวนประมาณ 1.9 ลานลานบาท ทั้งนี้เพื่อ<br />

แกปญหาเชิงโครงสรางของธนาคารซึ่งถือวาเปนกลไกหลักในการนํานโยบายทางการเงินไปปฎิบัติ<br />

(6) พัฒนารัฐวิสาหกิจ<br />

วัตถุประสงคหลักของแนวนโยบายนี้เพื่อมุงพัฒนาศักยภาพในการผลิตและความสามารถ<br />

ในการปรับตัวของรัฐวิสาหกิจ ทั้งนี้รัฐบาลไดมีการกําหนดหลักการในการปรับปรุงโครงสรางการ<br />

บริหารรัฐวิสาหกิจ โดยไดอนุมัติหลักการรางกฎหมายจัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจแหงชาติไปแลว เพื่อ<br />

29


มุงใหรัฐวิสาหกิจเปนองคกรที่มีการบริหารอยางมืออาชีพ มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและ<br />

ใหประชาชนมีสวนรวมโดยการกระจายหุนบางสวนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย นอกจาก<br />

นี้รัฐบาลยังไดเรงการแปรรูปรัฐวิสาหกิจโดยการระดมทุนผานตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย<br />

ซึ่งขณะนี้บริษัทอินเตอรเน็ตประเทศไทยและบริษัทปตท. จํากัด (มหาชน) ไดจดทะเบียนแปลง<br />

สภาพเปนบริษัทมหาชน จํากัด และมีหุนที่ทําการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยแลว<br />

(7) สรางหลักประกันสุขภาพถวนหนา<br />

เพื่อใหประชาชนไดรับบริการทางดานสาธารณสุขไดอยางทั่วถึงและมีมาตรฐาน โดยเสีย<br />

คาใชจายในราคาที่ต่ํา รัฐบาลจึงไดดําเนินการจัดตั้งโครงการหลักประกันสุขภาพถวนหนาโดยเสีย<br />

คาใชจายเพียง 30 บาทตอครั้ง โครงการนี้ไดเริ่มดําเนินการทันทีที่รัฐบาลเขาบริหารประเทศในพื้นที่<br />

จังหวัดนํารอง 6 จังหวัด เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2544 คือที่ปทุมธานี สมุทรสาคร นครสวรรค พะเยา<br />

ยโสธร และยะลา ระยะที่ 2 ขยายอีก 15 จังหวัด และสามารถขยายการดําเนินการจนครอบคลุม 75<br />

จังหวัดทั่วประเทศไดแลวตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2545 ณ เดือนมกราคม 2545 มีประชาชนขึ้น<br />

ทะเบียนและรับบัตรประกันสุขภาพไปแลวรอยละ 80.2ของกลุมเปาหมายทั้งหมด<br />

(8) เรงจัดตั้งสถานบําบัดผูติดยาเสพติด ควบคูไปกับการปราบปรามและปองกัน<br />

เนื่องดวยในปจจุบันปญหายาเสพติดนับวาเปนปญหาสําคัญที่กําลังคุกคามทั้งตอสังคมและ<br />

ในระดับประเทศ รัฐบาลไดตระหนักเปนอยางดีในปญหาเหลานั้น จึงไดมีการรณรงคเพื่อ<br />

ปราบปรามการคาขายยาเสพติดตลอดจนมีการจัดตั้งสถานบําบัดผูติดยาเสพติดเพื่อชวยบําบัดผูที่ติด<br />

ยาเสพติดไปพรอมกัน โดยโครงการในขณะนี้ที่รัฐบาลไดมีการดําเนินการไปแลวคือ การจัดตั้ง<br />

โรงเรียนวิวัฒนพลเมือง ซึ่งไดมีการฝกอบรมและฝกอาชีพแกเยาวชนไปแลวประมาณ 5,000 คน<br />

ในชวงเวลา 3 เดือน<br />

(9) สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามคอรัปชั่น<br />

คอรัปชั่นเปนอีกปญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นทั้งในระดับผูกําหนดนโยบายและการผูที่นํานโยบาย<br />

ไปสูการปฎิบัติ ปญหาเหลานี้กําลังเปนอุปสรรคที่สําคัญตอการพัฒนาประเทศ นั่นจึงเปนเหตุผลที่<br />

รัฐบาลไดจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อทําหนาที่สนับสนุนและติดตามการดําเนินงานดานการปองกัน<br />

และปราบปรามการทุจริตตามนโยบายของคณะรัฐมนตรี (ป.ท.) ซึ่งจะเปนกลไกที่สําคัญในการปอง<br />

กันและปราบปรามการทุจริต โดยการดําเนินงานจะสอดคลองกับการปฎิบัติงานของคณะกรรมการ<br />

ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติและคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน<br />

โดยภาพรวม การเปลี่ยนแปลงโครงสรางและกระบวนการไดมาซึ่งคณะรัฐมนตรี รวม<br />

ตลอดทั้งการทํางานและกลไกการควบคุมการทํางานของคณะรัฐมนตรีจะเปนกาวสําคัญของการ<br />

ปฏิรูปการเมืองไทย เพื่อใหระบอบการปกครองประชาธิปไตยที่ลมลุกคลุกคลานมีโอกาสพัฒนาตอ<br />

เนื่องและยั่งยืน (ลิขิต ใน บุญเลิศ, 2541 : 307) จะเห็นไดจากการที่รัฐบาลภายใตรัฐธรรมนูญ<br />

ปจจุบันมีแนวโนมที่จะตองเอาใจใสตอการทํางานในเชิงนโยบายมากกวารัฐบาลในอดีต<br />

30


และนโยบายตางๆ ที่มีการปฏิบัติใชจะอยูในความสนใจ และติดตามตรวจสอบภายใตกลไกใหมๆ<br />

ที่รัฐธรรมนูญเปดใหโดยตรง และโดยออมที่เปนการปลุกกระแสความเปนประชาธิปไตยใหเกิดขึ้น<br />

องคประกอบที่สําคัญของระบบการเมืองระบอบประชาธิปไตยอีกสวนหนึ่งจึงไดแก สถาบันทาง<br />

การเมืองที่ทําหนาที่วินิจฉัย ตรวจสอบ และใหคําปรึกษา<br />

รัฐธรรมนูญปจจุบันไดวางหลักการที่เปนการปฏิรูปสถาบันทางการเมืองที่ทําหนาที่<br />

ดังกลาวไว ทั้งที่เปนการปฏิรูปองคกรที่มีอยูแลวใหสามารถทําหนาที่ของตนไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

และผลของการทําหนาที่นั้นนําไปสูการยอมรับและปฏิบัติตาม นอกจากนี้ ยังเปนการปฏิรูปโดยการ<br />

กําหนดใหมีองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญขึ้นเพิ่มเติมในรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน เพื่อใหองคกร<br />

เหลานี้เปนองคกรตรวจสอบทางการเมืองที่สนับสนุนกลไกและมาตรการตางๆ ใหเปนไปตาม<br />

เจตนารมณของรัฐธรรมนูญ ตอไปนี้จะไดทบทวนเกี่ยวกับความสําคัญของการสถาปนาองคกร<br />

ตรวจสอบที่เปนอิสระขึ้นในระบบการเมือง แนวคิดในการจัดตั้งในตางประเทศและการปรับเขามา<br />

ใชในระบบการเมืองไทย รวมทั้งความเขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับเจตนารมณในการกอตั้ง องคประกอบ<br />

ที่มา และบทบาทอํานาจหนาที่ขององคกรอิสระตางๆ ตามรัฐธรรมนูญ เพื่อเปนกรอบในการศึกษา<br />

และนําไปสูการสรางแบบสอบถาม โดยการสอบถามประชาชนตัวอยางในฐานะที่เปนองคกรที่เกิด<br />

ขึ้นใหมวาเปนที่ “รูจัก” และ “ยอมรับ” ของประชาชนหรือไม ในระดับใด ตลอดจนการวัดระดับ<br />

ความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการทําหนาที่ขององคกรเหลานี้ที่ผานมา<br />

องคกรอิสระ<br />

หลักการจัดโครงสรางของสถาบันทางการเมืองที่นําเอาอํานาจอธิปไตยของประชาชนไป<br />

ใชในรูปแบบตางๆ ในระบบการเมืองแบบประชาธิปไตยนั้น จําเปนตองคํานึงถึงหลักการพื้นฐาน<br />

สําคัญอยางนอย 4 ประการ กลาวคือ (1) มีที่มาจากประชาชน (2) ถูกกํากับควบคุมโดยประชาชน<br />

(3) ผูกพันความรับผิดชอบตอประชาชน และ (4) สามารถสนองตอบตอประชาชน ซึ่งการที่จะเปน<br />

ไปตามหลักการเหลานี้ในทางปฏิบัตินั้นอาจเปนไปโดยตรงหรือโดยออมก็ได ดังนั้น ภาพของ<br />

องคกรที่เขามาทําหนาที่ดูแลแทนประชาชนที่ชัดเจนที่สุดจึงไดแก องคกรหลักๆ ทั้งองคกรฝายนิติ<br />

บัญญัติ บริหาร และตุลาการ ในขณะที่องคกรอื่นๆ ในระดับแยกยอยลงมาอยางเชน หนวยราชการ<br />

ตางๆ ภาพความเชื่อมโยงกับประชาชนจะคอยๆ คลายความชัดเจนลงไป<br />

อยางไรก็ตาม ผลของรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันที่ไดออกแบบองคกรตามรัฐธรรมนูญให<br />

แทรกเขามาทําหนาที่แทนโดยเพิ่มโครงสรางขององคกรทางการเมืองการปกครองที่คั่นอยูตรงกึ่ง<br />

กลางระหวางประชาชนเจาของอํานาจกับองคกรที่ใชอํานาจในรูปขององคกรอิสระเขามาสอดแทรก<br />

ในกระบวนการตรงนี้ จึงเปนอีกภาพหนึ่งที่สะทอนถึงความสัมพันธที่คอนขางใกลชิดของการ<br />

เชื่อมโยงระหวางองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญทั้งหลายกับระบบการเมืองที่เนนสนองตอบตอ<br />

ประโยชนของประชาชนมากขึ้น<br />

31


แนวคิดในการจัดตั้ง “องคกรของรัฐที่เปนอิสระ” ในตางประเทศ<br />

แนวคิดที่จะใหมีองคกรของรัฐที่เปนอิสระนั้นในปจจุบันไดรับการยอมรับวาเปนสิ่งจําเปน<br />

สําหรับรัฐประชาธิปไตยสมัยใหม โดยเฉพาะความจําเปนที่จะตองสรางดุลยภาพระหวางการ<br />

บริหารที่มีประสิทธิภาพกับการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของราษฎร<br />

ในตางประเทศ มีการจัดตั้งองคกรของรัฐที่เปนอิสระ (Independent Regulatory Agency)<br />

มานานแลว โดยเริ่มมีขึ้นครั้งแรกที่ประเทศสหรัฐอเมริกาในป ค.ศ.1889 ซึ่งองคกรนั้นมีชื่อวา<br />

Interstate Commerce Commission หรือ I.C.C. มีหนาที่วางระเบียบและดูแลกิจการธุรกิจการคาที่<br />

ดําเนินไประหวางมลรัฐตางๆ ใหเปนไปโดยเรียบรอย (วิษณุ, 2538: 7) แมวา I.C.C.จะเปนองคกรที่<br />

สังกัดกระทรวงมหาดไทย แตมีความพิเศษกวาหนวยงานทางการบริหารหรือการปกครองทั่วๆ ไป<br />

คือ ถูกกําหนดใหเปนอิสระ ปลอดจากการแทรกแซงของหนวยงานที่สังกัด ซึ่งตอมาองคกรที่มี<br />

ลักษณะเชนเดียวกันนี้ไดถูกสถาปนาขึ้นอีกหลายองคกร และองคกรเหลานี้สามารถดําเนินงานได<br />

อยางมีประสิทธิภาพ ทําใหประเทศอื่นๆ ตางนํารูปแบบของการจัดตั้งองคกรของรัฐที่เปนอิสระของ<br />

สหรัฐอเมริกาไปปรับใชกับประเทศของตน เชน ประเทศอังกฤษเรียกองคกรของรัฐที่เปนอิสระวา<br />

“Quasi-government” หรื อ “Quango” (Quasi Autonomous Non-governmental Organization)<br />

สวนประเทศฝรั่งเศสเรียกวา “Les Auorites Administratives Independantes” (วิษณุ, 2538 : 17-33)<br />

ทั้งนี้ สาเหตุที่ทําใหประเทศเหลานี้ตางตระหนักถึงปญหาอันเกิดขึ้นกับระบบการบริหาร<br />

สมัยใหมก็คือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในโครงสรางทางเศรษฐกิจสังคมของประเทศ และของโลก<br />

ซึ่งโครงสรางการบริหารแบบดั้งเดิมไมสามารถตอบสนองไดอีกตอไป กลาวคือ<br />

การเปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคมอันเปนผลมาจากความเจริญกาวหนาใน<br />

ทางเทคโนโลยี โดยการนําเอาเทคโนโลยีตางๆ มาใชประโยชนทั้งในทางเศรษฐกิจ การบริหารงาน<br />

ภาครัฐและเอกชนรวมตลอดถึงการดําเนินการทางการเมือง เทคโนโลยีเหลานี้มีราคาสูงและมีความ<br />

สลับซับซอนจนประชาชนธรรมดายากที่จะเขาถึงได ไมวาจะในแงของการเขาเปนเจาของ<br />

ผูครอบครองเทคโนโลยี หรือในแงของความเขาใจการทํางาน ทําใหผูสามารถครอบครอง<br />

เทคโนโลยีสมัยใหมอยูในฐานะที่อาจกระทําการจนกอใหเกิดผลกระทบตอสิทธิและเสรีภาพของ<br />

ราษฎร หรือกอใหเกิดผลกระทบตอประโยชนสวนรวมของชาติได<br />

ในขณะที่โครงสรางของระบบการบริหารตามแนวคิดดั้งเดิมไมสามารถตอบสนองการ<br />

เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นได ไมวาจะในรูปของรัฐเขาไปดําเนินการเองหรือรัฐ<br />

ปลอยใหเอกชนดําเนินการแทน และแมแตโครงสรางของรัฐระดับสูงสุดเอง หากพิจารณาให<br />

ถองแทแลวจะเห็นไดวาสถาบันทางการเมืองหลักตามหลักการแบงแยกอํานาจ คือ รัฐสภา รัฐบาล<br />

และศาลนั้น ก็ไมอยูในฐานะที่จะสนองตอบตอปญหาที่เกิดขึ้นไดโดยลําพัง เกิดความจําเปนที่จะ<br />

ตองมีองคกรของรัฐที่เปนอิสระเขามาทําหนาที่วางระเบียบและควบคุมดําเนินกิจกรรมตางๆ ทั้งของ<br />

รัฐและเอกชนแทนเพื่อเสริมสรางกลไกทางการบริหารที่มีประสิทธิภาพ<br />

32


แนวคิดในการจัดตั้ง “องคกรของรัฐที่เปนอิสระ” ในประเทศไทย<br />

ในประเทศไทย แนวความคิดในการจัดองคกรของรัฐหรือการจัดระบบการบริหารของ<br />

ประเทศเรายังยึดติดกับโครงสรางเดิมๆ อยูมาก โดยที่การเมืองแบบเดิมเปนการเมืองที่เราเนน<br />

อํานาจเบ็ดเสร็จอยูที่ผูแทนตามหลักของการปกครองระบบผูแทน แตความมุงหวังในการสรางการ<br />

เมืองใหมใหเกิดขึ้นก็คือการสรางการเมืองในรูปแบบใหมใหกับภาคประชาชน กลาวคือ นอกจาก<br />

จะเปนการเมืองโดยอาศัยผูแทนแลวยังเปนการเมืองที่เปดชองทางใหมีการมีสวนรวมใหมๆ โดย<br />

ประชาชนเปนผูใชอํานาจโดยตรง ดังนั้น แนวคิดในการกอตั้ง “องคกรอิสระ” (Independent Organ<br />

หรือ Authority) ซึ่งหมายถึงองคกรที่เปนสวนหนึ่งของรัฐ แตมีระบบบริหารจัดการที่อิสระจาก<br />

อํานาจการเมืองในฝายบริหารและฝายนิติบัญญัติ (บวรศักดิ์ ใน บุญเลิศ, 2541: 54) หรือแนวคิดกับ<br />

การมีองคกรของรัฐที่เปนอิสระในตางประเทศดังที่กลาวมาจึงถูกปรับเขามาใชเปนสวนหนึ่งของ<br />

การปฏิรูปการเมืองไทยโดยบัญญัติไวชัดเจนในรัฐธรรมนูญ<br />

รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันนับเปนการออกแบบการปกครองใหม จากแตเดิมที่ผูใชอํานาจ<br />

กับผูตรวจสอบอยูในองคกรเดียวกัน คือ องคกรนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการตางก็เปนองคกรใช<br />

อํานาจดวยกันทั้งสิ้นเพียงแตแบงแยกการใชอํานาจแตกตางกัน คือ องคกรนิติบัญญัติใชอํานาจใน<br />

การออกกฎหมาย องคกรบริหารเปนผูบังคับใชกฎหมาย และองคกรตุลาการใชอํานาจในการ<br />

วินิจฉัยตีความกฎหมาย ในขณะเดียวกันองคกรเหลานี้ตางก็ทําหนาที่ในการตรวจสอบกันเองดวย<br />

แตระบบการเมืองที่ถูกออกแบบขึ้นมาใหมไดจัดตั้งหรือแยกกลไกการใชอํานาจออกจากกลไกการ<br />

ตรวจสอบเพิ่มเติมผานองคกรพิเศษซึ่งมีลักษณะเปนองคกรเฉพาะทาง นั่นคือบรรดาองคกรอิสระ<br />

ตามรัฐธรรมนูญนั่นเอง<br />

การกําหนดใหมีองคกรตรวจสอบทางการเมือง โดยนําหลักการเกี่ยวกับการสถาปนา<br />

องคกรของรัฐที่เปนอิสระมาใช นับวาเปนการนําขอดีขององคกรลักษณะดังกลาวมาใช โดยจะเปน<br />

การเสริมชองวางในโครงสรางการบริหารประเทศ เพราะที่ผานมาแมวาประเทศไทยจะมีองคกรที่<br />

ทําหนาที่ควบคุมตรวจสอบหลายองคกร แตองคกรเหลานั้นยังมีปญหาที่ไมสามารถปฏิบัติภารกิจ<br />

หนาที่ไดอยางเต็มที่และมีประสิทธิภาพ เนื่องจากยังถูกครอบงําโดยฝายการเมืองหรือฝายขาราชการ<br />

ประจําได การทําใหองคกรควบคุมตรวจสอบมีฐานะเปนองคกรอิสระนอกจากจะเปนการขจัด<br />

อุปสรรคในการทําหนาที่ควบคุมตรวจสอบขององคกรตางๆ แลว ยังจะทําใหเกิดระบบการตรวจ<br />

สอบที่ครบถวน ไมซ้ําซอนกัน แตเสริมซึ่งกันและกันตามบทบาทและภารหนาที่ที่เปนไปตาม<br />

เจตนารมณของการจัดตั้งแตละองคกรอีกทางหนึ่งดวย<br />

โดยสรุป ความจําเปนที่จะตองมีองคกรอิสระขึ้นนั้นก็เพื่อประโยชนของประชาชนโดย<br />

สวนรวมเปนสําคัญ อันไดแก การเปนองคกรที่ทําหนาที่วางระเบียบและควบคุมกิจกรรมบางอยาง<br />

ภายในรัฐที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของสภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมที่อาจสงผล<br />

33


กระทบตอสิทธิและเสรีภาพของประชาชน การเปนองคกรที่ปลอดจากการแทรกแซงของฝายการ<br />

เมืองและระบบราชการทําใหสามารถทําหนาที่ควบคุมตรวจสอบไดอยางเขมขน รวมทั้งยังเปนการ<br />

ปฏิรูปทางการเมืองเพื่อสรางระบบการเมืองที่เปดชองทางใหประชาชนมีสวนรวมในการตรวจสอบ<br />

การใชอํานาจรัฐเพิ่มขึ้นอันเปนเจตนารมณสําคัญของรัฐธรรมนูญ<br />

องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540<br />

ภายใตความสําคัญและความจําเปนในการมีองคกรของรัฐที่เปนอิสระ รัฐธรรมนูญ 2540<br />

ไดสถาปนาองคกรอิสระใหมขึ้น เพื่อใหเปนองคกรที่มีอํานาจหนาที่ดูแล ควบคุม หรือตรวจสอบ<br />

กิจกรรมที่อาจมีผลกระทบอยางสําคัญตอผลประโยชนหรือเศรษฐกิจของชาติเปนสวนรวม หรือ<br />

เกี่ยวของกับการจัดสรรทรัพยากรสาธารณะ หรืออาจกระทบกระเทือนตอสิทธิเสรีภาพของราษฎร<br />

ไมวากิจกรรมเหลานั้นจะดําเนินการโดยรัฐหรือเอกชน<br />

องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน ประกอบดวยองคกรตรวจสอบที่ทําหนาที่แตก<br />

ตางกัน 3 ประเภท คือ<br />

(1) องคกรอิสระที่ใชอํานาจตุลาการ ไดแก ศาลยุติธรรม ศาลรัฐธรรมนูญ และศาล<br />

ปกครอง<br />

(2) องคกรอิสระที่มีอํานาจตัดสินใจบางประการ ไดแก คณะกรรมการการเลือกตั้ง คณะ<br />

กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ และคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน<br />

(3) องคกรอิสระที่มีอํานาจใหคําแนะนําหรือคําปรึกษา ไดแก คณะกรรมการสิทธิ<br />

มนุษยชนแหงชาติ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา<br />

(1) องคกรอิสระที่ใชอํานาจตุลาการ<br />

ในระบอบประชาธิปไตย อํานาจตุลาการตองมีที่มาจากประชาชน หรือไดรับความเห็นชอบ<br />

จากประชาชน แตเดิมอาจกลาวไดวา ประเทศไทยมีองคกรที่ใชอํานาจตุลาการหรือศาลเพียง<br />

ศาลเดียว คือ ศาลยุติธรรมที่ทําหนาที่พิจารณาพิพากษาอรรถคดี แมจะมีศาลทหารอีกศาลหนึ่ง<br />

แตตองถือวามีอํานาจหนาที่จํากัดอยูมาก นอกจากนี้ คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่มีอยูก็มิใช<br />

ศาลในความหมายที่แทจริง รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันจึงไดจัดตั้งศาลขึ้นใหมอีกสองประเภท ไดแก<br />

ศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครอง<br />

1. ศาลยุติธรรม<br />

แมวาศาลยุติธรรมจะมิใชองคกรอิสระใหมที่เพิ่งเกิดขึ้นตามรัฐธรรมนูญ แตบท<br />

บัญญัติในรัฐธรรมนูญนี้นับเปนการปรับปรุงและพัฒนารวมทั้งแกปญหาในอดีตของศาล ไมวาจะ<br />

เปนในเรื่องความเปนอิสระของผูพิพากษาหรือตุลาการ ประสิทธิภาพในการพิจารณาพิพากษาอรรถ<br />

คดี และหลักประกันที่สรางความมั่นใจใหแกผูพิพากษาและตุลาการในการปฏิบัติหนาที่อยางเปน<br />

34


กลางและเที่ยงธรรม เพื่อใหศาลยุติธรรมเปนองคกรที่สามารถทําหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

คลองตัว มีอิสระปราศจากการครอบงําใดๆ ธํารงไวซึ่งความยุติธรรมและเปนที่พึ่งของประชาชน<br />

รัฐธรรมนูญปจจุบันบัญญัติเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของศาลยุติธรรมไวเพียงสั้นๆ แตครอบ<br />

คลุม โดยกําหนดใหศาลยุติธรรมมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวงเวนแตคดีที่รัฐธรรมนูญนี้หรือ<br />

กฎหมายบัญญัติใหอยูในอํานาจของศาลอื่น (มาตรา 271) อยางไรก็ดี เพื่อใหศาลยุติธรรมเปน<br />

สถาบันหลักที่มีความสําคัญในการปฏิรูปทางการเมือง รัฐธรรมนูญฉบับนี้ยังไดบัญญัติใหมีแผนก<br />

คดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองในศาลฎีกา โดยองคคณะผูพิพากษาประกอบดวย<br />

ผูพิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดํารงตําแหนงไมต่ํากวาผูพิพากษาศาลฎีกาจํานวนเกาคนซึ่งไดรับเลือกโดย<br />

ที่ประชุมใหญศาลฎีกาโดยวิธีลงคะแนนลับ และใหเลือกเปนรายคดี (มาตรา 272 วรรค 2) ขึ้นมาอีก<br />

แผนกหนึ่งเปนการเฉพาะเพื่อรองรับกลไกการตรวจสอบอื่นๆ ตามรัฐธรรมนูญ<br />

ฉะนั้น การปฏิรูปกระบวนการตางๆ ของศาลยุติธรรมที่เกิดขึ้นตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้<br />

ทําใหคาดหวังไดวากระบวนการยุติธรรมของไทยจะเปนกระบวนการที่มีประสิทธิภาพ และอํานวย<br />

ประโยชนดานการสรางความยุติธรรมใหแกประชาชน<br />

2. ศาลรัฐธรรมนูญ<br />

เจตนารมณสําคัญในการจัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญก็เพื่อจะใหเปนองคกรที่มีอํานาจ<br />

หนาที่หลักในการควบคุมรางกฎหมายหรือกฎหมายมิใหขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ รวมไปถึง<br />

ขอบังคับการประชุมรัฐสภา ขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร ขอบังคับการประชุมวุฒิสภา<br />

และวินิจฉัยชี้ขาดปญหาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ระหวางองคกรตางๆ ตามรัฐธรรมนูญ<br />

ศาลรัฐธรรมนูญประกอบดวยประธานศาลรัฐธรรมนูญ 1 คน และตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ<br />

อื่นอีก 14 คน มีวาระการดํารงตําแหนง 9 ป และดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว ในวาระเริ่มแรกมี<br />

วาระการดํารงตําแหนง 4 ปครึ่ง (มาตรา 322) นอกจากนี้ศาลรัฐธรรมนูญยังมีหนวยธุรการของศาลที่<br />

เปนอิสระอีกดวย<br />

ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ศาลรัฐธรรมนูญ<br />

มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้<br />

1. พิจารณาวินิจฉัยความชอบดวยรัฐธรรมนูญของกฎหมายที่รัฐสภาไดใหความเห็นชอบ<br />

แลว กอนที่นายกรัฐมนตรีจะทูลเกลาทูลกระหมอมถวายเพื่อลงพระปรมาภิไธย (มาตรา 262)<br />

2. พิจารณาความชอบดวยรัฐธรรมนูญของขอบังคับการประชุมรัฐสภา กอนที่จะประกาศ<br />

ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 263)<br />

3. พิจารณาวินิจฉัยความชอบดวยรัฐธรรมนูญของกฎหมายตางๆ ที่ศาลไดสงใหพิจารณา<br />

(มาตรา 264)<br />

4. พิจารณาการวินิจฉัยเกี่ยวกับอํานาจและหนาที่ขององคกรตางๆ ตามรัฐธรรมนูญ (มาตรา<br />

266)<br />

35


5. พิจารณาวินิจฉัยกรณีมติหรือขอบังคับพรรคการเมืองในเรื่องใดขัดตอสถานะและการ<br />

ปฏิบัติของ สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ตามรัฐธรรมนูญหรือขัดหรือแยงกับหลักการพื้นฐานแหงการ<br />

ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข (มาตรา 47 วรรคสาม)<br />

6. พิจารณาวินิจฉัยการกระทําของบุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทําการโดยใชสิทธิและ<br />

เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อลมลางการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปน<br />

ประมุขตามรัฐธรรมนูญ หรือเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิไดเปน<br />

ไปตามวิถีทางที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ<br />

7. พิจารณาวินิจฉัยผูดํารงตําแหนงทางการเมืองผูใดจงใจไมยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพยสิน<br />

และหนี้สินและเอกสารประกอบตามที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญหรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการ<br />

ทรัพยสินและหนี้สินและเอกสารประกอบดวยความอันเปนเท็จหรือ ปกปดขอเท็จจริงที่ควรแจง<br />

ใหทราบ (มาตรา 295)<br />

ดังนั้น การสถาปนาศาลรัฐธรรมนูญขึ้น จะเปนการชวยในการแกปญหาในการใช<br />

รัฐธรรมนูญ ใหรัฐธรรมนูญสามารถปฏิบัติได ชวยกํากับควบคุมการใชรัฐธรรมนูญใหดําเนินไปสู<br />

เปาหมายตามเจตนารมณที่แทจริง ชวยกํากับความชอบตามรัฐธรรมนูญ ชวยวางหลักวางแนวใน<br />

เรื่องบรรทัดฐานการบังคับใชรัฐธรรมนูญ และชวยบอกทิศทางในการใชรัฐธรรมนูญ<br />

3. ศาลปกครอง<br />

เจตนารมณในการจัดตั้งศาลปกครองนั้นคือการนําหลักการการกระทําทาง<br />

ปกครองตองชอบดวยกฎหมายมาใช โดยมุงปองกันมิใหผูถืออํานาจรัฐใชอํานาจดังกลาวแสวงหา<br />

ประโยชนแกตนเองและพวกพอง รักษาไวซึ่งการใชอํานาจรัฐเพื่อประโยชนของสวนรวม และปอง<br />

กันมิใหมีการใชอํานาจรัฐจํากัดสิทธิเสรีภาพดานตางๆ ของเอกชนเกินขอบเขตแหงความจําเปนแก<br />

การปกปกษรักษาไวซึ่งประโยชนมหาชน<br />

ศาลปกครองแบงออกเปน 2 ชั้น คือ ศาลปกครองสูงสุด และศาลปกครองชั้นตน (มาตรา<br />

276 วรรค 2) การแตงตั้งตุลาการในศาลปกครองและการใหพนจากตําแหนงตองไดรับการเห็นชอบ<br />

จากคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองกอน แลวจึงนําความกราบบังคมทูล (มาตรา 277) สวนการ<br />

แตงตั้งตุลาการใหดํารงตําแหนงประธานศาลปกครองสูงสุดนั้น ตองไดรับความเห็นชอบของคณะ<br />

กรรมการตุลาการศาลปกครองและวุฒิสภาแลวจึงใหนายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรง<br />

แตงตั้งตอไป (มาตรา 278) และตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช<br />

2540 ศาลปกครองมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้<br />

พิจารณาพิพากษาคดีที่เปนขอพิพาทระหวางหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ<br />

หรือราชการสวนทองถิ่น หรือเจาหนาที่ของรัฐที่อยูในบังคับบัญชา หรือในกํากับดูแลของรัฐบาล<br />

กับเอกชน ซึ่งเปนขอพิพาทเนื่องมาจากการกระทําหรือละเวนการกระทําตามกฎหมาย หรือตองรับ<br />

ผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย (มาตรา 276)<br />

36


ดังนั้น การจัดตั้งศาลปกครองขึ้นจึงเปนการชวยวางรากฐานของบุคคลหรือองคกรใหอยูบน<br />

พื้นฐานของหลัก "นิติรัฐ" หรือหลักกฎหมายเปนใหญ ที่ผูใชอํานาจในการปกครองหรือการบริหาร<br />

จะกระทําการใดๆ เพื่อลิดรอนสิทธิ เสรีภาพ ทรัพยสินหรือประโยชนอันชอบธรรมของประชาชน<br />

ไดก็ตอเมื่อมีกฎหมายใหอํานาจโดยชัดแจง และยังเปนองคกรกลางที่ชวยระงับขอพิพาทระหวาง<br />

หนวยงาน ระหวางผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชา สรางระบบตรวจสอบผูบริหาร และใหความ<br />

คุมครองสิทธิเสรีภาพแกประชาชนจากการกระทําใดๆ ของฝายปกครองมากขึ้นเพื่อประโยชน<br />

มหาชนอยางแทจริง<br />

(2) องคกรอิสระที่มีอํานาจตัดสินใจบางประการ<br />

นอกจากองคกรที่ทําหนาที่ตุลาการซึ่งมีอํานาจในการตัดสินใจในประเด็นขอพิพาท<br />

ขอกฎหมาย รวมทั้งขอเท็จจริงตางๆ แลว ยังมีองคกรประเภทที่มิไดใชอํานาจการตัดสินใจอยาง<br />

กระบวนการตุลาการแตมีอํานาจในการตัดสินใจบางประการในเรื่องที่เกี่ยวของกับอํานาจหนาที่<br />

ขององคกรเหลานั้น องคกรประเภทนี้มีทั้งหมด 3 องคกรไดแก คณะกรรมการการเลือกตั้ง คณะ<br />

กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ และคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน<br />

1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง<br />

คณะกรรมการการเลือกตั้งเกิดขึ้นตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญในอันที่จะ<br />

ปฏิรูปกระบวนการการเขาสูอํานาจของนักการเมืองโดยใหมีการเลือกตั้งที่สุจริตและเที่ยงธรรม เพื่อ<br />

ใหไดคนดีมีความสามารถเขามาบริหารบานเมือง (สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2545)<br />

คณะกรรมการการเลือกตั้งมีจํานวน 5 คน ประกอบดวยประธานกรรมการคนหนึ่ง และ<br />

คณะกรรมการอื่นอีก 4 คน มีวาระการดํารงตําแหนง 7 ป นับแตวันที่พระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง<br />

และดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว (มาตรา 140) แตสําหรับคณะกรรมการการเลือกตั้งชุดแรกจะมี<br />

วาระ 3 ปครึ่ง คือ ครึ่งหนึ่งของวาระการดํารงตําแหนง (มาตรา 322) ทั้งนี้ ตามบทบัญญัติของ<br />

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 บัญญัติให คณะกรรมการการเลือกตั้ง<br />

มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้<br />

1. ควบคุมและดําเนินการจัดหรือจัดใหมีการเลือกตั้งในระดับตางๆ กันดังนี้<br />

1.1 ส.ส. และ ส.ว. (มาตรา 144)<br />

1.2 สมาชิกสภาทองถิ่นและผูบริหารทองถิ่นซึ่งตองดําเนินการภายในไม<br />

เกินสิบป (มาตรา 327 (9))<br />

1.3 การออกเสียงประชามติ (มาตรา 144) ซึ่งจะตองดําเนินการภายใน<br />

สองป (มาตรา 329 (5))<br />

2. ประธานกรรมการการเลือกตั้งเปนนายทะเบียนพรรคการเมือง (มาตรา 144)<br />

37


3. ออกประกาศกําหนดทั้งหลายอันจําเปนแกการปฏิบัติตามกฎหมาย (มาตรา 145<br />

(1))<br />

4. มีคําสั่งใหขาราชการ พนักงานหรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ<br />

รัฐวิสาหกิจ หรือขาราชการสวนทองถิ่น หรือเจาหนาที่อื่นของรัฐปฏิบัติการทั้งหลายอันจํา<br />

เปนตามกฎหมาย (มาตรา 145 (2))<br />

5. สืบสวนสอบสวนเพื่อหาขอเท็จจริงและวินิจฉัยชี้ขาดปญหาหรือขอโตแยงที่เกิด<br />

ขึ้นตามกฎหมาย (มาตรา 145 (3))<br />

6. สั่งใหมีการเลือกตั้งหรือออกเสียงประชามติใหมในหนวยเลือกตั้งใดหนวยเลือก<br />

ตั้งหนึ่งหรือทุกหนวยเลือกตั้ง เมื่อมีหลักฐานอันควรเชื่อไดวาการเลือกตั้งหรือการออก<br />

เสียงประชามติในหนวยเลือกตั้งนั้นๆ มิไดเปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม (มาตรา 145<br />

(6))<br />

7. ประกาศผลการเลือกตั้งและการออกเสียงประชามติ (มาตรา 145 (5))<br />

8. เรียกเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวของจากบุคคลใดหรือเรียกบุคคลใดมาใหถอย<br />

คําตลอดจนขอใหศาล พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ<br />

รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น ดําเนินการเพื่อประโยชนแหงการปฏิบัติหนาที่การ<br />

สืบสวนสอบสวนหรือวินิจฉัยชี้ขาด (มาตรา 145 วรรคสอง)<br />

9. แตงตั้งบุคคล คณะบุคคล หรือผูแทนองคกรเอกชนเพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่มอบ<br />

หมาย (มาตรา 145 วรรคสาม)<br />

10. ดําเนินการแบงเขตเลือกตั้ง (มาตรา 327 (2))<br />

11. รับรองและแตงตั้งผูแทนองคการเอกชนเพื่อประโยชนในการตรวจสอบการ<br />

เลือกตั้ง (มาตรา 329 (9))<br />

โดยสรุป คณะกรรมการการเลือกตั้งนับวามีความสําคัญเพราะมีหนาที่ในกระบวนการ<br />

ทางการเมืองหลายอยาง โดยเฉพาะอยางยิ่งการชวยควบคุม ดูแล และดําเนินการเลือกตั้งทุกระดับ<br />

รวมทั้งการออกเสียงประชามติใหเปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรมมากยิ่งขึ้น ภายใตการสืบสวน<br />

สอบสวนและวินิจฉัยขี้ขาดปญหาหรือขอโตแยงที่เกิดตามกฎหมาย อันจะชวยลดปญหาการทุจริต<br />

ในกระบวนการเลือกตั้งและปองกันการละเมิดสิทธิ เสรีภาพในการตัดสินใจออกเสียงเลือกตั้ง<br />

ของประชาชน อีกทั้งยังเปนการสงเสริมใหไดผูแทนที่มีความสามารถและตอบสนองความตองการ<br />

ของประชาชนอยางแทจริง คณะกรรมการการเลือกตั้งจึงเปนองคกรที่มีความสําคัญในการผลักดัน<br />

การปฏิรูปทางการเมืองใหไดผลตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ<br />

38


2. คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ<br />

ที่มาของการบัญญัติเรื่องคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ<br />

ไวในรัฐธรรมนูญ 2540 มาจากการที่ในอดีตรัฐมีอํานาจเหนือประชาชนเปนอยางมาก อีกทั้งมีการ<br />

ใชอํานาจโดยฝายการเมืองและขาราชการประจําเพื่อแสวงหาประโยชนที่มิชอบ รวมถึงระบบการ<br />

ตรวจสอบการทุจริตที่มีอยูเดิมโดยคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิ<br />

ชอบในวงราชการ (ป.ป.ป.) ก็ขาดประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการใชกับผูดํารงตําแหนงทางการเมือง<br />

และผูดํารงตําแหนงระดับสูงจะใชวิธีการเชนเดียวกับเจาหนาที่รัฐทั่วไปคงเปนการยากเนื่องจากเปน<br />

ผูมีอิทธิพล<br />

รัฐธรรมนูญไดปฏิรูประบบการตรวจสอบการทุจริตเดิมโดยกําหนดใหมี "คณะกรรมการ<br />

ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ" เปนองคกรอิสระที่มาจากการแตงตั้งโดยพระมหา<br />

กษัตริยตามคําแนะนําของวุฒิสภา โดยผานกระบวนการสรรหา ประกอบดวยประธานกรรมการ<br />

หนึ่งคนและกรรมการผูทรงคุณวุฒิอื่นอีกแปดคน มีวาระการดํารงตําแหนง 9 ป และดํารงตําแหนง<br />

ไดเพียงวาระเดียว ยกเวนคณะกรรมการชุดแรกมีวาระการดํารงตําแหนงเพียงกึ่งหนึ่งคือ 4 ป 6 เดือน<br />

แตไมหามที่จะดํารงตําแหนงวาระที่ 2<br />

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติมีอํานาจหนาที่ตามรัฐธรรมนูญ<br />

มาตรา 301 ดังตอไปนี้<br />

(1) ไตสวนขอเท็จจริงและสรุปสํานวนพรอมทั้งทําความเห็นเสนอตอวุฒิสภาตาม<br />

มาตรา 305<br />

(2) ไตสวนขอเท็จจริงและสรุปสํานวนพรอมทั้งทําความเห็นสงไปยังศาลฎีกา<br />

แผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองตามมาตรา 308<br />

(3) ไตสวนและวินิจฉัยวาเจาหนาที่ของรัฐร่ํารวยผิดปกติ กระทําความผิดฐาน<br />

ทุจริตตอเจาหนาที่หรือกระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการ หรือความผิดตอตําแหนง<br />

หนาที่ในการยุติธรรม เพื่อดําเนินการตอไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการ<br />

ปราบปรามการทุจริต<br />

(4) ตรวจสอบความถูกตองและความมีอยูจริงรวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของ<br />

ทรัพยสินและหนี้สินของผูดํารงตําแหนงตามมาตรา 291 และมาตรา 296 ตามบัญชีและ<br />

เอกสารประกอบที่ไดยื่นไว<br />

(5) รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหนาที่พรอมขอสังเกตตอคณะ<br />

รัฐมนตรี สภาผูแทนราษฎร และวุฒิสภาทุกป และนํารายงานนั้นออกพิมพเผยแพรตอไป<br />

(6) ดําเนินการอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ<br />

กลาวไดวา การจัดตั้งคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติขึ้นจะเปน<br />

การชวยสรางบรรทัดฐานและพลังขับเคลื่อนสําคัญในการสรางความเปนกลางในการตรวจสอบการ<br />

39


ทุจริตใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และชวยใหประชาชนไดมีโอกาสเสนอ รองเรียน และสรางแรง<br />

สนับสนุนสาธารณะตานการทุจริต และหาวิธีแกไขปรับปรุงชองโหว เพื่อนําไปเปนขอเสนอแนะ<br />

หรือชวยหา แนวทางในการปองกันและปราบปรามการทุจริตตอไปทั้งในดานชีวิตความเปนอยู<br />

การเงิน และการตรวจสอบภายในของระบบบริหาร ทั้งนี้เพื่อบรรเทาความเสียหายหรือปกปอง<br />

ผลประโยชนอันสูงสุดแหงรัฐ<br />

3. คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน<br />

ในสวนของการตรวจสอบและควบคุมทางบัญชีก็เชนเดียวกันกับในเรื่องการควบ<br />

คุมการทุจริต ที่แตเดิมการตรวจเงินแผนดินเปนหนาที่ของสํานักงานตรวจเงินแผนดินซึ่งเปนหนวย<br />

งานในฝายบริหาร สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี จึงไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดโดยอิสระ รัฐธรรมนูญ<br />

จึงแกไขใหจัดตั้งเปนคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินและสํานักงานธุรการที่เปนอิสระพนจาก<br />

อํานาจบริหารประกอบดวยประธาน 1 คนและคณะกรรมการอื่นอีก 9 คนซึ่งพระมหากษัตริยทรง<br />

แตงตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภา จากผูมีความชํานาญและประสบการณดานการตรวจเงินแผนดิน<br />

การบัญชี การตรวจสอบภายใน การเงินการคลัง และดานอื่นๆ (มาตรา 312 วรรค 2)<br />

คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 6 ป และดํารงตําแหนง<br />

ไดเพียงวาระเดียว ในวาระเริ่มแรกมีระยะเวลาดํารงตําแหนง 3 ป (มาตรา 322) ทําหนาที่<br />

(1) วางนโยบาย ใหคําปรึกษาและคําแนะนํา ตลอดจนเสนอแนะใหมีการแกไข<br />

ขอบกพรองเกี่ยวกับการตรวจเงินแผนดิน<br />

(2) กําหนดหลักเกณฑมาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผนดิน<br />

(3) กําหนดหลักเกณฑและวิธีพิจารณาในเรื่องวินัยทางงบประมาณและการคลัง<br />

การกําหนดโทษปรับทางปกครอง การพิจารณาวินิจฉัยความผิดทางวินัยและงบประมาณ<br />

และการคลังในฐานะที่เปนองคกรสูงสุด<br />

(4) พิจารณาผูสมควรดํารงตําแหนงผูวาการตรวจเงินแผนดิน<br />

การสถาปนาคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินขึ้นเปนองคกรอิสระ และมีอํานาจหนาที่ดังที่<br />

กลาวมา เปนที่คาดหวังกันวาจะสามารถทําใหการทําหนาที่ตรวจสอบและควบคุมทางบัญชีตอ<br />

หนวยงานของรัฐเปนไปอยางมีประสิทธิภาพแทจริง<br />

(3) องคกรอิสระที่มีอํานาจใหคําแนะนําหรือคําปรึกษา<br />

องคกรตรวจสอบอีกประเภทหนึ่งซึ่งแมจะไมมีอํานาจการตัดสินใจแตก็นับวามีบทบาท<br />

สําคัญในการเปนองคกรใหคําแนะนําหรือคําปรึกษาซึ่งตามรัฐธรรมนูญมี 3 องคกร ไดแก คณะ<br />

กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา และสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและ<br />

สังคมแหงชาติ องคกรเหลานี้ตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแลวตองการใหเปนองคกรตรวจสอบ<br />

40


ที่มีลักษณะของการสงเสริมสนับสนุนในเรื่องตางๆ ที่มีความสําคัญตอสิทธิเสรีภาพและประโยชน<br />

สวนรวมของประชาชน ไดแก<br />

1. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ<br />

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาตินับเปนองคกรอิสระที่มีความสําคัญอยาง<br />

มากตอการปฏิรูปทางการเมืององคกรหนึ่ง ดวยเหตุที่การจัดทํารางรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันขึ้นนั้น<br />

ตองการใหมีสาระสําคัญเปนการสงเสริมและคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ดังนั้น การถือ<br />

กําเนิดของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติก็เปนไปเพื่อใหมีองคกรสําหรับขับเคลื่อนเจตนา<br />

รมณดังกลาวใหบังเกิดผลเปนรูปธรรม<br />

รัฐธรรมนูญกําหนดใหมีคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติรวม 11 คน ประกอบดวย<br />

ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่นอีก 10 คน มีวาระการดํารงตําแหนง 6 ป และดํารง<br />

ตําแหนงไดเพียงวาระเดียว (มาตรา 199) แตในวาระเริ่มแรกมีวาระการดํารงตําแหนง 3 ป (มาตรา<br />

322) และมีอํานาจหนาที่ตามมาตรา 200 ดังตอไปนี้<br />

(1) ตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือการละเลยการกระทําอันเปนการละเมิด<br />

ตอสิทธิมนุษยชนหรืออันไมเปนไปตามพันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่<br />

ประเทศไทยเปนภาคี และเสนอมาตรการแกไขที่เหมาะสมตอบุคคลหรือหนวยงานที่<br />

กระทําละเลยการกระทําดังกลาวเพื่อดําเนินการ ในกรณีที่ปรากฏวาไมมีการดําเนินการตาม<br />

ที่เสนอ ใหรายงานตอรัฐสภาเพื่อดําเนินการตอไป<br />

(2) เสนอแนะนโยบายหรือขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับตอ<br />

รัฐสภาและคณะรัฐมนตรีเพื่อสงเสริมคุมครองสิทธิมนุษยชน<br />

(3) สงเสริมการศึกษา การวิจัย และการเผยแพรความรูดานสิทธิมนุษยชน<br />

(4) สงเสริมความรวมมือและประสานงานระหวางหนวยงานราชการ องคการ<br />

เอกชน และองคการอื่นในดานสิทธิมนุษยชน<br />

(5) จัดทํารายงานประจําปเพื่อประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนภายใน<br />

ประเทศเสนอตอรัฐสภา<br />

(6) อํานาจหนาที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ<br />

ทั้งนี้ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวของ<br />

จากบุคคลใดหรือเรียกบุคคลใดมาใหถอยคํา รวมทั้งมีอํานาจอื่นเพื่อประโยชนในการปฏิบัติหนาที่<br />

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติที่จัดตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญนี้ จึงเปนองคกรที่ชวยสง<br />

เสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน ชวยสรางเครือขายแหงความรวมมือ และใหความรู ความเขาใจใน<br />

เรื่องสิทธิมนุษยชนแกทุกกลุมในสังคม ชวยรับเรื่องราวรองทุกขจากทุกกลุมในสังคม รวบรวมและ<br />

ศึกษาเปนผลการวิจัยเพื่อนําเสนอตอทุกกลุมที่เกี่ยวของหรือผลักดันเปนนโยบายและปรับปรุง<br />

41


กฎหมายที่ยังไมสงเสริมสิทธิมนุษยชน นอกจากนี้ยังเปนเสมือนที่พึ่งในการใหคําปรึกษา หรือแนะ<br />

นําชองทางตางๆ ในการแกปญหาสิทธิมนุษยชนที่กําลังเผชิญอยูแทบทุกกลุมสังคมในภาวะปจจุบัน<br />

2.ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา<br />

เชนเดียวกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา<br />

ถือเปนอีกองคกรหนึ่งที่มีหนาที่สําคัญในการรับเรื่องราวรองทุกขของราษฎรที่ไมไดรับความเปน<br />

ธรรมถึงแมวาการใชอํานาจรัฐนั้นอาจจะชอบดวยกฎหมายก็ตาม<br />

ในสวนที่ 7 (มาตรา 196) ของรัฐธรรมนูญ ไดกําหนดใหมี "ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา"<br />

ที่มาจากการแตงตั้งโดยพระมหากษัตริยตามคําแนะนําของวุฒิสภา จากผูซึ่งเปนที่ยอมรับนับถือของ<br />

ประชาชน มีความรอบรูและมีประสบการณในการบริหารราชการแผนดิน วิสาหกิจ หรือกิจกรรม<br />

อันเปนประโยชนรวมกันของสาธารณะและมีความซื่อสัตยสุจริตเปนที่ประจักษ โดยกระบวนการ<br />

สรรหา<br />

ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภามีจํานวนไมเกินสามคน มีวาระการดํารงตําแหนงหกปนับต<br />

วันที่พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งและใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว มีอํานาจหนาที่ตาม<br />

รัฐธรรมนูญมาตรา 197 ดังตอไปนี้<br />

(1) พิจารณาและสอบสวนหาขอเท็จจริงตามคํารองเรียนในกรณี<br />

(ก) การไมปฏิบัติตามกฎหมายหรือปฏิบัตินอกเหนืออํานาจหนาที่ตาม<br />

กฎหมายของขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ<br />

หรือรัฐวิสาหกิจหรือราชการสวนทองถิ่น<br />

(ข) ปฏิบัติหรือละเลยไมปฏิบัติหนาที่ของขาราชการ พนักงาน หรือ<br />

ลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวน<br />

ทองถิ่น ที่กอใหเกิดความเสียหายแกผูรองเรียนหรือประชาชนโดยไมเปนธรรม<br />

ไมวาการปฏิบัตินั้นจะชอบหรือไมชอบดวยอํานาจหนาที่ตามกฎหมายก็ตาม<br />

(ค) กรณีอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ<br />

(2) จัดทํารายงานพรอมทั้งเสนอความเห็นและขอเสนอแนะตอรัฐสภา<br />

ดังนั้น การสรางระบบการเมืองใหมีผูตรวจการแผนดินรัฐสภาจึงชวยควบคุมตรวจสอบการ<br />

ใชอํานาจรัฐใหเปนไปดวยความถูกตอง ชอบธรรม ชวยใหประชาชนไดมีสิทธิเรียกรอง และสราง<br />

ความตื่นตัว กระตุนการมีสวนรวมของประชาชน อันจะผอนคลายขอเรียกรองดังกลาวในที่สุด อีก<br />

ทั้งยังชวยกระตุนใหระบบราชการมีความกระฉับกระเฉง และเปนเหมือนองคกรชวยสรางดุลยภาพ<br />

ระหวางการบริหารที่มีประสิทธิภาพ ปองกันการถูกละเมิดหรือลวงล้ําจากกระบวนการบริหารและ<br />

การปกครองประเทศ นอกจากนี้ยังเปนเหมือนองคกรที่ชวยเสริมอยูภายนอกขององคกรอื่นๆ ที่ทํา<br />

หนาที่อยูตามกฎหมายเพื่อรักษาความเปนธรรม ขจัดการเลือกปฏิบัติในสังคมภายใตรัฐธรรมนูญ<br />

42


3.สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ<br />

เพื่อเปนการสนับสนุนรัฐธรรมนูญหมวดที่ 5 วาดวยแนวนโยบายแหงรัฐ จึงจัดตั้ง<br />

สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมขึ้น โดยประชาชนกลุมตางๆ ไดมีโอกาสเลือกผูแทนของทุกภาค<br />

ทุกกลุมในสังคมเขามา เพื่อสะทอนความตองการและความคิดเห็น ในรูปการใหคําปรึกษาและขอ<br />

เสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีในปญหาตางๆ ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจและสังคม สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจ<br />

และสังคมแหงชาติจึงนับเปนองคกรอิสระสําคัญอีกองคกรหนึ่งที่ถูกจัดตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแมวา<br />

จะมิไดมีการบัญญัติถึงองคประกอบ ที่มา และอํานาจหนาที่ไวในรัฐธรรมนูญเชนองคกรอิสระอื่นๆ<br />

อยางไรก็ดี รัฐธรรมนูญบัญญัติใหรายละเอียดในเรื่องเหลานี้เปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ (มาตรา<br />

89) หรือการใหมีการยกรางพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมขึ้นนั่นเอง<br />

ตามพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม พุทธศักราช 2543 สภาที่ปรึกษา<br />

เศรษฐกิจและสังคมประกอบดวยสมาชิกจํานวน 99 คน ซึ่งไดรับเลือกจากบุคคลที่เปนตัวแทนของ<br />

กลุมในภาคเศรษฐกิจ และกลุมในภาคสังคมฐานทรัพยากรและผูทรงคุณวุฒิ (มาตรา 5) มีอํานาจ<br />

หนาที่ดังตอไปนี้<br />

(1) ใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีในปญหาเกี่ยวกับเศรษฐกิจ<br />

และสังคม เพื่อประโยชนในการดําเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐที่บัญญัติใน<br />

หมวดที่ 5 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย<br />

(2) ใหความเห็นเกี่ยวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและแผนอื่นตาม<br />

มาตรา 14 รวมทั้งแผนอื่นใดที่มีกฎหมายกําหนดใหเสนอแผนนั้นตอสภาที่ปรึกษา<br />

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติกอนพิจารณาประกาศใช<br />

การจัดตั้งสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติขึ้นนั้น จึงนับเปนการชวยสงเสริมการ<br />

มีสวนรวมของประชาชนหรือองคกร ชวยสรางเครือขายและพลังทางสังคมในการเขามามีสวนรวม<br />

แสดงความคิดเห็น ใหขอมูล ชี้ถึงสภาพปญหาที่แทจริง ตลอดจนการกําหนดทิศทางการดําเนินการ<br />

รวมกันทางเศรษฐกิจและสังคมอยางมีองครวม มีความรัดกุม ครอบคลุมและแกประเด็นปญหา<br />

ตางๆ ไดตรงจุด นอกจากนี้ยังเปนเหมือนการชวยเปดพื้นที่สาธารณะสรางความเสมอภาคและความ<br />

เทาเทียมกันทางการเมืองมากยิ่งขึ้นตามเจตนารมณแหงรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน<br />

จะเห็นไดวา การจัดโครงสรางทางการเมืองตามรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน มุงสรางสถาบัน<br />

ทางการเมืองที่มีประสิทธิภาพ สุจริตโปรงใส และเพิ่มสวนรวมทางการเมือง โดยไดวางหลักการไว<br />

ใหโครงสรางทางการเมืองมีลักษณะเปด และมีการตรวจสอบถวงดุลกันระหวางสถาบันทางการ<br />

เมือง จะเห็นไดจากโครงสรางของรัฐสภาซึ่งยังคงใชระบบสองสภา ซึ่งมีขอดีในการตรวจสอบกลั่น<br />

กรองในทางนิติบัญญัติ และไดเพิ่มในสวนที่มาของสมาชิกในสภาทั้งสอง โดยเฉพาะสมาชิก<br />

วุฒิสภาที่บัญญัติใหมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนอันจะสอดคลองกับหลักการ<br />

ประชาธิปไตยยิ่งขึ้น<br />

43


ในสวนของฝายบริหารเอง รัฐธรรมนูญไดวางหลักการไวชัดเจนที่จะทําใหฝายบริหารแยก<br />

ขาดจากฝายสภา โดยการบัญญัติใหนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจะดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผูแทน<br />

ราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาในขณะเดียวกันมิได อันจะเปนผลดีในการแบงแยกการทําหนาที่และทํา<br />

ใหการถวงดุลยอํานาจระหวางฝายนิติบัญญัติและฝายบริหารเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

นอกจากนี้ เพื่อใหการเมืองสุจริตและโปรงใส รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันไดเพิ่มระบบ<br />

ตรวจสอบใหครบถวน มีอิสระอยางแทจริงและไมซ้ําซอนกันแตสงเสริมซึ่งกันและกัน รวมทั้งการ<br />

เพิ่มองคกรอิสระเพื่อทําหนาที่ควบคุมตรวจสอบการทําหนาที่ของฝายการเมือง และฝายราชการ<br />

ใหครอบคลุมทุกดาน รวมทั้งเพื่อเปนการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนอีกทางหนึ่งดวย<br />

(2.2.2) การแปลงเจตนารมณไปสูการปฏิบัติใชในรอบ 5 ปที่ผานมา<br />

รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันซึ่งเปนผลมาจากการปฏิรูปทางการเมือง มีสาระสําคัญหรือเจตนา<br />

รมณหลัก ดังที่ไดระบุไวในอารัมภบทคือ<br />

“..... สงเสริมและคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ใหประชาชนมีสวนรวมในการ<br />

ปกครอง และตรวจสอบการใชอํานาจรัฐเพิ่มขึ้น ตลอดทั้งปรับปรุงโครงสรางทางการเมืองใหมี<br />

เสถียรภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึ้น .....”<br />

นับตั้งแตบังคับใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ตั้งแตวันที่ 11<br />

ตุลาคม 2540 ซึ่งครบ 5 ปในวันที่ 10 ตุลาคม 2545 จากการติดตามและประเมินผลบังคับใช<br />

รัฐธรรมนูญ สรุปไดวามีการบังคับใชรัฐธรรมนูญ กอใหเกิดผลโดยภาพรวม ดังตอไปนี้<br />

(1) การออกกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่น<br />

รัฐธรรมนูญกําหนดกรอบเวลาในการพิจารณาอนุมัติกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ไวเปน<br />

2 ชวงคือ<br />

ชวงแรก ภายใน 240 วันนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ ใหรัฐสภาดําเนินการพิจารณา<br />

และใหความเห็นชอบรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จํานวน 3 ฉบับ ใหแลวเสร็จ ไดแก<br />

รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิก<br />

วุฒิสภา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการการเลือกตั้ง และรางพระราช<br />

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง 21<br />

ชวงที่สอง ภายใน 2 ปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ ใหดําเนินการตรากฎหมาย<br />

ประกอบรัฐธรรมนูญ จํานวน 5 ฉบับ ใหแลวเสร็จ ไดแก รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ<br />

วาดวยผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกัน<br />

21 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 323<br />

44


และปราบปรามการทุจริต รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของ<br />

ของ ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงิน<br />

22<br />

แผนดิน และรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติ<br />

ในการนี้ ไดมีการดําเนินการเสนอรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวขางตน<br />

เขาสูการพิจารณาของรัฐสภา และรัฐสภาไดพิจารณาใหความเห็นชอบใหประกาศใชบังคับเปน<br />

กฎหมาย จํานวนทั้งสิ้น 8 ฉบับ 23 โดยที่เมื่อบังคับใชไปแลวระยะหนึ่ง มีการเสนอใหแกไขเพิ่มเติม<br />

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิก<br />

วุฒิสภา ซึ่งในที่สุดประกาศใชเปนพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิก<br />

สภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2541 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2542 และ (ฉบับที่ 3)<br />

พ.ศ. 2543 24<br />

นอกจากนี้ เพื่อใหสามารถดําเนินการตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญได จําเปนจะตองมี<br />

การออกกฎหมายกําหนดหลักเกณฑหรือวิธีการเพื่อใหเปนไปตามเจตนารมณ ดังจะเห็นไดจากการ<br />

ที่รัฐธรรมนูญระบุไววา “ตามที่กฎหมายบัญญัติ” หรือ “ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ” ซึ่งโดยสรุป<br />

แลวรัฐธรรมนูญบัญญัติในลักษณะดังกลาวไว จํานวนทั้งสิ้น 56 มาตรา<br />

นับตั้งแตบังคับใชรัฐธรรมนูญ มีการดําเนินการเสนอ พิจารณาและใหความเห็นชอบ<br />

รางกฎหมายเพื่อกําหนดหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับเรื่องตางๆ ไปจํานวนไมนอย แตอยางไร<br />

ก็ตาม ยังไมสามารถดําเนินการใหครบถวนทุกมาตราได<br />

(2) การเลือกตั้งระดับชาติ และการเลือกตั้งระดับทองถิ่น<br />

ระบบเลือกตั้งของประเทศไทยแบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ การเลือกตั้งระดับชาติ<br />

และการเลือกตั้งระดับทองถิ่น<br />

(2.1) การเลือกตั้งระดับชาติ<br />

การเลือกตั้งระดับชาติ ไดแก การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ซึ่งมี<br />

รายละเอียดดังตอไปนี้<br />

22 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 329<br />

23 ราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนที่ 35 ก ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2541, เลม 116 ตอนที่ 81 ก ลงวันที่ 14<br />

กันยายน 2542 , เลม 116 ตอนที่ 114 ก ลงวันที่ 17 พฤศจิกายน 2542 , เลม 116 ตอนที่ 115 ก ลงวันที่ 18<br />

พฤศจิกายน 2542 , เลม 116 ตอนที่ 81 ก ลงวันที่ 14 กันยายน 2542 , เลม 115 ตอนที่ 35 ก ลงวันที่ 9 มิถุนายน<br />

2541 , เลม 115 ตอนที่ 35 ก ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2541 และ เลม 115 ตอนที่ 102 ก ลงวันที่ 31 ธันวาคม 2541<br />

24 เลม 116 ตอนที่ 114 ก ลงวันที่ 17 พฤศจิกายน 2542 และเลม 116 ตอนที่ 100 ก ลงวันที่ 7<br />

พฤศจิกายน 2543<br />

45


(2.1.1) การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา<br />

ในการพิจารณายกรางรัฐธรรมนูญของสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญ มีการอภิปรายกันอยาง<br />

กวางขวางเกี่ยวกับสถาบันวุฒิสภา วาจะยังคงใหมีอยูเปนระบบสองสภา ใหยกเลิกเปนระบบสภา<br />

เดียว หรือใหเปลี่ยนแปลงโครงสรางและอํานาจหนาที่ของวุฒิสภา ในทายที่สุดก็ยังคงสถาบัน<br />

วุฒิสภาไว โดยที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากวุฒิสภาในอดีต ทั้งโครงสรางและอํานาจหนาที่ กลาว<br />

คือ กําหนดใหสมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน จํานวน 200 คน โดยใช<br />

จังหวัดเปนเขตเลือกตั้ง 25 และใหมีอํานาจหนาที่หลักในการพิจารณากลั่นกรองรางกฎหมาย<br />

ควบคุมการบริหารราชการแผนดิน (โดยการตั้งกระทูถาม อภิปรายทั่วไปโดยไมมีการลงมติ และ<br />

แตงตั้งคณะกรรมาธิการ) เลือกและแตงตั้งบุคคลดํารงตําแหนงในองคกรอิสระหรือองคกรตรวจ<br />

สอบตางๆ และพิจารณาถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนง 26<br />

คณะกรรมการการเลือกตั้งไดจัดใหมีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญ<br />

ขึ้น โดยที่มีพระราชกฤษฎีกา กําหนดใหวันที่ 4 มีนาคม 25443 เปนวันเลือกตั้งทั่วไป ภายหลังการ<br />

นับคะแนน คณะกรรมการการเลือกตั้งไดประกาศรับรองผลการเลือกตั้งใหผูสมัครรับเลือกตั้งเปน<br />

สมาชิกวุฒิสภาเพียง 122 คน คณะกรรมการการเลือกตั้งตองประกาศใหมีการเลือกตั้งครั้งที่ 2 ครั้งที่<br />

3 ครั้งที่ 4 และครั้งที่ 5 27 จึงสามารถประกาศรับรองผลการเลือกตั้งไดครบจํานวนที่รัฐธรรมนูญ<br />

กําหนดไว คือ 200 คน<br />

(2.1.2) การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร<br />

รัฐธรรมนูญไดกําหนดใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของ<br />

ประชาชน แตอยางไรก็ตาม ไดมีการเปลี่ยนแปลงระบบเลือกตั้งใหม โดยที่กําหนดใหมี “คณะ<br />

กรรมการการเลือกตั้ง” ซึ่งมีสถานะเปนองคกรอิสระ ทําหนาที่ในการควบคุมและดําเนินการจัด<br />

หรือจัดใหมีการเลือกตั้งทั้งระดับชาติและระดับทองถิ่น 28 อีกทั้งไดแบงสมาชิกสภาผูแทนราษฎร<br />

ออกเปน 2 ประเภท ไดแก สมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (party list) และสมาชิกสภา<br />

ผูแทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง และกระบวนการเลือกตั้งตางๆ ไมวาจะเปนการสมัครรับเลือก<br />

ตั้ง การแบงเขตเลือกตั้ง การสรรหาและแตงตั้งพนักงานผูดําเนินการเลือกตั้ง ผูมีสิทธิเลือกตั้งและ<br />

บัญชีรายชื่อผูมีสิทธิเลือกตั้ง คาใชจายในการเลือกตั้งและวิธีการหาเสียงเลือกตั้ง การลงคะแนนเสียง<br />

25 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 121 และมาตรา 122<br />

26 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 174-175 มาตรา 182-183 มาตรา 187<br />

มาตรา 189 มาตรา 136 มาตรา 196 มาตรา 199 มาตรา 255 มาตรา 277 มาตรา 297 มาตรา 312 และมาตรา 303-<br />

307<br />

27 เลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาครั้งที่ 2 วันที่ 29 เมษายน 2543 ครั้งที่ 3 วันที่ 4 มิถุนายน 2543 ครั้งที่ 4 วันที่<br />

24 มิถุนายน 2543 และวันที่ 9 กรกฎาคม 2543 และครั้งที่ 5 วันที่ 22 กรกฎาคม 2543<br />

28 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 136 ประกอบมาตรา 144<br />

46


เลือกตั้ง การนับคะแนนเสียงเลือกตั้ง การประกาศผลการเลือกตั้ง และการควบคุมตรวจสอบการ<br />

เลือกตั้ง ก็เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอยางสิ้นเชิง (สถาบันพระปกเกลา , 2544 , น.3-1 – 3-25)<br />

ไดมีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรขึ้นเปนครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญ โดยที่ได<br />

มีพระราชกฤษฎีกากําหนดใหวันที่ 6 มกราคม 2544 เปนวันเลือกตั้งทั่วไป แตเมื่อจัดการเลือกตั้ง<br />

และประกาศผลการเลือกตั้งแลว ปรากฎวาคณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศรับรองผลใหผูสมัคร<br />

รับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ไดไมครบตามจํานวนที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายกําหนด<br />

จําเปนตองจัดใหมีการเลือกตั้งใหม อีก จํานวน 4 ครั้ง ไดแก วันที่ 29 มกราคม 2544 วันที่ 1<br />

กุมภาพันธ 2544 วันที่30 มิถุนายน 2544 และวันที่ 18 สิงหาคม 2544 (สถาบันพระปกเกลา , 2544 ,<br />

น.3-116) ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปและการเลือกตั้งใหม คณะกรรมการการเลือกตั้ง ไดประกาศรับ<br />

รองใหผูสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทั้งแบบบัญชีรายชื่อและแบบแบงเขตเลือก<br />

ตั้ง จํานวนทั้งสิ้น 500 คน ซึ่งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ชุดแรกนี้ไดเขาปฏิบัติหนาที่ตามที่กําหนดไว<br />

ในรัฐธรรมนูญเปนเวลาปเศษ<br />

(2.2) การเลือกตั้งระดับทองถิ่น<br />

การเลือกตั้งระดับทองถิ่น ไดแก การเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ซึ่ง<br />

ปจจุบัน มีองคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้งสิ้น 5 รูปแบบ คือ กรุงเทพมหานคร พัทยา องคการ<br />

บริหารสวนจังหวัด (อบจ.) องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) และเทศบาล<br />

นอกจากรัฐธรรมนูญกําหนดใหมีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการเลือกตั้งระดับชาติดังกลาว<br />

ขางตนแลว ในสวนของการเลือกตั้งระดับทองถิ่นก็ไดกําหนดใหมีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต โดย<br />

มีเจตนารมณ ที่จะใหกระจายอํานาจสูทองถิ่น กลาวคือ กําหนดใหสมาชิกสภาทองถิ่นมาจากการ<br />

เลือกตั้ง คณะผูบริหารทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน หรือ<br />

มาจากความเห็นชอบของสภาทองถิ่น 29 โดยที่กําหนดใหคณะกรรมการการเลือกตั้งมีอํานาจหนาที่<br />

ในการควบคุมและดําเนินการจัดหรือจัดใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น<br />

ซึ่งมีการระบุเงื่อนเวลาไวใหคณะกรรมการการเลือกตั้งเริ่มควบคุมและดําเนินการจัดหรือจัดการ<br />

เลือกตั้งระดับทองถิ่น ภายใน 10 ปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญ<br />

ในการนี้ บทเฉพาะกาลแหงพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการการ<br />

เลือกตั้ง กําหนดใหคณะกรรมการการการเลือกเสนอรางกฎหมายวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภา<br />

ทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นตอคณะรัฐมนตรี ภายใน 1 ปนับแตวันที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐ<br />

ธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการการเลือกตั้งใชบังคับ 30 ซึ่งคณะกรรมการการเลือกตั้งไดดําเนินการ<br />

เสนอรางพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ. .... เขาสูการ<br />

พิจารณาของรัฐสภา ขณะนี้ผานการพิจารณาของคณะกรรมาธิการรวมกันของทั้งสองสภาแลว<br />

29 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 285<br />

30 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ.2541 มาตรา 43<br />

47


(3) องคกรอิสระ<br />

โครงสรางระบบการบริหารของประเทศไทยในอดีต ยึดติดอยูกับระบบที่ตั้งอยูบนพื้นฐาน<br />

ของการแบงความชํานาญเฉพาะดานใหแกแตละหนวยงาน มีการจัดลําดับอํานาจหนาที่และการ<br />

บังคับบัญชาตามลําดับชั้น ทําใหการบริหารงานลาชา ขาดการประสานงานระหวางหนวยงานใน<br />

ลักษณะที่มองผลประโยชนสวนรวมเปนหลัก และที่สําคัญประเทศไทยมีองคกรตรวจสอบหลาย<br />

องคกร แตละองคกรมีไมสามารถปฏิบัติภารกิจหนาที่ไดอยางเต็มที่และมีประสิทธิภาพ เนื่องจากยัง<br />

เปนองคกรที่อาจถูก “ครอบงํา” โดยฝายการเมืองหรือฝายขาราชการประจําได เชน คณะกรรมการ<br />

คุมครองผูบริโภค คณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนแหงชาติ จึงมีขอเสนอ<br />

ทางวิชาการใหยกฐานะองคกรควบคุมตรวจสอบเหลานี้เหลานี้ขึ้นเปนองคกรของรัฐที่เปนอิสระ<br />

ใหมีอํานาจหนาที่วางระเบียบและควบคุมกิจกรรมบางอยางภายในรัฐ ไมวาจะเปนกิจกรรมที่ดําเนิน<br />

การโดยภาครัฐหรือภาคเอกชน รวมทั้งการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน โดยที่สมาชิก<br />

ที่ประกอบเปนองคกรเหลานี้มีความเปนอิสระปลอดจากการ แทรกแซงหรือการบังคับบัญชา<br />

จากหนวยงานอื่น มีอิสระในการดําเนินงานเอง แตอยางไรก็ตาม องคกรของรัฐที่เปนอิสระมิใช<br />

อิสระโดยปราศจากการตรวจสอบ โดยใหวุฒิสภามีอํานาจถอดถอนผูดํารงตําแหนงในองคกรอิสระ<br />

ในกรณีที่มีพฤติการณร่ํารวยผิดปกติ สอไปในทางทุจริตตอหนาที่ สอวากระทําผิดตอตําแหนง<br />

หนาที่ หรือสอวาจงใจใชอํานาจหนาที่ขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย (สถาบัน<br />

กฎหมายอาญา, 2541, น.221-222) และในขณะเดียวกันองคกรอิสระตางก็ควบคุมตรวจสอบซึ่งกัน<br />

และกันไปดวย<br />

รัฐธรรมนูญกําหนดใหมีองคกรอิสระ เพื่อทําหนาที่ควบคุมตรวจสอบการใชอํานาจรัฐดาน<br />

ตางๆ จํานวน 9 องคกร ไดแก<br />

(3.1) สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ<br />

(3.2) คณะกรรมการการเลือกตั้ง<br />

(3.3) ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา<br />

(3.4) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ<br />

(3.5) ศาลรัฐธรรมนูญ<br />

(3.6) ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง<br />

(3.7) ศาลปกครอง<br />

(3.8) คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ<br />

(3.9) คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน<br />

ทั้งนี้ แมจะเปนองคกรอิสระเชนเดียวกัน แตรัฐธรรมนูญไดกําหนดโครงสรางและ<br />

องคประกอบ ของแตละองคกรใหแตกตางกันออกไป โดยคํานึงถึงอํานาจหนาที่ซึ่งแตกตางกันของ<br />

48


แตละองคกรเปนสําคัญ นอกจากนี้ ไดกําหนดหลักประกันความเปนอิสระในการใชอํานาจหนาที่<br />

ขององคกรอิสระไวดวย เชน<br />

- ระบุไวในหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ วา “รัฐตองจัดสรรงบประมาณใหพอ<br />

เพียง กับการบริหารงานโดยอิสระของคณะกรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการแผนดิน<br />

ของรัฐสภา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม<br />

ศาลปกครอง คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ และคณะ<br />

กรรมการตรวจเงินแผนดิน” 31<br />

- ระบุใหศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต<br />

แหงชาติ คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน และคณะกรรมการการเลือกตั้ง มีหนวย<br />

ธุรการที่เปนอิสระ และใหหนวยธุรการดังกลาว มีอิสระในการบริหารงานบุคคล<br />

การงบประมาณ และการดําเนินการอื่นดวย 32<br />

กลาวโดยสรุป องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มีลักษณะดังตอไปนี้ (บวรศักดิ์ อุวรรณโณ,<br />

2541, น. 412-417)<br />

ประการที่ 1 มีการใชองคกรอิสระในขอบเขตที่จํากัดมาก กลาวคือ ใชเฉพาะใหเปนฝาย<br />

เลขานุการ หรือหนวยธุรการ หรือหนวยวิชาการขององคกรตรวจสอบ ซึ่งองคกรเหลานี้ตองทํา<br />

หนาที่เปนกลางอยางเครงครัด ที่การเมืองจะเขาไปแทรกแซงไมได ดังนั้น ฝายบริหารซึ่งรับผิดชอบ<br />

ตอ ประชาชนและตองรับผิดตอสภาอยูแลว จึงไมจัดใหมีองคกรอิสระมาก เพราะจะทําใหบริหาร<br />

บานเมืองไดลําบาก ในตางประเทศจึงเอาองคกรอิสระไปใชเฉพาะในบางเรื่อง ไดแก<br />

- องคกรอิสระทําหนาที่ฝายเลขานุการ และฝายวิชาการขององคกรควบคุม<br />

- ตองเปนองคกรซึ่งตองมีความเปนกลางทางการเมืองจริงๆ เชน คณะกรรมการกํากับ<br />

หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ที่เรียกวา ก.ล.ต. ตองไมมีการแทรกแซงของฝายการเมือง<br />

ซึ่ง ก.ล.ต.ของไทยจะมีปญหาเกี่ยวกับความเปนกลาง เพราะมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง และ<br />

ขาราชการประจําเขาไปอยูใน ก.ล.ต.ดวย<br />

- องคกรตรวจสอบและพิสูจนทั้งหลาย เชน องคกรที่จะตองใชความรูความสามารถใน<br />

การพิสูจนหลักฐาน หรือตองใชความรูทางวิชาการที่เปนกลาง<br />

เหตุผลอีกประการที่จะไมใชองคกรอิสระอยางพร่ําเพรื่อ เพราะจะไมมีผูรับผิดชอบ<br />

ตอประชาชน เนื่องจากองคกรอิสระไมอยูภายใตการสั่งการของบุคคลหรือองคกรใดๆ ดวยเหตุนี้<br />

31 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 75 วรรคสอง<br />

32 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 270 มาตรา 280 มาตรา 302 มาตรา 312<br />

มาตรา 327 และมาตรา 333<br />

49


ในตางประเทศและรัฐธรรมนูญของไทย จึงไมจํากัดเรื่ององคกรอิสระไวเทาที่จําเปน ในองคกรที่<br />

ตองการความเปนกลางทางการเมืองอยางเครงครัดเทานั้น<br />

ประการที่ 2 องคกรอิสระไมขึ้นกับฝายนิติบัญญัติหรือฝายบริหาร<br />

ประการที่ 3 ตองมีความเปน “อิสระ” ในการบริหารงานบุคคล ในการงบประมาณในการ<br />

ดําเนินการอื่น<br />

ความเปนอิสระทางงบประมาณ กลาวคือ ถาหากใหตองของบประมาณจากฝายบริหาร คือ<br />

จากสํานักงบประมาณ องคกรเหลานี้ก็จะไมสามารถเปนอิสระไดอยางแทจริง ซึ่งในตางประเทศจะ<br />

เครงครัดในเรื่องความเปนอิสระในทางงบประมาณจริงๆ ไมยอมรับใหตั้งงบประมาณตอสภาเปน<br />

รายป อาจใหตั้ง “กองทุนหมุนเวียน หรือกองทุนคงยอดเงินตน” ใหกับองคกรอิสระเหลานี้ เชน<br />

ประเทศอังกฤษมีกองทุนซึ่งรัฐบาลจัดสรรใหเปนเงินกอนใหญมิใชรายป เพื่อเอาสวนของดอกผล<br />

จายเปนเงินเดือนใหผูพิพากษา โดยไมตองขอจากสภาเปนรายป แตในประเทศไทยยังคงใชวิธีให<br />

องคกรอิสระของบประมาณเขาไปที่สภา เนื่องจากขณะนี้มีปญหาทางเศรษฐกิจ ตอไปในอนาคต<br />

อาจตองมีกองทุนคงยอดเงินตน หรือเงินกองทุนหมุนเวียนเชนเดียวกันนี้ เพื่อประกันความเปน<br />

อิสระขององคกรเหลานี้ ไมใหตองของบประมาณจากฝายการเมืองแตละปไป<br />

อิสระในการดําเนินการตามกฎหมายและตามรัฐธรรมนูญ โดยไมตองฟงคําสั่ง คําบัญชา<br />

จากคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา แตตองระมัดระวังวาความเปนอิสระนั้น เปนคนละเรื่องกับอําเภอใจ<br />

ดังนั้นตองมีระบบการตรวจสอบ ๒ ชั้น คือ ชั้นที่หนึ่งการตรวจสอบบุคลากร กอนเขาสูตําแหนงใน<br />

องคกรอิสระตางๆ แตเมื่อเขาสูตําแหนงแลวก็ไมสามารถถูกถอดถอนไดโดยงาย เวนแตการทําผิด<br />

อยางรายแรง ชั้นที่สององคกรอิสระถูกตรวจสอบโดยทางอื่นไดดวย เชน การใชเงิน<br />

ในตอนทาย ผูเขียนไดเนนวา “องคกรอิสระ” มิใช “องคการมหาชน” เพราะองคการ<br />

มหาชนนั้นยังอยูในฝายบริหาร เพียงแตไมไดอยูในอํานาจบังคับบัญชา แตอยูในอํานาจกํากับดูแล<br />

ของฝายบริหารเทานั้น และองคการมหาชนไมใชรัฐวิสาหกิจเพราะ ไมไดดําเนินการผลิต จําหนาย<br />

สินคาหรือบริการ แตเปนองคกรทางสังคมหรือวัฒนธรรม และอยูภายใตการกํากับของฝายบริหาร<br />

(4) อภิปรายไมไววางใจ<br />

รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน ไดปรับปรุงการอภิปรายไมไววางนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี<br />

เพื่อแกไขปญหาในอดีตที่ไมสามารถใชกลไกการอภิปรายไมไววางใจไดตามวัตถุประสงคที่แทจริง<br />

โดยที่การอภิปรายไมไววางใจตามรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันมีหลักการที่สําคัญๆ ดังนี้<br />

(4.1) กําหนดใหการยื่นญัตติอภิปรายไมไววางใจนายกรัฐมนตรีทําไดยากกวายื่นญัตติ<br />

อภิปรายไมไววางใจรัฐมนตรี กลาวคือ ตองใชเสียง 2 ใน 5 ของจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ใน<br />

ขณะที่ยื่นญัตติอภิปรายรัฐมนตรี ใชเสียงเพียง 1 ใน 5 ของจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร อีกทั้ง<br />

การยื่นญัตติอภิปราย ไมไววางใจนากยกรัฐมนตรีนั้น จะตองเสนอชื่อผูสมควรดํารงตําแหนง<br />

นายกรัฐมนตรีคนใหมดวย ซึ่งเรียกวาเปน “การอภิปรายเชิงสรางสรรค”<br />

50


(4.2) หากเปนการยื่นญัตติอภิปรายไมไววางใจนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี ดวยขอกลาว<br />

หาวามีพฤติการณร่ํารวยผิดปกติ สอไปในทางทุจริตตอหนาที่ราชการ หรือจงใจฝาฝนบทบัญญัติ<br />

แหงรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ตองมีการเสนอใหถอดถอนบุคคลดังกลาวดวย ทั้งนี้ เพื่อใหแยก<br />

การตรวจสอบทางการเมืองออกจากการตรวจสอบทางกฎหมายนั่นเอง ซึ่งกระบวนการตรวจสอบ<br />

ทั้งสองทางนี้แยกออกจากกันโดยสิ้นเชิง ผลของการอภิปรายและการถอดถอนไมมีสวนเกี่ยวของ<br />

กันแตอยางใด ในการนี้ หากคณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาแลว เห็นวามีมูลรัฐมนตรีที่ถูกกลาวหา<br />

จะปฏิบัติหนาที่ตอไปมิได จนกวาวุฒิสภาจะมีมติ<br />

นอกจากนี้ กลไกและมาตรการดังกลาว จะทําใหมีการพิจารณาเอาผิดกับผูถูกกลาวหาอยาง<br />

จริงจัง และในขณะเดียวกันก็เพื่อปองกันมิใหมีการกลาวหากันโดยปราศจากมูลความจริง อันจะทํา<br />

ใหเกิดความเสียหายแกผูถูกกลาวหาได<br />

(4.3) กําหนดหามยุบสภาผูแทนราษฎร เมื่อมีการยื่นญัตติอภิปรายไมไววางใจนายก<br />

รัฐมนตรี ทั้งนี้ เพื่อมิใหมีการยุบสภาหนีการอภิปรายหรือการลงมติ แตใหมีการตรวจสอบของสภา<br />

ผูแทนราษฎรดําเนินไปจนถึงขั้นสุดทายโดยไมมีสิ่งใดมาขัดขวางนั่นเอง (สถาบันกฎหมายอาญา ,<br />

2541, น. 208-210)<br />

นับตั้งแตบังคับใชรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน มีการเสนอญัตติอภิปรายไมไววางใจรัฐมนตรี<br />

เพียง 1 ครั้ง แตเปนการเสนอญัตติอภิปรายรัฐมนตรีถึง 15 คน ดวยขอกลาวหาตางๆ ดังนี้<br />

- รอยตํารวจเอกปุระชัย เปยมสมบูรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย<br />

- นายสมบัติ อุทัยสาง รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย<br />

- นายสุริยะ จึงรุงเรืองกิจ รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม<br />

- นายอดิศัย โพธารามิก รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย<br />

- นายประชา มาลีนนท รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม<br />

- นายสุวิทย คุณกิตติ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ<br />

- นายสมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี<br />

- พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม<br />

- พลเอกยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงกลาโหม<br />

- รอยเอกสุชาติ เชาววิศิษฐ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการคลัง<br />

- นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง<br />

- นายประพัฒน ปญญาชาติรักษ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

- นายพิทักษ อินทรวิทยนันท รองนายกรัฐมนตรี<br />

- นายเดช บุญ-หลง รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม<br />

- นางลดาวัลลิ์ วงศศรีวงศ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม<br />

51


ภายหลังการอภิปรายของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร และตอบชี้แจงของรัฐมนตรีตางๆ<br />

ระหวางวันที่ 22-25 พฤษภาคม 2545 ไดมีการกําหนดใหที่ประชุมสภาผูแทนราษฎรลงมติไววางใจ<br />

หรือไมไววางใจ ในวันที่ 28 พฤษภาคม 2545 (“ทรท.เอาคน สั่ง รมต.แจงจับ – ถอดถอน แกลําฝาย<br />

คาน กาหัวอภิสิทธิ์ – สุวโรช ศึกซักฟอกสามวันไมจบ วิปรบ.ปลอยจอขามคืน นัดลงมติอังคาร 28<br />

พ.ค.” มติชน (25 พ.ค.2545)) ซึ่งผลการลงมติปรากฏวา ไดใหความไววางใจรัฐมนตรีทั้ง 15 คน<br />

โดยที่คะแนนเสียงไววางใจแตกตางกัน (“เจแดง – วังบัวบาน ของใจ นองเสนาะ โหวตไมไววางใจ<br />

สมศักดิ์” มติชน (29 พ.ค.2545)) ดังนี้<br />

- นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ ไดคะแนนไววางใจ 357 ตอ 131 เสียง งดออกเสียง 1 เสียง<br />

และไมลงคะแนน อีก 1 เสียง<br />

- รอยเอกสุชาติ เชาววิศิษฐ ไดคะแนนไววางใจ 359 ตอ 132 เสียง<br />

- ร.ต.อ.ปุระชัย เปยมสมบูรณ ไดคะแนนไววางใจ 359 ตอ 132 เสียง งดออกเสียง 3<br />

เสียง<br />

- นายสมบัติ อุทัยสาง ไดคะแนนไววางใจ 359 ตอ 132เสียง งดออกเสียง 3 เสียง<br />

- นายอดิศัย โพธารามิก ไดคะแนนไววางใจ 358 ตอ 133 เสียง งดออกเสียง 3 เสียง<br />

- นายสุริยะ จึงรุงเรืองกิจ ไดคะแนนไววางใจ 359 ตอ 132 เสียง งดออกเสียง 3 เสียง<br />

- พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ไดคะแนนไววางใจ 358 ตอ 130 เสียง งดออกเสียง 5 เสียง<br />

- พลเอกยุทธศักดิ์ ศศิประภา ไดคะแนนไววางใจ 355 ตอ 132 เสียง งดออกเสียง 4 เสียง<br />

- นายพิทักษ อินทรวิทยนันน ไดคะแนนไววางใจ 359 ตอ 132 เสียง งดออกเสียง 3<br />

เสียง<br />

- นายสมศักดิ์ เทพสุทิน ไดคะแนนไววางใจ 355 ตอ 133 เสียง งดออกเสียง 4 เสียง<br />

และไมลงคะแนน อีก 2 เสียง<br />

- นายเดช บุญ-หลง ไดคะแนนไววางใจ 358 ตอ 131 เสียง งดออกเสียง 4 เสียง<br />

- นางลดาวัลลิ์ วงศศรีวงศ ไดคะแนนไววางใจ 357 ตอ 132 เสียง งดออกเสียง 5 เสียง<br />

- นายประพัฒน ปญญาชาติรักษ ไดคะแนนไววางใจ 357 ตอ 132 เสียง งดออกเสียง 4<br />

เสียง<br />

- นายประชา มาลีนนท ไดคะแนนไววางใจ 357 ตอ 132 เสียง งดออกเสียง 3 เสียง<br />

- นายสุวิทย คุณกิตติ ไดคะแนนไววางใจ 357 ตอ 131 เสียง งดออกเสียง 4 เสียง และ<br />

ไมลงคะแนน อีก 1 เสียง<br />

(5) การถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนง<br />

ดังที่ไดกลาวมาแลววาในอดีตประเทศไทยประสบกับปญหาการใชอํานาจรัฐโดยมิชอบทั้ง<br />

ในระดับของขาราชการการเมืองและขาราชการประจํา กอใหเกิดแนวความคิดในการปฏิรูป<br />

การเมือง จนกระทั่งไดมีการพิจารณายกรางรัฐธรรมนูญขึ้นและประกาศใชบังคับเปนรัฐธรรมนูญ<br />

52


ฉบับปจจุบัน โดยเฉพาะอยางยิ่งการตรวจสอบทั้งทางการเมืองและการตรวจสอบทางกฎหมายไม<br />

สามารถใชไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ประกอบกับกลไกและมาตรการตรวจสอบและ<br />

ถวงดุล (check and balance) ในระบบรัฐสภาไมสามารถควบคุมตรวจสอบการใชอํานาจรัฐได<br />

ดังนั้น จึงมีการกําหนดกลไกหรือมาตรการตรวจสอบใหมๆ ไวในรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน<br />

หนึ่งในกลไกหรือมาตรการดังกลาว ก็คือ การถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนง โดยที่กําหนดให<br />

วุฒิสภา เปนองคกรที่มีอํานาจหนาที่ในการพิจารณาถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนง 33 จากการ<br />

เสนอของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จํานวนไมนอยกวา 1 ใน 4 ของจํานวนจํานวนสมาชิกสภา<br />

ผูแทนราษฎรทั้งหมด หรือประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งไมนอยกวา 50,000 คน 34 หรือผูเสียหายจาก<br />

การกระทําผิด 35 และไดผานการพิจารณาไตสวนของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการ<br />

ทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) 36<br />

กลาวโดยสรุป รัฐธรรมนูญกําหนดใหมีการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐเพิ่มขึ้นอีกหนึ่ง<br />

กลไกหรือมาตรการ คือ การถอดถอนออกจากตําแหนง โดยที่กระบวนการในการถอดถอนนั้น ไดมี<br />

การแบงแยกอํานาจหนาที่ระหวางการเสนอเรื่องใหถอดถอน การพิจารณาไตสวนขอเท็จจริงและ<br />

พยานหลักฐาน และองคกรวินิจฉัยชี้ขาดออกจากกัน ซึ่งการกําหนดไวในลักษณะดังกลาวนี้เปนการ<br />

สอดคลองกับหลักการสากล (บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และปทมา สูบกําปง , 2543, น.73-75)<br />

นับตั้งแตบังคับใชรัฐธรรมนูญ มีการเสนอเรื่องใหถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนง ดวยขอ<br />

กลาวหาตางๆ ดังตอไปนี้<br />

(5.1) พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร พรอมสมาชิกสภาผูแทน<br />

ราษฎรจํานวน 115 คน ไดรองขอตอประธานวุฒิสภา เพื่อใหถอดถอนนายสุเทพ เทือกสุบรรณ<br />

รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ดวยขอกลาวหาที่วามีพฤติการณสอไปในทางทุจริตตอหนาที่<br />

สอวากระทําผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการหรือสอวาจงใจใชอํานาจหนาที่ขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐ<br />

ธรรมนูญหรือกฎหมาย ซึ่งผลการพิจารณาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. แลว มีมติเปนเอกฉันท ดวย<br />

คะแนนเสียง 9 เสียงวาขอกลาวหานายสุเทพ เทือกสุบรรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาม วามี<br />

พฤติการณสอไปในทางทุจริตตอหนาที่ สอวากระทําผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการ หรือสอวา<br />

ใชอํานาจหนาที่ขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายไมมีมูล ใหขอกลาวหานั้นตกไป<br />

และใหจัดทํารายงานผลการไตสวนขอเท็จจริงเสนอตอประธานวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแหงราช<br />

อาณาจักรไทย มาตรา 305 วรรคสองตอไป 37<br />

33 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 303 ประกอบมาตรา 307<br />

34 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 304<br />

35 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 309<br />

36 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 305<br />

37 ขาวการประชุม คณะกรรมการ ป.ป.ช. ขาวที่ 5/2543 วันที่ 20 มิถุนายน 2543<br />

53


(5.2) นายทองกอน วงศสมุทร และคณะจํานวน 163,126 คน รวมกันเขาชื่อรองขอตอ<br />

ประธานวุฒิสภา เพื่อใหถอดถอนนายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี และนายธารินทร นิมมานเห<br />

มินท รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ดวยขอกลาวหาวาใชอํานาจหนาที่ขัดตอบทบัญญัติของ<br />

รัฐธรรมนูญ มาตรา 27 มาตรา 29 มาตรา 30 มาตรา 48 มาตรา 201 มาตรา 205 และมาตรา 212 ซึ่ง<br />

ผลการพิจารณาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. แลว มีมติเปนเอกฉันทวาขอกลาวหาตามคํารองขอให<br />

ถอดถอนนายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีและนายธานินทร นิมมานเหมินท รัฐมนตรีวาการ<br />

กระทรวงการคลังออกจากตําแหนงไมมีมูลใหขอกลาวหานั้นตกไป ตามพระราชบัญญัติประกอบ<br />

รัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 มาตรา 53 ใหสงรายงานไปยัง<br />

ประธานวุฒิสภา โดยเร็วตอไป 38<br />

(5.3) มีการยื่นญัตติขอเปดอภิปรายไมไววางใจรัฐมนตรี พรอมกับเสนอเรื่องตอประธาน<br />

วุฒิสภา ใหถอดถอนออกจากตําแหนงดวย จํานวน 9 คน ดังนี้<br />

- นายสุวิทย คุณกิตติ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ<br />

- นายสมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี<br />

- นายวันมูหะมัดนอร มะทา รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม<br />

- พลเอกชวลติ ยงใจยุทธ รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม<br />

- พลเอกยุทธศักดิ์ ศศิประภา รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงกลาโหม<br />

- รอยเอกสุชาติ เชาววิศิษฐ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการคลัง<br />

- นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง<br />

- นายประพัฒน ปญญาชาติรักษ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

- นายพิทักษ อินทรวิทยนันท รองนายกรัฐมนตรี<br />

ในการนี้ ประธานวุฒิสภาไดสงใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต<br />

แหงชาติ เพื่อดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐาน นําเสนอรายงานตอวุฒิสภา<br />

เพื่อพิจารณาถอดถอนตอไป และไดมีการแบงความรับผิดชอบในการดูแลเก็บขอมูลและไตสวน<br />

เรื่องถอดถอนระหวางกรรมการ ป.ป.ช. ซึ่งขณะนี้อยูระหวางดําเนินการของกรรมการ ป.ป.ช.ที่ได<br />

รับผิดชอบแตละเรื่อง (“มีชัยเตือนสติรื้อรัฐธรรมนูญ” สยามรัฐ (12 มิ.ย.2545)<br />

(6) ประชาชนเขาชื่อเสนอรางกฎหมาย<br />

ในอดีตประชาชนมีสวนรวมในทางการเมืองไดโดยผานกลไกเดียว ไดแก การใชสิทธิ<br />

เลือกตั้ง ซึ่งกลไกดังกลาวไมสามารถใชไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพียงพอที่จะ<br />

สะทอนความตองการของประชาชนได ระบบผูแทนไมสามารถตอบสนองตอความตองการของ<br />

38 ขาวการประชุม คณะกรรมการ ป.ป.ช. ขาวที่ 11/2544 วันที่ 16 สิงหาคม 2544<br />

54


ประชาชนในการแกไขปญหาตางๆ ใหกับประชาชนได ดังนั้น สมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญ<br />

จึงพยายามแกปญหาดังกลาว โดยที่กําหนดใหประชาชนมีสวนรวมในทางการเมืองมากยิ่งขึ้น<br />

รัฐธรรมนูญกําหนดใหผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวนไมนอยกวา 50,000 คน มีสิทธิเขาชื่อเสนอ<br />

รางกฎหมายใหรัฐสภาพิจารณาใหความเห็นชอบได โดยที่กําหนดเงื่อนไขวาตองเปนรางกฎหมายที่<br />

เกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ 39 ในการนี้ ไดมีการ<br />

บัญญัติกฎหมาย เพื่อรองรับบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ คือ พระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอ<br />

กฎหมาย พ.ศ. 2541 ซึ่งไดกําหนดหลักเกณฑวิธีการในการเขาชื่อเสนอรางกฎหมายวาใหมีการจัด<br />

ทํารางพระราชบัญญัติเสนอมาดวย (สถาบันกฎหมายอาญา , 2541 , น. 190-191)<br />

นับตั้งแตประกาศใชรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ.<br />

2541 ผูมีสิทธิเลือกตั้งไดเขาชื่อเสนอรางกฎหมายใหรัฐสภาพิจารณา จํานวนทั้งสิ้น 8 ฉบับ ดังนี้<br />

- รางพระราชบัญญัติคุมครองสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอมในสถานประกอบ<br />

การ พ.ศ. ....<br />

- รางพระราชบัญญัติสภาการเกษตรแหงชาติ พ.ศ. ....<br />

- รางพระราชบัญญัติปาชุมชน พ.ศ. ....<br />

- รางพระราชบัญญัติกองทุนหมูบานแหงชาติ พ.ศ. ....<br />

- รางพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ....<br />

- รางพระราชบัญญัติธนาคารหมูบาน พ.ศ. ....<br />

- รางพระราชบัญญัติจัดตั้งสถาบันคุมครองสุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม ใน<br />

สถานประกอบการ พ.ศ. ....<br />

- รางพระราชบัญญัติสภาการเกษตรแหงชาติ พ.ศ. ....<br />

อยางไรก็ตาม เมื่อผานกระบวนการตรวจสอบความถูกตอง สมบูรณของเอกสารหลักฐาน<br />

ตางๆ ปรากฎวามีรางพระราชบัญญัติผานเขาสูการพิจารณาใหความเห็นชอบของรัฐสภาเพียง<br />

2 ฉบับ ไดแก รางพระราชบัญญัติปาชุมชน พ.ศ. .... และรางพระราชบัญญัติสภาการเกษตรแหงชาติ<br />

พ.ศ. .... โดยที่ขณะนี้รางพระราชบัญญัติปาชุมชน พ.ศ. .... ผานการพิจารณาใหความเห็นชอบ<br />

จากสภาผูแทนราษฎร และวุฒิสภาพิจารณาแลวเห็นควรแกไขเพิ่มเติม สงกลับไปยังสภาผูแทน<br />

ราษฎรเพื่อพิจารณาอีกครั้ง<br />

สวนรางพระราชบัญญัติสภาการเกษตรแหงชาติ พ.ศ. .... นั้นไดบรรจุเขาระเบียบวาระ<br />

การประชุมของสภาผูแทนราษฎรเรียบรอยแลว<br />

39 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 170<br />

55


(7) การพิจารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง<br />

ในอดีตกรณีที่บุคคลกระทําความผิดทางอาญาและทางแพง ตองดําเนินคดีในศาลยุติธรรม<br />

ซึ่งมีปญหาวากระบวนการยุติธรรมทางอาญาและทางแพงนั้น ใชระยะเวลาพิจารณาคดีตั้งแตศาลชั้น<br />

ตนจนถึงศาลฎีกายาวนานมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิ<br />

สภาตกเปนจําเลย ซึ่งรัฐธรรมนูญกําหนดวาศาลจะพิจารณาคดีในระหวางสมัยประชุมรัฐสภามิได<br />

เวนแตไดรับอนุญาตจากสภาที่จําเลยเปนสมาชิก ยิ่งทําใหการพิจารณาคดีอาญาที่สมาชิกสภาผูแทน<br />

ราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาเปนจําเลยใชเวลานานมากยิ่งขึ้น<br />

รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันไดกําหนดใหมีแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง<br />

ในศาลฎีกา โดยองคคณะผูพิพากษาประกอบดวย ผูพิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดํารงตําแหนงไมต่ํากวา<br />

ผูพิพากษาศาลฎีกา จํานวน 9 คน ซึ่งไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญศาลฎีกาโดยวิธีลงคะแนนลับ<br />

40<br />

และใหเลือกเปนรายคดี<br />

รัฐธรรมนูญและกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารง<br />

ตําแหนงทางการเมือง กําหนดใหศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง มีอํานาจ<br />

หนาที่ในการพิจารณาพิพากษาคดีที่นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิ<br />

สภา หรือขาราชการการเมืองอื่น ถูกกลาวหาวาร่ํารวยผิดปกติ กระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่ราช<br />

การตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายอาญา หรือกระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่ หรือทุจริต<br />

ตอหนาที่ตามกฎหมายอื่น ซึ่งองคคณะที่ไดรับเลือกจะดําเนินการสืบพยานหลักฐาน ดวยระบบไต<br />

สวน โดยยึดสํานวนของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) เปน<br />

หลัก ตองพิจารณาคดีโดยตอเนื่อง และคําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ นี้เปนที่สุด จะ<br />

อุทธรณฎีกาตอไปไมได (พงศเทพ เทพกาญจนา , 2541 , น.317-318)<br />

เมื่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองเริ่มเปดดําเนินการ มีคดีเขาสู<br />

การพิจารณาพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ เปนคดีแรก ไดแก คดีทุจริตในการจัดซื้อยาและ<br />

เวชภัณฑ ซึ่งมีอัยการสูงสุดเปนโจทก และนายจิรายุ จรัสเสถียร เปนจําเลยที่ 1 นายณรงศักดิ์<br />

เฮงไชยศรี เปนจําเลยที่ 2 ภายหลังการพิจารณาคดีแลว ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯพิพากษาวา<br />

นายจิรายุ จรัสเสถียร จําเลยที่ 1 ซึ่งเปนที่ปรึกษารัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงสาธารณสุข (นายธีระ<br />

วัฒน ศิริวันสาณฑ) มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 148 ใหลงโทษาจําคุก 6 ป<br />

สวนณรงศักดิ์ เฮงไชยศรี จําเลยที่ 2 ใหยกฟอง 41<br />

จากผลคําพิพากษาคดีดังกลาว นับเปนคดีแรกที่สามารถพิจารณาและลงโทษขาราชการการ<br />

เมือง ซึ่งกระทําความผิดกฎหมายอาญาได ภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว แมวาจะไมสามารถ<br />

40 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 272 วรรคสอง<br />

41 คําพิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง คดีหมายเลขแดงที่ อม.1/2545<br />

ลงวันที่ 24 เมษายน 2545<br />

56


พิจารณาลงโทษผูเกี่ยวของซึ่งเปนนักการเมืองไดทั้งหมด แตก็นับวาเปนจุดเริ่มตนที่ดีที่ผูกระทํา<br />

ความผิดไดรับโทษตามที่กฎหมายกําหนด อันจะทําใหบุคคลที่คิดจะกระทําความผิดหรือรวม<br />

กระทําความผิดกับนักการเมืองเกิดความเกรงกลัว เนื่องจากมีกลไกควบคุมตรวจสอบที่มีประสิทธิ<br />

ภาพมากกวาในอดีต<br />

2.3 แนวคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยและการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

2.3.1 แนวคิดและคําจํากัดความ<br />

คําวา “ประชาธิปไตย” หรือ Democracy ในภาษาอังกฤษมีรากศัพทมาจากภาษากรีก คือ<br />

Demos แปลวาประชาชน กับ Kratos แปลวาการปกครอง ซึ่งรวมกันหมายถึง การปกครองโดย<br />

ประชาชน ดังนั้น หากกลาวงายๆประชาธิปไตยก็คือรูปแบบหนึ่งของการปกครองที่ประชาชนมี<br />

อํานาจ (Sovereign, 1998) แตเปนความหมายที่กอใหเกิดความสับสนวาใครคือประชาชน และ<br />

ประชาชนมีสวนรวมไดมากแคไหนในสถานการณใด ในที่นี้รวมเรื่องกฎหมาย ระเบียบ ความ<br />

สําคัญกับรัฐหรือไม เกี่ยวของกับเศรษฐกิจหรือไม มีมาตรการดําเนินการอยางไรกับผูไมเขามามี<br />

สวนรวม เปนตน ดังนั้นนักทฤษฎีทั้งหลายจึงใหคําจํากัดความของคําวาประชาธิปไตยไปในหลาย<br />

ลักษณะ สําหรับ Joseph Schumpeter (อางใน Sorensen, 1998: 9) ประชาธิปไตยเปนเพียงวิธีการ<br />

ทางการเมือง สําหรับการเลือกผูนําทางการเมือง ประชาชนสามารถเลือกผูนําของเขาจากผูที่สมัคร<br />

เขามา ในการเลือกตั้งครั้งตอๆไปประชาชนก็สามารถเปลี่ยนผูนําของเขาได กลาวคือประชาชน<br />

สามารถเลือกผูนําของเขาได โดยใชการเลือกตั้ง<br />

David Held (1987,1995) ไดรวมแนวคิดเห็น Liberal และ Marxist เขาดวยกัน และใหความ<br />

หมายวาแตละบุคคลควรมีเสรีภาพและความเทาเทียมกันในการกําหนดแนวทางของชีวิตของตนเอง<br />

นั่นคือ พวกเขาควรจะมีความพอใจกับสิทธิที่เทาเทียมกันในกรอบและโอกาสที่ใหแกพวกเขา ตราบ<br />

ใดที่ไมไปละเมิดสิทธิของผูอื่น<br />

Robert A.Dahl (1971: 3) ไดใหคําจํากัดความวา ประชาธิปไตยเปนระบอบการเมืองระบอบ<br />

หนึ่ง ที่ทางรัฐบาลตองตอบสนองความชอบของประชาชน ที่ถือวาเปนความเทาเทียมของการเมือง<br />

ซึ่งเปนสิ่งสําคัญของประชาธิปไตย ความรับผิดชอบนี้คือ ประชาชนตองมีโอกาสในการกําหนด<br />

ความพอใจของเขา นั่นคือตองประกันวาประชาชนมีเสรีภาพที่จะรวมตัวกัน มีเสรีภาพในการแสดง<br />

ออก สิทธิในการลงคะแนน มีแหลงทางเลือกของขอมูล มีเสรีภาพ มีการเลือกตั้งที่ยุติธรรม ผูนําทาง<br />

การเมืองมีสิทธิในการแขงขันเพื่อการเลือกตั้ง และมีสถาบันในการดําเนินการตามนโยบายที่มาจาก<br />

การเลือกตั้งและการแสดงออกของประชาชน ดังนั้นในความคิดของ Dahl ประชาธิปไตยมีหลายมิติ<br />

กลาวคือเปนเรื่องของ<br />

1. การแขงขัน ซึ่งเปนการแขงขันระหวางบุคคลและระหวางกลุม (โดยเฉพาะพรรคการเมือง)<br />

57


2. การมีสวนรวมทางการเมืองในการเลือกผูนําและนักการเมือง อยางนอยโดยการเลือกตั้งที่<br />

ยุติธรรมที่ไมมีการละเวนกลุมใดกลุมหนึ่ง<br />

3. เสรีภาพของประชาชน และเสรีภาพของการเมืองเปนเสรีภาพในการแสดงออก ประชา<br />

สัมพันธทางสื่อ รวมตัวเปนกลุม เมื่อแนใจวามีการแขงขันและมีการมีสวนรวมที่ตรงไป<br />

ตรงมา<br />

ความหมายของประชาธิปไตยอาจสรุปไดโดยคําจํากัดความของ Etzioni-Halevy<br />

(1997:xxiii-xxiv) ที่ไดบูรณาการคําจัดความของนักคิดหลายคนและใหความหมายของ<br />

ประชาธิปไตยวาเปนระบอบการปกครองที่อํานาจในการปกครองของรัฐบาลมาจากการยินยอมของ<br />

ประชาชนสวนใหญ การยินยอมนี้แสดงออกโดยการดําเนินการใหประชาชนไดรับและใชอํานาจ โดย<br />

สม่ําเสมอ เสรี มีการเลือกตั้งที่เปนการแขงขันโดยผูที่เปนผูใหญ ทุกคนที่มีสิทธิเทาเทียมกัน ในการ<br />

เลือกตั้ง หลักการพื้นฐานของประชาธิปไตยคือเสรีภาพของประชาชน ที่รวมเสรีภาพในการพูด ได<br />

รับขอมูล สมาคม และมีสวนรวมในการแขงขันทางการเมือง<br />

อยางไรก็ตามคําวาประชาธิปไตยคอนขางเปนพลวัต เพราะมีการเปลี่ยนแปลงไปตาม<br />

กาลเวลา และตามการเปลี่ยนแปลงของสังคม และยังมีการอภิปรายกันถึงความหมายที่แทจริง<br />

อยูอยางกวางขวาง กระนั้นหลักการขั้นมูลฐานที่เปนที่ยอมรับกันเมื่อเราจะทําการศึกษาโดยยึด<br />

แนวทางประชาธิปไตยที่สําคัญก็คือ การเชื่อในความเทาเทียมและคุณคาของบุคคล เชื่อวามนุษยเปน<br />

ผูมีเหตุมีผล และสามารถมีสวนรวมในกระบวนการทางการเมือง<br />

2.3.2 ความหมายโดยทั่วไปของ “การมีสวนรวม”<br />

William Erwin (1976: 138) ใหความหมายของการมีสวนรวมวา การมีสวนรวมของประชา<br />

ชนคือกระบวนการใหประชาชนเขามามีสวนเกี่ยวของในการพัฒนา รวมคิดรวมตัดสินใจในการแก<br />

ปญหาของตัวเอง รวมใชความคิดสรางสรรค ความรูและความชํานาญเขากับการใชวิทยาการที่<br />

เหมาะสมและสนับสนุน ติดตาม ผลการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ<br />

Cohen และ Uphoff (1977) กลาวาการมีสวนรวมของประชาชนหมายถึงการใหประชาชน<br />

เขามีสวนเกี่ยวของในกระบวนการตัดสินใจ การดําเนินกิจกรรม การแบงปนผลประโยชน และ<br />

ตรวจสอบติดตามประเมินผล<br />

ยุวัฒน วุฒิเมธี (2526: 20) ไดใหความหมายของการมีสวนรวมไววา การมีสวนรวมของ<br />

ประชาชนหมายถึงการเปดโอกาสใหประชาชนไดมีสวนรวมในการคิดริเริ่มการพิจารณาตัดสินใจ<br />

การรวมปฏิบัติและรวมรับผิดชอบในเรื่องตางๆ อันมีผลกระทบถึงตัวของประชาชน<br />

ปรัชญา เวสารัชช (2528: 5) ไดนิยามความหมายของการมีสวนรวมไววา การมีสวนรวม<br />

เปนการที่ประชาชนเขามาเกี่ยวของ โดยการมีสวนรวมตองยึดหลักองคประกอบดังนี้<br />

1. มีประชาชนเขามาเกี่ยวของการพัฒนา<br />

58


2. ผูเขารวมไดใชความพยายามบางอยางสวนตัว เชน ความคิด ความรู ความสามารถ<br />

แรงงานหรือทรัพยากรบางอยาง เชน เงินทุน วัสดุในกิจกรรมการพัฒนา<br />

กลาวโดยสรุป การมีสวนรวมก็คือกระบวนการใหประชาชนเขามามีสวนเกี่ยวของในทุก<br />

ขั้นตอน ตั้งแตการรวมรับรู รวมคิดริเริ่ม รวมตัดสินใจ รวมปฏิบัติ และรวมตรวจสอบ โดยใชพลัง<br />

ความสามารถในดานตางๆ ของตนเองรวมกับความรูและวิทยาการที่เหมาะสมอยางสรางสรรค<br />

พรอมไปกับการเปนผูรับแบงปนผลประโยชน และรวมกันรับผิดชอบในผลกระทบที่ตามมาดวย<br />

อยางไรก็ตาม ในเรื่องของการมีสวนรวมของประชาชน ระดับที่ประชาชนมีสวนรวมใน<br />

ทางการเมืองคือระดับที่ประชาชนมีความสนใจ กระตือรือรนในเรื่องของการเมือง กลาวคือเปน<br />

เรื่องของจํานวนประชาชนที่เกี่ยวของและจํานวนกิจกรรมที่ปฏิบัติ (McLean, 1996) แตคําวาการมี<br />

สวนรวมในทางการเมืองคืออะไรนั้นคอนขางซับซอนเพราะจะมีคําถามตามมาวาการเมืองคืออะไร<br />

กิจกรรมอะไรบางที่จัดเปนกิจกรรมทางการเมือง เพื่อความเขาใจในการศึกษาเรื่องการมีสวนรวมใน<br />

ทางการเมือง ผูวิจัยจึงศึกษาคําจํากัดความของการมีสวนรวมทางการเมืองของผูเชี่ยวชาญหลายทาน<br />

ดังที่จะไดนําเสนอตอไป<br />

2.3.3 ความหมายของ “การมีสวนรวมในทางการเมือง”<br />

การเมืองเปนเรื่องของการใชอํานาจ เปนเรื่องของความสามารถที่ผูหนึ่งปฏิบัติเพื่อควบคุม<br />

พฤติกรรมของผูอื่น (Arterton and Hahn, 1975: 1) ดังนั้นจึงมีขอสงสัยวาในสังคมหนึ่งๆใครคือผูมี<br />

อํานาจ และใชอํานาจ ใครเปนผูกําหนดนโยบายสําหรับผูอื่น (Dahl, 1963 อางใน Arterton and<br />

Hahn, 1975) ในบางสังคมที่มีประชาธิปไตยแบบตัวแทนจะมีผูตอบวาคือผูที่ประชาชนเลือกเขาไป<br />

ทําหนาที่แทนตน กลาวคือประชาชนนั่นเองที่ตองมีสวนรวมในการกําหนดวิถีการปกครองของ<br />

สังคมของตนโดยการเขามามีสวนรวมในทางการเมือง<br />

Milbrath และ Goel (1965) อธิบายวา การเขามีสวนรวมทางการเมือง หมายถึงการกระทํา<br />

ของบุคคลเพื่อพยายามมีอิทธิพลหรือสนับสนุนตอรัฐบาลและระบบการเมือง และยังรวมถึงบทบาท<br />

ของประชาชนในการกระทําใดๆ เพื่อมีอิทธิพลตอผลทางการเมือง โดยพฤติกรรมการมีสวนรวม<br />

ทางการเมืองนั้นจะเพิ่มจากความสนใจทางการเมืองไปสูกิจกรรมทางการเมืองที่ตองการความสนใจ<br />

และแรงจูงใจมากขึ้นเปนลําดับ<br />

สําหรับ Almond และ Verba (1965) การเขามีสวนรวมทางการเมืองนั้นมีความแตกตางกัน<br />

ตามวัฒนธรรมทางการเมืองของแตละบุคคล โดยแบงวัฒนธรรมทางการเมืองออกเปน 3 ประเภท<br />

ดังนี้<br />

• วัฒนธรรมทางการเมืองแบบคับแคบ เปนวัฒนธรรมทางการเมืองของบุคคลที่ไมมี<br />

ความรูความเขาใจในระบบการเมือง ไมคิดจะมีสวนรวม หรือมีบทบาทในทางการ<br />

เมือง บุคคลที่มีวัฒนธรรมแบบนี้จะไมเขามีสวนรวมทางการเมืองเลย<br />

59


• วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพรฟา เปนวัฒนธรรมทางการเมืองของบุคคลที่มี<br />

ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการเมืองโดยทั่ว ๆ ไป แตไมสนใจที่จะมีสวนรวมทาง<br />

การเมืองในทุกกระบวนการทางการเมือง และไมมีความรูสึกวาตนอยูในฐานะที่มี<br />

ความหมาย หรือมีอิทธิพลทางการเมือง<br />

• วัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีสวนรวม เปนวัฒนธรรมทางการเมืองของบุคคลที่<br />

เขาใจระบบการเมือง มีการรับรูตอโครงสรางทางการเมืองและการบริหาร ตลอด<br />

จนเขาไปมีสวนรวมทางการเมือง มีความรูสึกวาตนเองมีอิทธิพลที่จะกอใหเกิดการ<br />

เปลี่ยนแปลงทางการเมืองได<br />

Herbert McClosky (1968) เห็นวาการมีสวนรวมทางการเมืองเปนกิจกรรมที่กระทําโดย<br />

สมัครใจ ซึ่งสมาชิกทั้งหลายที่อยูในสังคมไดมีสวนกระทํารวมกันในอันที่จะเลือกผูนําของตน และ<br />

กําหนดนโยบายของรัฐ การกระทํานั้นอาจจะกระทําโดยทางตรงหรือทางออมก็ได ซึ่งบุคคลที่มี<br />

สวนรวมในทางการเมืองนั้น ไดแกบุคคลที่เกี่ยวของกับกิจกรรมตาง ๆ ตอไปนี้ คือ การใชสิทธิออก<br />

เสียงเลือกตั้ง การแสวงหาความรูทางการเมือง การอภิปรายหรือพูดคุยเกี่ยวกับการเมือง การเขารวม<br />

ชุมนุมทางการเมือง ฯลฯ เพราะการเขารวมทางการเมือง เปนตัวกระตุนเตือนใหผูปกครองและผูอยู<br />

ใตปกครองไดสํานึกถึงหนาที่และความรับผิดชอบของตน ทั้งยังเปนการชวยขยายขอบขายของ<br />

ความรูทางดานการเมืองใหกวางขวางขึ้นอีกดวย<br />

Myron Weiner (1971) ไดรวบรวมความหมาย ของการมีสวนรวมทางการเมืองไวมากมาย<br />

เชน<br />

• การกระทําทั้งในทางสนับสนุนและการกระทําในเชิงเรียกรองตอผูนําของรัฐบาล<br />

ในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยหรือเผด็จการก็ได โดยที่ประชาชนอาจ<br />

สนับสนุนเพราะไมมีทางเลือกอื่นก็ได<br />

• ความพยายามที่บรรลุผลในการสรางผลกระทบตอการดําเนินการของรัฐบาล หรือ<br />

การเลือกผูนํารัฐบาล เชน การวิพากษวิจารณการเมือง<br />

• การกระทําของพลเมืองที่ไมขัดตอกฎหมาย<br />

• การมีตัวแทน (Representation)<br />

• การกระทําของผูที่มีความสนใจทางการเมืองอยางมาก และการกระทําของผูที่สน<br />

ใจทางการเมืองนอยดวย<br />

• การกระทําทางการเมืองที่เกิดขึ้นเปนประจําและครั้งคราวตลอดจนการกระทําที่<br />

เกี่ยวของกับความรุนแรงดวย เชน การเกิดจลาจลวุนวาย หรือการฆาตกรรมทาง<br />

การเมือง เปนตน<br />

• การมีจุดมุงหมายที่จะกดดันตอผูนําทางการเมือง แตอาจรวมไปถึง การกระทําที่<br />

ตองการกดดันตอการดําเนินงานของขาราชการไดดวย<br />

60


• การดําเนินการที่มีผลตอการเมืองทั้งในระดับทองถิ่นและระดับชาติ<br />

• การมีสวนรวมทางการเมืองนั้นอาจแตกตางกันไปตามกาลเทศะ ในชวงเวลาหนึ่ง<br />

อาจเปนการมีสวนรวมทางการเมือง แตในอีกชวงหนึ่งก็ไมอาจนับวาเปน หรือใน<br />

พื้นที่หนึ่งถือวาเปนการมีสวนรวม แตในอีกพื้นที่หนึ่งอาจไมถือวาเปนก็ได<br />

Nie และ Verba (1975) ใหความหมายของการมีสวนรวมทางการเมืองวาเปนกิจกรรมที่มุง<br />

หวังประโยชน เปนเรื่องที่พลเมืองพยายามกดดันรัฐบาลใหกระทําการตามที่พลเมืองผูนั้นหรือกลุม<br />

นั้นตองการ การมีสวนรวมทางการเมืองตามความเห็นของ Nie และ Verba เนนเรื่องกิจกรรมของ<br />

พลเมืองเฉพาะบุคคล รวมทั้งผูที่ไมกระตือรือรนตอกฎเกณฑ แตรวมผูทํางานทางดานการเมืองโดย<br />

อาชีพ รวมทั้งเจาหนาที่ของรัฐบาลหรือของพรรคการเมืองและนักหาเสียง โดยตองการมีอิทธิพลตอ<br />

รัฐบาล ไมวาจะเปนการเลือกเจาหนาของรัฐ หรือการมีสวนรวมในการปกครอง<br />

Huntington และ Nelson (1976) ไดใหคํานิยามเกี่ยวกับการมีสวนรวมในทางการเมืองวา<br />

เปนกิจกรรมของประชาชนแตละคน ที่มุงเพื่อการมีอิทธิพลตอการตัดสินใจของรัฐบาล การมีสวน<br />

รวมหมายถึงเฉพาะการกระทํา ไมรวมถึงทัศนคติ เปนการกระทําของผูมีสวนรวมที่เปนพลเมือง<br />

ธรรมดา เพราะกิจกรรมทางการเมืองของผูมีสวนรวมทางการเมืองที่เปนประชาชนธรรมดานั้น จะมี<br />

ลักษณะไมตอเนื่อง (Intermittent) ไมเต็มเวลา (Part time) การมีสวนรวมทางการเมืองยังหมายความ<br />

เฉพาะการกระทําที่มีจุดมุงหมายเพื่อมีอิทธิพลตอการตัดสินใจของรัฐบาล ไมวากิจกรรมหรือการ<br />

กระทํานั้นจะสําเร็จผลหรือไมก็ตามหรืออาจเปนไปดวยความคิดของตนเองหรือถูกผูอื่นชักจูงใหเขา<br />

รวมก็ได<br />

Bullock and Stattybrass (1977) กลาววา การมีสวนรวมในทางการเมือง หมายถึง การที่<br />

บุคคลจะตองไดรับผลประโยชนโดยการตัดสินใจ ซึ่งกระทําโดยสถาบันทางการเมืองและสังคม<br />

และจะตองรวมในการตัดสินใจดวย<br />

ธงชัย และ เทียนชัย วงศชัยสุวรรณ (2542) ไดสรุปความหมายจากคํานิยามของนักคิดตะวัน<br />

ตกไวในงานวิจัยของทั้งสองวา การมีสวนรวมทางการเมืองนั้นเปนการกระทํา (Action) ที่ปจเจกชน<br />

(Individual) หรือกลุมบุคคล (Group) ที่ไมวาจะมีระดับของการจัดองคการมากนอยอยางไร เพื่อมี<br />

อิทธิพลตอการเลือกสรรผูนําทางการเมืองหรือรัฐบาลทั้งในระดับชาติและระดับทองถิ่น และเพื่อมี<br />

อิทธิพลตอการกําหนดนโยบายสาธารณะและการนํานโยบายไปปฏิบัติ ทั้งใหการสนับสนุนหรือ<br />

ตอตาน<br />

อาจสรุปไดวา การมีสวนรวมทางการเมืองนั้นเปนการปฏิบัติการโดยสมัครใจ ที่ไมวาจะ<br />

เปนผลสําเร็จหรือไม มีการจัดองคกรหรือไมก็ตาม จะเกิดขึ้นเปนครั้งคราวหรือตอเนื่อง และใชวิธีที่<br />

ถูกตองโดยไดรับการยอมรับตามกฎหมายหรือไมก็ตาม การกระทํานั้นมุงประสงคที่จะมีอิทธิพลตอ<br />

การเลือกนโยบายสาธารณะ การบริหารงานนโยบายสาธารณะ และการเลือกผูนําทางการเมืองไมวา<br />

61


จะเปนระดับชาติหรือระดับทองถิ่น โดยเนนวา การมีสวนรวมทางการเมืองตองเปนการกระทําโดย<br />

ใจสมัคร<br />

อยางไรก็ดี ตองยอมรับวา “การเมือง” เปนเรื่องที่สลับซับซอน ในทางการเมืองประชาชน<br />

เขามีความสัมพันธกับระบบการเมืองในหลายลักษณะ บางคนอาจตองการเพียงใหระบบการเมือง<br />

ยอมรับและเอาใจใสกับความตองการของประชาชน แตหลายคนตองการใหระบบรับผิดชอบใน<br />

การปรับปรุงหรือปรับเปลี่ยนเพื่อสนองตอบความตองการใหมากยิ่งๆ ขึ้นดวย ดังนั้น การมีสวน<br />

รวมทางการเมืองจึงมีหลากหลายรูปแบบ และหลายระดับ ซึ่งสามารถอธิบายดวยเหตุผลและปจจัย<br />

หลายๆ ดานประกอบกัน<br />

2.3.4 ระดับของการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

Roth และ Wilson (1980) ไดแบงการมีสวนรวมทางการเมืองออกเปน 3 ระดับ คือ (1)<br />

ระดับต่ํา หรือกลุมผูดู (Onlookers) ซึ่งไดแกการใหความสนใจตอขาวสาร และการเปลี่ยนแปลงทาง<br />

การเมือง การถกเถียงปญหาทางการเมือง การไปใชสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง การพยายามชักจูงใหผูอื่น<br />

เห็นดวยกับจุดยืนทางการเมืองของตน การเปนสมาชิกกลุมผลประโยชนและการรวมชุมนุมทางการ<br />

เมือง (2) ระดับกลางหรือระดับผูมีสวนรวม (Participants) ไดแก การมีสวนรวมในโครงการของชุม<br />

ชน การมีสวนรวมอยางแข็งขันในกิจกรรมของกลุมผลประโยชน การเปนสมาชิกพรรคการเมืองที่มี<br />

สวนรวมในกิจกรรมของพรรคการเมือง และการชวยรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง (3) ระดับสูงหรือระดับ<br />

นักกิจกรรม (Activists) ไดแก การเปนผูนํากลุมผลประโยชน การมีตําแหนงและทํางานเต็มเวลาให<br />

แกพรรคการเมือง การไดรับเสนอชื่อใหเขาแขงขันเพื่อชิงตําแหนงทางการเมือง และการไดรับ<br />

ตําแหนงทางการเมือง การมีสวนรวมทางการเมืองทั้งสามระดับนี้ เปนการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

ของประชาชนในประเทศประชาธิปไตยตะวันตก ซึ่งสอดคลองกับความเห็นของ Milbrath และ<br />

Goel (1965) ที่เห็นวาพฤติกรรมการมีสวนรวมทางการเมืองนั้นจะเพิ่มจากความสนใจทางการเมือง<br />

ไปสูกิจกรรมทางการเมืองที่ตองการความสนใจและแรงจูงใจมากขึ้นเปนลําดับ เชน จากผูที่ไม<br />

สนใจทางการเมืองเลย กลุมนี้เรียกวา apathetic หากคนสนใจการเมืองมากขึ้นจะเปน ผูที่สนใจแบบ<br />

ผูดูวงนอก คือ ไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ติดตามขาวคราว วิพากษวิจารณ ไปฟงการหาเสียง ฯลฯ<br />

เรียกวา spectator และหากมีความสนใจมากขึ้น ก็จะกลายเปนกลุมที่มีความกระตือรือรนเขามี<br />

สวนรวมในทุกรูปแบบ เรียกวาพวก gladiator<br />

อยางไรก็ดีมีผูใหความเห็นวาในระบบการเมืองใหม (New Politics) มีรูปแบบของการมี<br />

สวนรวมทางการเมืองที่ชอบธรรมมากขึ้น ซึ่ง Hague (1992) ไดกลาววาการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

ที่ชอบธรรมอีกประเภทหนึ่งของประชาชนในประเทศประชาธิปไตยตะวันตก ไดแก การเดินขบวน<br />

และการประทวงในรูปแบบตางๆ ซึ่งสวนใหญมีลักษณะสันติวิธี เชน การพิทักษสิ่งแวดลอมและ<br />

ทรัพยากรธรรมชาติ และการตอสูเพื่อสิทธิสตรี เปนตน Hague ไดแบงการเมืองเปนสามรูปแบบ คือ<br />

(1) การเมืองแบบเกา (Old Politics) ไดแก การมีสวนรวมแบบประเพณีนิยม (Confirmists) ซึ่งไดแก<br />

62


การถกเถียงปญหาการเมือง การรวมชุมนุมทางการเมือง ฯลฯ แตปฏิเสธการประทวงและการเดิน<br />

ขบวน (2) การเมืองแบบผสม (Mixed Politics) ไดแกกิจกรรมของพวกปฏิรูป (Reformists) ที่อาจใช<br />

วิธีการแบบประเพณีนิยมและในขณะเดียวกันก็อาจใชการประทวงทางกฎหมาย และการปฏิเสธการ<br />

ใหความรวมมือ (Boycott) (3) การเมืองใหม (New Politics) แบงเปนสองพวกยอย ๆ คือ นักกิจ<br />

กรรม (Activists) ซึ่งใชวิธีการแบบประเพณีนิยมและวิธีการที่มิใชแบบประเพณีนิยม รวมไปถึงการ<br />

กระทําที่ผิดกฎหมาย เชน ปดกั้นการจราจร เปนตน<br />

ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร (2540) ไดกลาวถึง การมีสวนรวมทางการเมืองที่นอกเหนือไป<br />

จากชองทางปกติ เรียกกันวา “การเมืองแบบใหมและขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองรูปใหม”<br />

(The new politics and the new social movement) ที่มองขบวนการเคลื่อนไหวและเรียกรองของ<br />

ประชาชนธรรมดาวาเปนการโตตอบตอปญหาและความขัดแยงชนิดใหมที่เกิดขึ้นในสังคมที่มีความ<br />

สลับซับซอน มีความหลากหลาย อาทิตามเพศ เชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม เปนตน ความขัดแยง<br />

ดังกลาวนี้มักความสามารถของสถาบันทางสังคมที่มีอยูในปจจุบันจะแกไขได ทําใหประชาชน<br />

เสื่อมศรัทธาในรัฐและสถาบันหรือกลไกของรัฐ จึงลงมือเคลื่อนไหวดวยตนเองนั่นคือการหันกลับ<br />

ไปสราง “ประชาสังคม” (Civil Society) ใหเขมแข็งขึ้นมานั่นเอง การเคลื่อนไหวเหลานี้เปนการ<br />

เคลื่อนไหวเรียกรองของประชาชนธรรมดา เพื่อเรียกรองสิทธิพื้นฐานของพวกเขาในฐานะที่เปน<br />

มนุษย รวมไปถึงสิทธิที่จะไมเชื่อฟงรัฐดวย ซึ่งเปนทางเลือกใหมหรือทางเลือกที่สามของการ<br />

เรียกรอง เปนสิ่งที่ชอบธรรมและจะมีผลทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในทางกฎหมายและในทาง<br />

สังคม<br />

ธีรพล เกษมสุวรรณ (2528) ไดอางถึงความคิดของ Arthur W. Bromage ในการจําแนก<br />

ลักษณะการเขามีสวนรวมของประชาชนในการปกครอง โดยแยกเปน<br />

• การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง (Voting) เปนการแสดงออกซึ่งเจตนาของประชาชนตอวิธี<br />

กําหนดนโยบายในการปกครองประเทศ การแสดงเจตจํานงดังกลาวนี้จะมีความหมาย<br />

หรือไมขึ้นอยูกับความสนใจและการมีสวนรวมของประชาชน<br />

• การบังคับหรือชักจูงอยางไมเปนทางการ (Informal method of pressure and persuasion)<br />

เชน การติดตามการปฏิบัติงานของผูแทนทางสื่อมวลชนและแสดงเจตจํานงในรูปรวม<br />

กลุมกันเดินขบวน เพื่อหาทางเปลี่ยนแปลงผูที่ไดรับการเลือกตั้งที่ตนเองไมพอใจ ดัง<br />

นั้น ผูที่ไดรับการเลือกตั้งจึงจําเปนตองรับฟงความคิดเห็นของประชาชนที่เปนแรงกด<br />

ดันอยูตลอดเวลา เพื่อผอนคลายความรูสึกของประชาชนใหใชวิธีการมีสวนรวมอยาง<br />

สันติวิธี ไดแกการรวมกลุมตอรอง หรือการมีพรรคการเมืองหรือกลุมผลประโยชนตาง<br />

ๆ เพื่อเปนตัวกลางในการรับฟงและถายทอดความคิดเห็นของประชาชน<br />

• การดําเนินการอยางเปนทางการ (Formal actions) ไดแก การมีสวนรวมทางการเมือง<br />

ของประชาชนโดยการใชสิทธิที่ไดรับตามรัฐธรรมนูญ เชน การริเริ่มกฎหมาย<br />

63


(Initiative) การแสดงประชามติ (Referendum) และการเพิกถอนใหออกจากตําแหนง<br />

(Recall)<br />

ตามแนวคิดขางตน การมีสวนรวมทางการเมืองจัดวามีสองความหมาย คือ (1) การเขามี<br />

สวนรวมของปจเจกชนในกิจกรรมทางการเมือง (2) อัตราสวนของประชากรที่ใชสิทธิในการเขามี<br />

สวนรวมทางการปกครอง<br />

จะเห็นไดวา การมีสวนรวมนอกจากจะเปนมิติหนึ่งของประชาธิปไตยแลวยังเปนมิติหนึ่ง<br />

ของธรรมาภิบาลอีกดวย การวัดระดับการเปนประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลจึงมักวัดที่ระดับของ<br />

การมีสวนรวมดวยปจจัยหนึ่ง แตในการศึกษานี้จะใหความสําคัญกับการมีสวนรวมทางการเมืองที่<br />

เปนมิติหนึ่งของการเปนประชาธิปไตย มีผูศึกษาเรื่องการวัดระดับการเปนประชาธิปไตยมากมาย<br />

และมีการแบงมิติของการวัดกิจกรรมของการมีสวนรวมเปนหลายประเภท (Ersson and Lane,<br />

1996: 45-73 และ Verba, Nie and Kim, 1978) โดย Verba, Nie and Kim (1978) แบงกิจกรรมของ<br />

การมีสวนรวมทางการเมืองออกเปนประเภทตางๆ อาทิ การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง การรณรงค<br />

ในทางการเมือง การรณรงคเพื่อการเลือกตั้ง การที่ประชาชนติดตอกับนักการเมืองและกิจกรรมการ<br />

รวมกลุมเปนตน ถึงแมจะมีผูศึกษาเรื่องรูปแบบและลําดับขั้นของการมีสวนรวมไวมากมาย เชนตั้ง<br />

แตการลงคะแนนเลือกตั้ง ไปจนถึงสมัครเปนสมาชิกพรรคการเมือง สมัครเขารับการเลือกตั้ง<br />

ดังภาพที่ 2 ซึ่งผูเขารวมลําดับ 1-5 จัดเปนผูสนใจและมีสวนรวม ลําดับ 6-8 เปนผูสนใจและมี<br />

สวนรวมปานกลาง และลําดับ 9-14 สนใจและมีสวนรวมมาก แตผูที่รวมกิจกรรมลําดับบนๆ<br />

มักจะรวมกิจกรรมในลําดับลางๆ ดวย (Milbrath, 1965)<br />

64


ภาพที่ 2.2 ลําดับขั้นของการมีสวนรวมทางการเมืองในบริบทสากล<br />

(ถวิลวดี (2543) พัฒนาจาก Milbrath (1965) และ Roth และ Wilson (1980))<br />

14. รวมดําเนินกิจกรรมสาธารณะ และดูแลกิจกรรมของ<br />

พรรคการเมือง<br />

13. เปนผูสมัครรับเลือกตั้งในนามพรรคการเมือง<br />

12. ดําเนินกิจกรรมหาเงินเขาพรรคการเมือง<br />

11. รวมกิจกรรมของพรรคเชนเขารวมประชุม<br />

10. สมัครเปนสมาชิกพรรคการเมือง<br />

9. ชวยรณรงคหาเสียง<br />

8. รวมการประชุม ฟงการหาเสียง แนะนําตัว หรือการชุมนุมทางการเมือง<br />

7. บริจาคเงิน/สิ่งของชวยเหลือพรรคการเมืองหรือผูสมัครรับเลือกตั้ง<br />

6. ติดตอกับเจาหนาที่ของรัฐหรือผูนําทางการเมือง<br />

5. รวมประชาสัมพันธเชนการสวมเสื้อหรือติดสติกเกอรที่รถยนต<br />

4. พยายามพูดเชิญชวนใหผูอื่นไปเลือกผูที่ตนสนับสนุน<br />

3. เปนผูเปดประเด็นพูดคุยเรื่องการเลือกตั้ง ใหความรูผูอื่น<br />

2. ไปเลือกตั้ง<br />

1. แสดงตนเปนผูสนใจทางการเมืองเชนรวมพูดคุยเรื่องการเมือง<br />

สนใจและมีสวนรวม<br />

มาก<br />

สนใจและมีสวนรวม<br />

สนใจและมีสวน<br />

รวมปานกลาง<br />

0. ไมสนใจและเขารวมกิจกรรมใดเลย<br />

ไมมีสวนรวม<br />

อยางไรก็ตาม รูปแบบของการมีสวนรวมดังกลาวบางรูปแบบยังไมมีหรือมีนอยมากใน<br />

สังคมไทยทั้งนี้เนื่องจากการมีสวนรวมจะมีความแตกตางกันไปในแตละสังคม (Huntington and<br />

Nelson, 1976: 17) ขึ้นกับขนบธรรมเนียม ประเพณีของประเทศนั้นๆดวย<br />

2.3.5 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

การที่คนเราจะพิจารณาเลือกที่จะมีสวนรวมในกิจกรรมทางการเมืองหรือโครงการการมี<br />

สวนรวมของประชาชนใดนั้น Creighton (วันชัย, 2543: 158-161) สรุปวาขึ้นอยูกับปจจัยอยางนอย<br />

6 ประการ กลาวคือ (1) ความใกลชิดปญหา (2) ประโยชนทางดานเศรษฐกิจ (3) การเขาถึง<br />

ประโยชนใชสอยหรือบริการ (4) ประเด็นทางดานสังคม/สิ่งแวดลอม (5) คานิยม และ (6) อํานาจที่<br />

65


ไดรับมอบหมายตามกฎหมาย หรือกลาวอยางงายๆ ก็คือ ประชาชนจะเริ่มตนเขามามีสวนรวมก็ตอ<br />

เมื่อเขาเห็นวาตนจะไดรับผลกระทบจากกิจกรรมหรือโครงการนั้นๆ<br />

อยางไรก็ตาม บอยครั้งที่ประชาชนผูไดรับผลกระทบอาจมิไดเขามามีสวนรวมเนื่องจากไม<br />

มีโอกาสในการมีสวนรวม Feinland และ Gary (1997) พบวาสิ่งที่จะทําใหเกิดการมีสวนรวมขึ้นได<br />

นั้นจะตองประกอบดวย โอกาสในการมีสวนรวม เปาหมายของการมีสวนรวม กลุมเปาหมายในการ<br />

ที่จะเขามีสวนรวม และวิธีการชักจูง เชน การเชิญชวนหรือการบังคับ ที่จะสงผลตอการเขามีสวน<br />

รวม ดังนั้น ปจจัยที่ทําใหประชาชนมีสวนรวม ก็คือ โอกาส ขอมูล ความไววางใจ และวิธีการจัดการ<br />

ความรวมมือของผูตัดสินใจนั่นเอง<br />

การศึกษาเพื่อเขาใจถึงระดับการมีสวนรวมของประชาชนนอกจากจะสามารถพิจารณาจาก<br />

ระดับการรวมกิจกรรมทางการเมืองของประชาชนแลว มีความเชื่อกันวาสภาพเศรษฐกิจ สังคม และ<br />

การเมืองเปนปจจัยสําคัญที่สนับสนุนระบอบประชาธิปไตย มีผลตอการมีสวนรวมทางการเมืองของ<br />

ประชาชน โดยมีผูเชี่ยวชาญที่ศึกษาเรื่องนี้และยืนยันความคิดดังกลาว เชน Verba, Nie and Kim<br />

(1978) Arterton and Hahn (1975) Lipset (1997: 37-52) และ Diamond (1997) เปนตน การศึกษา<br />

ครั้งนี้จะไดพิจารณาปจจัยตางๆ ที่มีอิทธิพลหรือมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมทางการเมือง โดย<br />

เนนใหครอบคลุมปจจัยตางๆ ที่จะสามารถอธิบายปรากฏการทางการเมืองที่เกิดขึ้นได<br />

ทั้งนี้ ในการจําแนกตัวแปรหรือปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมทางการเมืองนั้นมีตัวแปร<br />

หรือปจจัยสําคัญที่นักวิชาการทั้งในและตางประเทศมักทําการศึกษากันอยูหลายปจจัย อาทิ จันทนา<br />

สุทธิจารี (ใน อมร รักษาสัตยและคณะ, 2544: 422) ไดจัดกลุมปจจัยที่สําคัญไววาการมีสวนรวมทาง<br />

การเมืองของประชาชนมีปจจัยสําคัญที่ตองพิจารณารวมดวย กลาวคือ ระบบการเมือง วัฒนธรรม<br />

ทางการเมือง โครงสรางทางสังคมเศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอมภายนอก<br />

ใกลเคียงกันกับการแบงของ Conway (2000) ที่ไดแบงตัวแปรหรือแนวคิดที่มีผล มีอิทธิพล<br />

หรือมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมทางการเมืองของสหรัฐอเมริกาไวดังตอไปนี้<br />

1) ลักษณะทางเศรษฐกิจ ซึ่งมีตัวแปรเพศ อายุ การศึกษา รายได อาชีพ เชื้อชาติ ชน<br />

กลุมนอย<br />

2) ปจจัยทางจิตวิทยา ไดแก ความเชื่อ ทัศนคติ และคานิยม การไดมาซึ่งแนวคิด<br />

(Orientation) ทางการเมือง บุคลิกภาพ และการแปลกแยกและการปรับตัวใหลงรอยกัน (alienation<br />

and conformity)<br />

3) ปจจัยสิ่งแวดลอมทางการเมือง ซึ่งไดแกวัฒนธรรมทางการเมือง ระบบพรรคการเมือง<br />

การเคลื่อนไหวทางการเมือง วาระทางนโยบายและการรณรงคทางการเมือง สื่อมวลชน และ<br />

องคการ<br />

4) โครงสรางทางกฎหมาย ซึ่งรวมการทําบัญชีรายชื่อและกฎหมายเลือกตั้ง กระบวนการ<br />

ในการเลือกตั้ง รวมทั้งโอกาสในรูปแบบอื่นๆ ของการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

66


ดังที่ไดกลาวไวแลววา มีผลการศึกษาจํานวนมากซึ่งสวนใหญยืนยันวาปจจัยดังกลาวมี<br />

ความสัมพันธกับการมีสวนรวมทางการเมือง อยางไรก็ตาม ผลจากการศึกษาวิจัยถึงอิทธิพลของ<br />

ปจจัยตางๆ ยังพบวา ปจจัยตางๆ มีอิทธิพลหรือมีความสัมพันธตอการมีสวนรวมทางการเมืองแตก<br />

ตางกัน<br />

ในตางประเทศ Sherrill and Vogler (1982) ไดศึกษาตัวแปรหรือปจจัยที่มีผลตอการมีสวน<br />

รวมทางการเมืองในหัวขอ “Who Participates” ไว โดยใชตัวแปรยอย 12 ตัวแปร และไดขอสรุปวา<br />

ตัวแปรทางการดานการเมืองมีอิทธิพลหรือมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในทางการเมืองมาก<br />

กวาปจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม หรือจิตวิทยา และปจจัยที่สําคัญที่สุดคือการเปดรับสื่อในการรณรงค<br />

หาเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดีซึ่งสามารถอธิบายความแตกตางในการมีสวนรวมในทางการเมืองได<br />

ถึงรอยละ 20.5<br />

ตัวแปรที่มีความสําคัญรองลงมาคือ การทราบ การมีความรูเกี่ยวกับขาวสารทางการเมือง<br />

สามารถอธิบายไดรอยละ 2.6 และตัวแปรทางสังคมและเศรษฐกิจมีผลตอการมีสวนรวมทางการ<br />

เมืองหลังจากที่ตัวแปรทางการเมืองไดอธิบายการมีสวนรวมทางการเมืองแลว<br />

ขอสรุปดังกลาว แมวาจะไมสอดคลองกับผลการวิจัยอื่นๆในประเทศไทยทุกประการ แตมี<br />

ความสอดคลองกันพอสมควร โดยเฉพาะผลการวิจัยของถวิลวดี บุรีกุล (2543) ที่ไดศึกษาเกี่ยวกับ<br />

พฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2543 และพบวา ตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการมีสวนรวม<br />

ทางการเมือง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติและลําดับความสําคัญจากมากไปนอย ไดแก<br />

1) ขาวสารและความสนใจทางการเมือง<br />

2) ความเขาใจทางการเมือง<br />

3) การเปนสมาชิก กรรมการ ที่ปรึกษากลุม<br />

4) กิจกรรมเกี่ยวกับการเมือง<br />

5) การศึกษา (ระดับอนุปริญญาขึ้นไป)<br />

6) ความรู(เกี่ยวกับสมาชิกวุฒิสภา)<br />

7) อายุ<br />

โดยที่การไดรับขาวสารและความสนใจทางการเมือง ความเขาใจทางการเมือง การเปน<br />

สมาชิก กรรมการและที่ปรึกษากลุม กิจกรรมเกี่ยวกับการเมือง และความรูเกี่ยวกับวุฒิสภา มีความ<br />

สัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมทางการเมือง ซึ่งผลการศึกษานี้กลาวไดวา ประชากรที่ไดรับ<br />

ขาวสาร สนใจ เขาใจ มีความรู และเขารวมกิจกรรมทางการเมืองมาก จะทําใหมีสวนรวมทางการ<br />

เมืองมากดวย<br />

จะเห็นไดวา ขอมูลขาวสารทั้งในแงของการสงเสริมใหเกิดความรูความเขาใจและการ<br />

ประชาสัมพันธนับวา เปนปจจัยที่มีผลตอระดับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนเปน<br />

อยางมาก และการที่ประชาชนไดรับขอมูลขาวสารมากจนมีความรูความเขาใจในขอเท็จจริงตางๆ<br />

67


ทางการเมืองไดในระดับคอนขางสูงแลว มักสงผลเชิงบวกตอระดับการมีสวนรวม วิธีการชักจูง<br />

อื่นๆ เชน การบังคับโดยกฎหมาย (รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540) หรือการ<br />

ใหรางวัล (ดํารง, 2538) อาจไมใชสิ่งสําคัญเทากับการเปดกวางในเรื่องการรับรูขอมูลขาวสาร<br />

ดังนั้น ในงานวิจัยนี้ผูวิจัยจะไดนําเอาปจจัยที่มีอิทธิพลตอระดับการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

ของประชาชน ไดแก เพศ อายุ อาชีพ การศึกษา สถานภาพสมรส การนับถือศาสนา ภาษาที่ใช ที่อยู<br />

อาศัย การเปดรับสื่อ รวมถึงโลกทัศนและความเห็นทางการเมือง เพื่อวิเคราะหวาปจจัยใดบางที่มี<br />

อิทธิพลตอระดับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน และมีอิทธิพลที่เปนความสัมพันธใน<br />

ลักษณะใด ยิ่งไปกวานั้น ภายใตเจตนารมณของรัฐธรรมนูญซึ่งมุงเนนใหประชาชนมีสวนรวม<br />

อยางกวางขวางในทุกกระบวนการทางการเมืองดวยแลว ผลการวิเคราะหปจจัยเหลานี้จะนําไปสู<br />

การหาแนวทางที่เหมาะสมในการสงเสริมใหประชาชนเขามามีสวนรวมทางการเมืองมากยิ่งๆ ขึ้น<br />

การทบทวนเกี่ยวกับแนวคิดในเรื่องการมีสวนรวมซึ่งถือเปนกรอบใหญในการปฏิรูประบบ<br />

การเมืองไปสูการมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม รวมกับการทบทวนความรู<br />

เกี่ยวกับสถาบันทางการเมืองตางๆ ซึ่งเปนกลไกการทําหนาที่ตามรัฐธรรมนูญดังที่กลาวมาทั้งหมด<br />

นับเปนสิ่งสําคัญในการทําความเขาใจเพื่อศึกษาการมีสวนรวมของประชาชน และความคิดเห็นตอ<br />

การทํางานของสถาบันทางการเมือง ภายหลังการบังคับใชรัฐธรรมนูญไดหาป ซึ่งผูวิจัยจะไดนําแนว<br />

คิดจากการศึกษาทบทวนไปสูการสรางแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล<br />

ตามระเบียบวิธีวิจัยที่ไดวางไว จากนั้นจะไดทําการการประมวลผล วิเคราะหและสรุปผลการวิจัย<br />

ซึ่งรายละเอียดจะกลาวถึงในบทถัดๆ ไป<br />

2.4 แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินการทํางานของรัฐบาล<br />

รัฐบาลทําอะไรบางหรือควรทําอะไรบาง เปนประเด็นของเรื่องที่นํามาอภิปรายกันในยุโรป<br />

ตะวันตกในหลายปผานมา ในบางประเทศ อาทิ ยุโรปตอนใต การพัฒนาอยางตอเนื่องในเรื่องของ<br />

สวัสดิการตางๆ เปนเปาหมายสําคัญ ขณะที่ในอังกฤษไดมีการปฏิรูปการใหบริการตางๆ ของรัฐ<br />

ในยุโรปตะวันออก รูปแบบของรัฐบาลเองก็ถูกปรับเปลี่ยนไป ขณะที่ประเทศอื่นๆ เชน ยูโกสลาเวีย<br />

เดิมถูกแบงแยกไปแลว อยางไรก็ดี ประเด็นคําถามวารัฐบาลควรจะมีบทบาทอยางไรในสังคม<br />

ยังเปนประเด็นที่มีการศึกษากันเสมอมา นอกจากนี้ เมื่อมีเศรษฐกิจที่เติบโตขึ้น ประเทศกาวหนาขึ้น<br />

การเติบโตทางเศรษฐกิจจึงตองการการพัฒนาดานสิ่งอํานวยความสะดวก สาธารณูปโภค<br />

สาธารณูปการทั้งหลาย การพัฒนาเศรษฐกิจ นํามาสูการมีเทคโนโลยีใหม ซึ่งนํามาซึ่งสังคมและ<br />

การเมืองที่แตกตางกัน รัฐบาลก็ไดรับความกดดันมากขึ้นในเรื่องของความรับผิดชอบตอความเปน<br />

อยูของประชาชน ในรูปแบบของนโยบายและการนํานโยบายไปปฏิบัติ<br />

68


การพัฒนาตางๆ ทําใหนักคิดทางประชาธิปไตยหลายคนแนะนําบทบาทสําคัญระหวาง<br />

สาธารณะ กระบวนการทางนโยบาย และพฤติกรรมของรัฐบาล de Toequeville และ Mill (อางใน<br />

Borre และScarbrough,1998 : 3) เห็นวาความเห็นของสาธารณชนเปนสิ่งสําคัญในการที่จะหลอ<br />

หลอมสังคมได เพื่อปกปองการตอตานรัฐ และเปนการสงผานความคิดเห็นในเรื่องกิจกรรมตางๆ<br />

ของรัฐ ไปใหรัฐทราบ Marx เห็นวารัฐจะดําเนินการตามความสนใจเรื่องของทุน รัฐขาดความอิสระ<br />

ในการพัฒนานโยบายและกิจกรรมตางๆ ที่จะตอตานความสนใจเรื่องทุน<br />

เมื่อเร็วๆ นี้กลุม Neo-Marxists เชน Miliband (1969) และ Paulantzas (1978) และนักสังคม<br />

วิทยา Hebermas (1975) และ Offe (1984) ปรับความเห็นของ Marx เพื่อยอมใหรัฐมีอิสระในการ<br />

ดําเนินการตอปญหาตางๆ โดยระบบทุนนิยม<br />

การพยากรณเรื่องวิกฤติของประชาธิปไตย เปนการวิเคราะหที่แตกตางไป King (1975)<br />

Rose และ Peter (1978) Birch (1984) แนะนําวารัฐบาลมีภาระหนักมากและไมสามารถที่จะตอบ<br />

สนองความตองการและคาดหวังของสาธารณชนที่มีมากมาย แตสิ่งที่มองดูวาเปนสิ่งที่ฟุมเฟอยใน<br />

ปจจุบันก็กลายเปนสิ่งที่จําเปนในอนาคต ประชาชนเริ่มเคยชินกับมาตรฐานความเปนอยูที่ดีขึ้น<br />

ทั้งดานการสาธารณะสุข สวัสดิการและการศึกษา เปนตน ซึ่งประชาชนในปจจุบันก็จะมองไปที่<br />

รัฐบาล (King, 1975: 166)<br />

มีการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายสาธารณะมานานแลว (Nishanen,<br />

1973) นักการเมืองมักแสวงหาการสนับสนุนจากประชาชนโดยการเพิ่มการใหบริการ โดยการเพิ่ม<br />

คาใชจายเพื่อสาธารณชน การศึกษาความเชื่อของประชาชนในเรื่องของการทํางานของรัฐเปนเรื่อง<br />

สําคัญ เพราะในที่สุดความเห็นของประชาชนก็สามารถควบคุมการทํางานของรัฐบาลได ในทวีป<br />

ยุโรปหลายประเทศมีการศึกษาวาความเห็นความเชื่อเหลานั้นมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางไร และมี<br />

การเปรียบเทียบกันระหวางประเทศดวย (Borre และ Scarbrough, 1998: 4)<br />

การทํางานของรัฐบาลหมายถึงขอบเขตของกิจกรรมของรัฐบาลและที่รัฐบาลดําเนิน<br />

กิจกรรมนั้น ซึ่งกอใหเกิดผลกระทบตอชีวิตประจําวันของประชาชน โดยพิจารณานโยบายตางๆ<br />

ของรัฐ<br />

การศึกษาเรื่องความเชื่อตอการทํางานของรัฐเพราะผลกระทบของนโยบายของรัฐ<br />

ในปจจุบันมีมากขึ้น ดังนั้น ระดับของการสนับสนุนกิจกรรมตางๆ ของรัฐจึงเปนเรื่องสําคัญ<br />

ในปจจุบัน เพราะเปนการสนับสนุนระบบการเมืองโดยภาพรวม<br />

จากการศึกษาของ Baker, Dalton และ Hildebrant (1981) นโยบายใหมๆ ของรัฐเกี่ยวของ<br />

กับสภาพแวดลอม สถานภาพทางเพศ และกลุมเชื้อชาติ ความตองการที่จะใหมีการเปลี่ยนแปลง<br />

มาจากประเด็นของความมีสิทธิที่เทาเทียมกันของกลุมสตรี ชนกลุมนอย ดังนั้น สิ่งที่คาดหวังจาก<br />

รัฐบาลที่มีมากขึ้น จึงเกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงกรอบการทํางานของรัฐบาล<br />

69


การสนับสนุนการทํางานของรัฐมีมากตราบเทาที่เศรษฐกิจเติบโต อาทิ รายไดจากภาษี<br />

มากขึ้นโดยไมเพิ่มอัตราภาษี นอกจากนี้ สิ่งที่ประชาชนเชื่ออาจเปลี่ยนแปลงความสําคัญของ<br />

ประเด็นปญหาเกี่ยวกับความเชื่อตอขอบเขตการทํางานของรัฐกําหนดมาจากที่ใด และผลเปน<br />

อยางไร ทฤษฎีเสรีประชาธิปไตยเห็นวาความเห็นของประชาชนมีอิทธิพลตอรัฐบาลและ<br />

นักการเมือง นโยบายของรัฐคงความตอเนื่องของนโยบายได เพราะนโยบายนั้นอยูในความสนใจ<br />

ของประชาชน<br />

ปจจัยที่มีผลตอทัศนะของประชาชนเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอม เชน สภาพ<br />

เศรษฐกิจ (เกิดในยุโรปตั้งแต ค.ศ.1970) ทําใหเกิดแนวคิดใหมๆ เกี่ยวกับสิ่งที่รัฐบาลควรทําหรือไม<br />

ควรทํา เชน การปฏิรูปกฎหมาย หรือการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ นอกจากนี้ สภาพประชากร โครงสราง<br />

ทางสังคมก็มีผลตอทัศนะของประชาชน อาทิ การเปลี่ยนสภาพของประชากรในยุโรป เมื่อ 30 ปที่<br />

ผานมา มีผลตอความคาดหวังของประชาชนตอรัฐ โดยมุงที่การศึกษาเปนสําคัญ และใหความสําคัญ<br />

กับระบบการศึกษาที่เปนเรื่องการศึกษาเพื่อชีวิตที่ดีกวา และจะบรรลุไดอยาง ทัศนะของประชาชน<br />

ทําใหรัฐบาลแตละประเทศจัด สวัสดิการใหประชาชนในลักษณะที่แตกตางกันดวย หากประชาชน<br />

ไมพอใจนโยบายของรัฐเสียแลว ในที่สุดก็จะมีผลตอการสนับสนุนทางการเมืองโดยภาพรวม<br />

เพราะทัศนะของประชาชนเปนเรื่องที่นําไปสูความไมพอใจตอพฤติกรรมของนักการเมืองในระยะ<br />

ยาว หากระดับของความไมพอใจตอการทํางานของรัฐบาลมีมาก แตมีความคาดหวังใหมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงยอมนําไปสูการลดลงของความชอบธรรมในระบบการเมือง ภายใตสถานการณเชนนี้<br />

Easton (1965) เห็นวาหากเปนเชนนี้อนาคตของรัฐบาลและระบบการเมืองและสังคมนั้นๆ กําลัง<br />

ถูกคุกคาม<br />

ประชาชนจึงคาดหวังใหรัฐมีการปรับเปลี่ยนการทํางาน ความเชื่อของประชาชนอาจมี<br />

มากขึ้น และมีความตองการนโยบายใหมๆ ความคาดหวังใหรัฐบาลทํางานใหสําเร็จมีมากขึ้น<br />

แตอาจมีประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวของดวยเชน ความเห็นตอการใชงบประมาณที่มากมหาศาล หรือการที่<br />

ประชาชนเชื่อวารัฐบาลทํางานไมมีประสิทธิภาพ หรือสนใจแตประเด็นชีวิตประจําวัน<br />

การศึกษาทัศนะของประชาชน Borre และ Scarbrough (1998) ใชการสอบถามความคิด<br />

เห็นตอนโยบายตางๆ ของรัฐ ทัศนคติไมใชเปนเพียงตัวชี้วัดของความเชื่อเกี่ยวกับกรอบการทํางาน<br />

ของรัฐบาล ทัศนคติยังเปนเรื่องของสิ่งที่ประชาชนเชื่อ และอาจถูกตอง เปนจริงหรือไมถูกตองเปน<br />

จริงก็ได เชน การสนับสนุนนโยบายหรือการมีกฎหมายที่แข็งกราว อาจเกิดจากความเชื่อที่วาการ<br />

ลงโทษอยางรุนแรงอาจลดอัตราการเกิดอาชญากรรมลงได บางคนตอตานนโยบายอาจมาจากความ<br />

คิดที่วานโยบายไมมีประสิทธิภาพ ใชงบประมาณมากเกินไป ความเชื่อเหลานี้เปนสิ่งสําคัญ ขอมูล<br />

ที่มีผลตอความเชื่องในชวงเวลาตางๆ และความแตกตางของความเชื่อ ความตองการใหรัฐบาล<br />

ดําเนินกิจกรรมตางๆ อาจมาจากความเชื่อวารัฐบาลไมคอยทํางาน ควรทําดีกวานี้และมากกวานี้<br />

ในยุโรปมีการทําสํารวจ (Euro barometer) เพื่อวัดทัศนคติของประชาชนในชวงเวลาตางๆ การมี<br />

70


ขอมูลเกี่ยวกับทัศนะของประชาชนในชวงเวลาตางๆ สามารถศึกษาการเปลี่ยนแปลงดานนโยบาย<br />

ของรัฐและการเมืองได<br />

ความเห็นของประชาชนที่ตางกันในแตละประเทศ อาจเนื่องมาจากความแตกตางดาน<br />

การเมือง วัฒนธรรม ระดับการพัฒนาเศรษฐกิจ Inglehart (อางใน Borre และ Scarbrough ,1998 :<br />

18) เห็นวาแนวโนมที่ประชาชนในสังคมที่มีเศรษฐกิจกาวหนาจะตอตานการขยายสวัสดิการ<br />

หรือลดการไมเทาเทียมกันดานรายได และตอตานการจัดการของรัฐในเรื่องทางเศรษฐกิจและ<br />

อุตสาหกรรม (Inglehart, 1990 : 256) ทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ (Public choice theory) อาจใชได<br />

กับเรื่องนี้ ประชาชนที่มีรายไดเหนือระดับปกติจะมีการตอบสนองทางลบตอการขยายสวัสดิการ<br />

เพราะมูลคาของสินคาสาธารณะเหลานี้ ในเรื่องของภาษีและผลประโยชนที่จะไดรับ แตตรงกันขาม<br />

ในประเทศดอยพัฒนามีการกระจายรายไดที่ไมเทาเทียม และประชาชนที่มีรายไดสูงเปนกลุมนอย<br />

ซึ่งมีอิทธิพลมากตอการขยายสวัสดิการและลดความแตกตางดานรายได ในประเทศที่มีเศรษฐกิจดี<br />

ประชาชนที่มีรายไดมากจะเปนกลุมใหญ ดังนั้น การคัดคานในการขยายสวัสดิการจึงมีมากแตไมได<br />

หมายถึงวาประชาชนไมตองการมีสวัสดิการ จริงๆ แลวมันเปนเรื่องที่รัฐบาลตองศึกษาอยางมากใน<br />

ศตวรรษที่ 1980<br />

ปจจัยทางเศรษฐกิจก็เปนสิ่งสําคัญในแตละประเทศ ความตองการดานนโยบายตางๆ ของ<br />

รัฐขึ้นกับปจจัยหลายๆ ประการ เชน ความตองการปองกันอาชญากรรมจะมีมากในกลุมผูจะตกเปน<br />

เหยื่อของอาชญากรรม ไดแก ผูหญิงและคนสูงอายุ ความเชื่อเหลานี้จะอธิบายคุณคาและบรรทัด<br />

ฐานของสังคมนั้น ประชาชนผูสูงอายุมักจะคาดหวังกับกฎหมายดั้งเดิมและดานอื่นๆ เชนเดียวกับ<br />

กลุมชนชั้นกลางที่ตองการสวัสดิการ ขณะที่กลุมเยาวชนสนใจเรื่องนโยบายใหมๆ เชน ความ<br />

ชวยเหลือจากตางประเทศ ความเทาเทียมทางเพศ และการวิจัยทางเทศโนโลยี แตไมมีกลุมใดที่มี<br />

ความเห็นตางกันในเรื่องการใชจายดานการทหาร เปนตน (Borre และ Scarbrough, 1998: 19)<br />

ดังนั้น จากการสํารวจวรรณกรรมขางตน ในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยจึงมุงศึกษาทัศนะของ<br />

ประชาชนตอการทํางานของภาครัฐ จากการสํารวจความคิดเห็นในประเด็นตางๆ ตามที่มีการศึกษา<br />

อาทิ ศึกษาความพอใจตอการทํางานของรัฐบาลโดยภาพรวม ซึ่งคาดวาเกิดจากความพอใจ<br />

ในนโยบายดานตางๆ และการมีขอมูลเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของรัฐบาล โดยวัดจากความรูความ<br />

เขาใจ นอกจากนี้ ยังศึกษาปจจัยที่มีผลตอความพอใจตอนโยบายดานตางๆ โดยคาดวาปจจัยทาง<br />

เศรษฐกิจและสังคม นาจะมีผลตอความพอใจในนโยบายของรัฐ ดังที่คนพบกันในหลายๆ ประเทศ<br />

71


บทที่ 3<br />

ระเบียบวิธีวิจัย<br />

3.1 วิธีวิจัย<br />

ระเบียบวิธีการวิจัยที่ใชในการศึกษาวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Study)<br />

โดยใชการวิจัยแบบสํารวจ (Survey Research) เพื่อคนหาความสัมพันธระหวางตัวแปรตางๆ ที่<br />

กําหนดขึ้น ซึ่งกระทําโดยการระบุปญหาสําหรับการวิจัย การกําหนดวัตถุประสงค และการตั้ง<br />

สมมติฐานเพื่อการทดสอบ ดังไดกลาวรายละเอียดไวแลวในบทที่ 1 และบทที่ 2 สําหรับในบทที่ 3<br />

นี้จะเปนการกลาวถึงรายละเอียดของกิจกรรมตางๆ ที่กระทําในการวิจัย ประกอบดวยการกําหนด<br />

ประชากรและการสุมตัวอยาง และการเก็บรวบรวมขอมูล รวมถึงการวิเคราะหขอมูลเพื่อนําไปสูการ<br />

ตอบสมมติฐานที่ไดตั้งไว<br />

3.2 ประชากรและการสุมตัวอยาง<br />

ประชากรซึ่งเปนกลุมเปาหมายสําหรับการวิจัยนี้ไดแก ประชาชนชาวไทยผูมีสิทธิออกเสียง<br />

เลือกตั้ง (ผูมีอายุ 18 ปบริบูรณขึ้นไป) โดยใชแบบแผนการสุมตัวอยางที่มีขั้นตอนดังตอไปนี้<br />

1.สุมตัวอยางความนาจะเปนโดยใชขอมูลเขตการเลือกตั้งโดยวิธีการสุมแบบกลุม (Cluster<br />

Sampling) จากเขตเลือกตั้งทั้งหมด 400 เขต เพื่อใหไดเขตเลือกตั้งสําหรับลงเก็บขอมูล 50 เขต<br />

2.ในแตละเขตเลือกตั้งประกอบไปดวยหนวยเลือกตั้งจํานวนแตกตางกัน นํารายชื่อหนวย<br />

เลือกตั้งทั้งหมดจัดเปนบัญชีสําหรับทําการสุมตัวอยางโดยใชวิธีเดียวกับการสุมเขตเลือกตั้ง เพื่อให<br />

ไดหนวยเลือกตั้งสําหรับทําการเก็บขอมูลจํานวน 100 หนวยเลือกตั้ง<br />

3.ในแตละหนวยเลือกตั้งที่สุมไดประกอบไปดวยผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวนแตกตางกัน<br />

นํารายชื่อผูมีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมดจัดทําเปนบัญชีสําหรับทําการสุมตัวอยางโดยใชวิธีเดียวกันกับการ<br />

สุมเขตเลือกตั้งและการสุมหนวยเลือกตั้ง เพื่อใหไดประชากรตัวอยางซึ่งจะเปนผูตอบคําถาม 2,000<br />

ราย<br />

กระบวนการนี้ทําใหสามารถทําการสุมตัวอยางความนาจะเปนของผูมีสิทธิเลือกตั้งชาวไทย<br />

ไดอยางแทจริง ซึ่งเคยใชในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับระดับความเปนประชาธิปไตยของสถาบันพระ<br />

ปกเกลามาแลวครั้งหนึ่ง และไดรับผลจากการศึกษาวิจัยที่นาเชื่อถือ โดยที่กลุมตัวอยางสามารถเปน<br />

ตัวแทนของผูมีสิทธิเลือกตั้งทั่วประเทศไดอยางแทจริง<br />

ภายหลังจากการสุมอยางแบบกลุมทําใหไดหนวยเลือกตั้งเปนพื้นที่สําหรับเก็บขอมูล<br />

กระจายไปในพื้นที่ 42 จังหวัดในทุกภาคของประเทศ ดังตารางตอไปนี้<br />

72


ภาค<br />

ภาคเหนือ<br />

ภาคตะวันออก<br />

เฉียงเหนือ<br />

ภาคกลาง<br />

&ตะวันออก<br />

ภาคใต กรุงเทพฯ รวม<br />

จังหวัด<br />

(จํานวน)<br />

7 12 16 6 1 42<br />

จํานวน 358 565 719 224 134 2,000<br />

สัดสวน 0.18 0.28 0.36 0.11 0.07 1.00<br />

3.3 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา<br />

เครื่องมือที่ใชในการศึกษานี้ คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) และแบบวัด ซึ่งผูวิจัยสราง<br />

ขึ้นจากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ แบงออกเปน สวน (โปรดดูตัวอยาง<br />

แบบสอบถามในภาคผนวก ก) คือ<br />

สวนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลพื้นฐานของผูตอบ ประกอบดวยคําถามซึ่งสวนใหญมี<br />

ลักษณะเปนคําถามแบบปลายปด (Close – ended) เพื่อใชเปนมาตรวัดตัวแปรที่ใชเปนตัวแปรอิสระ<br />

(Independent Variable) และบางตัวอาจใชเปนตัวแปรควบคุม (Independent Variable) ดวย ตัวแปร<br />

ดังกลาวไดแก<br />

- ตัวแปรจังหวัดและอําเภอที่อาศัยอยู (คําถามขอ 1.1)<br />

- ตัวแปรเพศ (คําถามขอ 1.2)<br />

- ตัวแปรอายุ (คําถามขอ 1.3)<br />

- ตัวแปรสถานภาพสมรส (คําถามขอ 1.4)<br />

- ตัวแปรอาชีพ (คําถามขอ 1.5)<br />

- ตัวแปรรายได (คําถามขอ 1.6)<br />

- ตัวแปรการศึกษา (คําถามขอ 1.7)<br />

- ตัวแปรการนับถือศาสนา (คําถามขอ 1.8)<br />

- ตัวแปรภาษาที่ใชในครอบครัว (คําถามขอ 1.9)<br />

- ตัวแปรเขตที่อยูอาศัย (คําถามขอ 1.10)<br />

สวนที่ 2 แบบสอบถามการเปดรับสื่อทางการเมือง (คําถามขอ 2.1 – 2.4) ประกอบดวยคํา<br />

ถามทั้งแบบปลายปดและปลายเปด (Close and Open – ended) เพื่อทราบถึงการเปดรับฟงขอมูลขาว<br />

สารทางการเมืองของประชาชนวามีการเปดรับจากแหลงใดบาง (หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน) ใน<br />

ระดับใด (ทุกวัน สัปดาหละ 2-3 วัน สัปดาหละครั้ง แทบจะไมไดติดตามเลย) และจากแหลงขาว<br />

สารใดมากที่สุด (หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน พูดคุยกับบุคคลอื่น หอกระจายขาว อื่นๆ)<br />

73


สวนที่ 3 แบงคําถามเปนสองสวน คือ สวนแรก แบบวัดระดับการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

ลักษณะของแบบวัดเปนชนิด 4 ตัวเลือก (บอยมาก คอนขางบอย นานๆ ครั้ง ไมเคยเลย) จํานวน 10<br />

ขอ และชนิด 2 ตัวเลือก จํานวน 4 ขอ รวม 14 ขอ โดยใชคําถามที่ถามถึงความถี่ของการมีสวนรวม<br />

ในการกระทํากิจกรรมตางๆ อางอิงกับลําดับขั้นของการมีสวนรวมทางการเมืองในบริบทสากลซึ่ง<br />

ถวิลวดี (2543) พัฒนาจาก Milbrath (1965) และ Roth และ Wilson (1980) ตามลําดับ (รายละเอียด<br />

ตัวชี้วัดในบทที่ 2) ดังนี้<br />

(ก) ความสนใจและการมีสวนรวมระดับต่ํา<br />

1. คุยเรื่องการเมืองกับคนในครอบครัว หรือกับเพื่อน (คําถามขอ 3A.1)<br />

2. ไปลงคะแนนในการเลือกตั้งทองถิ่น (คําถามขอ 3A.8)<br />

3. ไปเลือกตั้ง ส.ว. (ครั้งแรก) เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2543 (คําถามขอ 3B.1)<br />

4. ไปเลือกตั้ง ส.ส. (ครั้งแรก) เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2544 (คําถามขอ 3B.2)<br />

5. พูดชักชวนผูอื่น ใหไปลงคะแนนใหผูสมัครหรือใหเห็นดวยกับนโยบายของนักการ<br />

เมืองหรือพรรคการเมืองที่ทานชื่นชอบ (คําถามขอ 3A.9)<br />

6. ใสหมวก หรือสวมเสื้อ หรือติดสติกเกอรเพื่อรวมประชาสัมพันธทางการเมือง ใน<br />

ระหวางมีการเลือกตั้ง (คําถามขอ 3A.7)<br />

(ข) ความสนใจและการมีสวนรวมระดับปานกลาง<br />

1. มีการติดตอกับนักการเมืองหรือผูนําทางการเมือง (คําถามขอ 3A.5)<br />

2. เคยบริจาคเงินหรือสิ่งของเพื่อสนับสนุนพรรคการเมืองหรือเพื่อชวยผูสมัครทั้งระดับ<br />

ทองถิ่นหรือระดับชาติใชหาเสียง (คําถามขอ 3A.10)<br />

3. รวมชุมนุมฟงการหาเสียง/แนะนําตัวผูสมัครรับเลือกตั้ง (คําถามขอ 3A.4)<br />

4. เขารวมในเวทีสาธารณะหรือประชาพิจารณที่มีการจัดขึ้นในทองถิ่น (คําถามขอ 3A.3)<br />

5. มีการรวมตัวกับคนอื่นเปนกลุมผลประโยชนหรือเปนสมาชิกกลุม (คําถามขอ 3A.2)<br />

6. ชวยผูสมัครบางคนหาเสียง (คําถามขอ 3A.6)<br />

7. ใหการสนับสนุนพรรคการเมือง (คําถามขอ 3A.11)<br />

8. เปนสมาชิกพรรคการเมือง (คําถามขอ 3A.12)<br />

สวนที่สอง แบบสอบถามการไปใชสิทธิเลือกตั้ง ประกอบดวยคําถามแบบปลายปดชนิด<br />

หลายตัวเลือกรวม 9 ขอ ทั้งนี้ แมวานักวิชาการในประเทศตะวันตกจะจัดลําดับการมีสวนรวมโดย<br />

การใชสิทธิออกเสียงเลือกตั้งของประชาชนวาเปนการมีสวนรวมในระดับต่ําเทานั้น แตการมีสวน<br />

รวมในการเลือกตั้งนับเปนการมีสวนรวมทางการเมืองที่สําคัญของประชาชนทั่วไป และยังเปน<br />

กติกาหลักที่สําคัญในระบอบประชาธิปไตยดวย ดังนั้น จึงไดมีคําถามซึ่งเปนการถามเกี่ยวกับการไป<br />

74


ใชสิทธิ การไดรับขาวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้ง ปจจัยที่ทําใหตัดสินใจไปลงคะแนน รวมทั้งปจจัยที่<br />

ใชตัดสินใจเลือกผูสมัครดวย ดังนี้<br />

- การไปใชสิทธิเลือกตั้งที่ผานมา<br />

• การเลือกตั้ง ส.ว. (ครั้งแรก) เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2543 (คําถามขอ 3B.1)<br />

• การเลือกตั้ง ส.ส. (ครั้งแรก) เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2544 (คําถามขอ 3B.2)<br />

- การใชสิทธิเลือกตั้ง กรณีมีการเลือกตั้งใหมหลายรอบ<br />

• การเลือกตั้ง ส.ส./ส.ว. ใหม ในเขตเลือกตั้ง (คําถามขอ 3B.3)<br />

• การไปใชสิทธิเลือกตั้งในกรณีที่มีการเลือกตั้งใหม (คําถามขอ 3B.4)<br />

- ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้งและผูสมัครรับเลือกตั้งจากสื่อที่ไดรับมากที่สุด (คํา<br />

ถามขอ 3C)<br />

- ปจจัยหลักที่ทําใหไปลงคะแนน (คําถามขอ 3D)<br />

- ปจจัยที่ใชในการพิจารณาเลือกผูสมัคร (คําถามขอ 3E)<br />

- ความตั้งใจที่จะไปใชสิทธิเลือกตั้ง ส.ส. หรือ ส.ว. ครั้งตอไป (คําถามขอ 3F)<br />

- ความรูสึกอยากตรวจสอบติดตามการทํางานของ ส.ว./ส.ส.หรือรัฐบาล ภายหลังการ<br />

เลือกตั้ง (คําถามขอ 3G)<br />

สวนที่ 4 แบบวัดโลกทัศนและความเห็นทางการเมือง ซึ่งจะมีทั้งขอความ “เชิงบวก” หรือ<br />

ขอความที่แสดงการสนับสนุนระบบการเมืองการปกครอง และสะทอนโลกทัศนแบบ<br />

ประชาธิปไตย และขอความ “เชิงลบ” หรือขอความที่แสดงการตอตานระบบการเมืองการปกครอง<br />

และสะทอนโลกทัศนแบบประเพณีนิยม/อํานาจนิยม โดยมีคําตอบใหเลือกตอบ 4 ระดับ คือเห็น<br />

ดวยมากที่สุด คอนขางเห็นดวย ไมคอยเห็นดวย และไมเห็นดวยเลย รวมทั้งสิ้น 24 ขอ ดังตอไปนี้<br />

- การสนับสนุนตอระบบการเมือง 2 ขอ<br />

• การยอมรับในระบบการปกครองปจจุบันของประเทศ (คําถามขอ 4A.1)<br />

• การยอมรับในระบบการเลือกตัวแทน (คําถามขอ 4A.2)<br />

- ประสิทธิภาพทางการเมือง 4 ขอ<br />

• ความเขาใจตอระบบการเมืองที่ซับซอน (คําถามขอ 4B.1)<br />

• การยอมรับอํานาจการบริหารโดยคณะบุคคล (คําถามขอ 4B.2)<br />

• ความเชื่อมั่นในอิทธิพลตอการทํางานของรัฐบาล (คําถามขอ 4B.3)<br />

• ความเชื่อมั่นในการไปใชสิทธิเลือกตั้ง (คําถามขอ 4B.4)<br />

- วัฒนธรรมทางการเมืองแบบอํานาจนิยม 3 ขอ<br />

• การยอมรับอํานาจของผูนํา (คําถามขอ 4C.1)<br />

• การเปดรับการแกปญหาโดยทหาร (คําถามขอ 4C.2)<br />

75


• การยอมรับฟงเสียงขางนอย (คําถามขอ 4C.3)<br />

- คานิยมแบบประเพณีนิยม 1 ขอ<br />

• การยอมรับฐานะทางสังคม (คําถามขอ 4D.1)<br />

- การแบงแยกทางความคิด 3 ขอ<br />

• การธํารงความเปนเจาของรัฐวิสาหกิจของรัฐ (คําถามขอ 4E.1)<br />

• อํานาจของรัฐในการตัดสินใจเรื่องของทองถิ่น (คําถามขอ 4E.2)<br />

• การรักษาวัฒนธรรมของชาติ (คําถามขอ 4E.3)<br />

- ความเชื่อมั่นในระบอบประชาธิปไตย ระบบรัฐสภา 6 ขอ<br />

• ความเชื่อมั่นในเสียงของฝายคานในสภา (คําถามขอ 4F.1)<br />

• การยอมรับรูปแบบการชุมนุมประทวงของประชาชน (คําถามขอ 4F.2)<br />

• การยอมรับการออกกฎหมายโดยสภาผูแทนราษฎร (คําถามขอ 4F.3)<br />

• ความเชื่อมั่นในสิทธิที่จะแสดงความคิดเห็นตอการทําหนาที่ของศาล (คําถาม<br />

ขอ 4F.4)<br />

• การยอมรับการอภิปรายแสดงความเห็นในสภาผูแทนราษฎร (คําถามขอ 4F.5)<br />

• ความเชื่อมั่นตอการอภิปรายไมไววางใจในสภา (คําถามขอ 4F.6)<br />

- การตรวจสอบทางการเมือง<br />

• ความตองการระบบที่เปดเผย โปรงใส (คําถามขอ 4G.1)<br />

• การตรวจสอบดวยการทําประชาพิจารณ (คําถามขอ 4G.2)<br />

- ความเชื่อถือตอวิถีทางประชาธิปไตย<br />

• การยอมรับในสิทธิที่เทาเทียมกันทางเพศ (คําถามขอ 4H.1)<br />

• ความเชื่อถือตอวิถีทางประชาธิปไตยในการแกไขปญหาชีวิตความเปนอยู (คํา<br />

ถามขอ 4H.2)<br />

• ความยอมรับในความเทาเทียมกันทางการเมือง โดยไมขึ้นกับระดับการศึกษา<br />

(คําถามขอ 4H.3)<br />

นอกจากนี้ คําถามในชวงทายของสวนที่ 4 เปนแบบสอบถามที่เนนเฉพาะโลกทัศน และ<br />

ความคิดเห็นตอนักการเมือง เพื่ออธิบาย “นักการเมืองที่ดีในความเห็นของคนไทย” ประกอบดวย<br />

คําถามปลายเปด 1 ขอ และคําถามแบบ 5 ตัวเลือกอีก 3 ขอ รวมทั้งสิ้น 4 ขอ ในประเด็นดังนี้<br />

- ความหมายของนักการเมืองที่ดี (คําถามขอ 4I.1)<br />

- ความสัมพันธกับนักการเมือง<br />

• เชิญนักการเมืองมารวมงานประเพณี (คําถามขอ 4I.2)<br />

• ขอรับบริจาคจากนักการเมือง (คําถามขอ 4I.3)<br />

76


• ขอรับความชวยเหลือจากนักการเมือง (คําถามขอ 4I.4)<br />

สวนที่ 5 ประกอบดวยแบบวัดระดับการรับรูเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพและหนาที่ของประชาชน<br />

ตามรัฐธรรมนูญ ชนิด 2 ตัวเลือก (ทราบ / ไมทราบ) เพื่อทดสอบระดับความรูพื้นฐานของประชา<br />

ชนที่มีตอรัฐธรรมนูญ จํานวน 10 ขอ และแบบสอบถามการมีสวนหรือมีผูเกี่ยวของไดรับหรือไดใช<br />

สิทธิเสรีภาพและหนาที่ดังกลาว (เคยใช / ไมเคยใช) จํานวน 10 ขอ รวมทั้งระดับความพอใจจากการ<br />

ไดรับหรือไดใชสิทธินั้นๆ (พอใจ / ไมพอใจ) จํานวน 7 ขอ รวม 27 ขอ ในประเด็นตามรัฐธรรมนูญ<br />

ดังนี้<br />

- สิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไมนอยกวา 12 ป (คําถามขอ 5A.1-5A.2)<br />

- สิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขที่ไดมาตรฐาน(คําถามขอ 5B.1-5B.2)<br />

- สิทธิของผูยากไรมีสิทธิไดรับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ<br />

โดยไมเสียคาใชจาย(คําถามขอ 5C.1-5C.3)<br />

- สิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและชุมชนในการบํารุงรักษา และการได<br />

ประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ(คําถามขอ 5D.1-5D.3)<br />

- เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ(คําถามขอ 5E.1-5E.3)<br />

- สิทธิเขาชื่อเสนอกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพ และแนวนโยบายแหงรัฐ(คําถามขอ<br />

5F.1-5F.3)<br />

- สิทธิเขาชื่อเพื่อถอดถอนบุคคลซึ่งดํารงตําแหนงสําคัญๆ หากมีพฤติการณสอทุจริต<br />

หรือร่ํารวยผิดปกติ(คําถามขอ 5G.1-5G.3)<br />

- สิทธิเขาชื่อเพื่อเสนอกฎหมายทองถิ่น(คําถามขอ 5H.1-5H.2)<br />

- สิทธิเขาชื่อเพื่อถอดถอนผูบริหารหรือสมาชิกสภาทองถิ่น(คําถามขอ 5I.1-5I.2)<br />

- สิทธิไดรับทราบขอมูลหรือขาวสารสารธารณะในครอบครองของหนวยราชการ(คํา<br />

ถามขอ 5J.1-5J.3)<br />

สวนที่ 6 แบงเปนสามสวน คือ สวนแรก แบบวัดความรูเกี่ยวกับรัฐสภา ประกอบดวยคํา<br />

ถามชนิด 2 ตัวเลือก (ใช / ไมใช) จํานวน 7 ขอ ในประเด็นคําถามดังนี้<br />

- โครงสรางของรัฐสภาไทย 2 ขอ (คําถามขอ 6A.1- 6A.2)<br />

- บทบาทและอํานาจหนาที่ของรัฐสภาไทย 5 ขอ(คําถามขอ 6A.3-6A.7)<br />

สวนที่สอง แบงการวัดเปนสองรูปแบบ คือ (1) แบบวัดการรับรู โดยการถามถึงการรูจัก<br />

บุคคลตําแหนงสําคัญที่ทําหนาที่ในระบบรัฐสภา ไดแก<br />

- ประธานรัฐสภา (คําถามขอ 6B1.1)<br />

- ประธานวุฒิสภา (คําถามขอ 6B2.1)<br />

77


- ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร (คําถามขอ 6B3.1)<br />

- สมาชิกวุฒิสภาในจังหวัดของผูตอบ (คําถามขอ 6B4.1)<br />

- สมาชิกสภาผูแทนราษฎรในจังหวัดของผูตอบ (คําถามขอ 6B4.2)<br />

(2) แบบวัดระดับความพึงพอใจ ตอบทบาทและอํานาจหนาที่ของรัฐสภาโดยรวม ประกอบ<br />

ดวยการวัดระดับความพึงพอใจตอบุคคลตําแหนงสําคัญๆ 4 ขอ ตอสภาผูแทนราษฎร 11 ขอ และตอ<br />

วุฒิสภา 8 ขอ รวม 23 ขอ คําถามที่ใชเปนคําถามชนิด 4 ตัวเลือกตามระดับความพอใจเรียงจากพอใจ<br />

มาก คอนขางพอใจ ไมคอยพอใจ จนถึงไมพอใจเลย ในประเด็นดังนี้<br />

- ระดับความพึงพอใจตอบุคคล<br />

• ประธานรัฐสภา (คําถามขอ 6B1.2- 6B1.3)<br />

• ประธานวุฒิสภา (คําถามขอ 6B2.2)<br />

• ผูนําฝายคาน (คําถามขอ 6B3.2)<br />

- ระดับความพึงพอใจตอบทบาทหนาที่ของสภาผูแทนราษฎร<br />

• การแสดงบทบาทผูแทนของประชาชน (คําถามขอ 6C.5 - 6C.6)<br />

• การแสดงบทบาทการใหความรูความเขาใจทางการเมือง (คําถามขอ 6C.11)<br />

• การทําหนาที่ทางนิติบัญญัติ (คําถามขอ 6C.1- 6C.4)<br />

• การทําหนาที่ควบคุมการบริหารราชการแผนดิน (คําถามขอ 6C.7 - 6C.10)<br />

- ระดับความพึงพอใจตอบทบาทหนาที่ของวุฒิสภา<br />

• การทําหนาที่ทางนิติบัญญัติ (คําถามขอ 6D.1 - 6D.2)<br />

• การทําหนาที่ควบคุมการบริหารราชการแผนดิน (คําถามขอ 6D.3 - 6D.5)<br />

• การทําหนาที่ตรวจสอบ (คําถามขอ 6D.6 - 6D.8)<br />

สวนที่ 3 แบบสอบถามความตองการที่มีตอการทํางานของสมาชิกรัฐสภา ประกอบดวยคํา<br />

ถามที่สะทอนระดับการเห็นความสําคัญ แบงตัวเลือกเปน 4 ระดับ คือ มีผลกระทบมาก มีผลกระทบ<br />

บาง มีผลกระทบเล็กนอย และไมมีผลกระทบเลย และคําถามที่ตองการทราบความคาดหวัง 2 แบบ<br />

แยกเปนคําถามปลายปดชนิด 5 ตัวเลือก (ดีขึ้นมาก คอนขางดีขึ้น เหมือนเดิม คอนขางแยลง แยลง<br />

มาก) 2 ขอและชนิดปลายเปดระบุได 3 คําตอบ 2 ขอ ในประเด็น ดังตอไปนี้<br />

- ผลกระทบจากการทํางานของสมาชิกรัฐสภาตอชีวิตประจําวัน (คําถามขอ 6E)<br />

- ความคาดหวังตอการทํางานของสมาชิกรัฐสภา (คําถามขอ 6F.1 – 6F.2)<br />

- บทบาทของสมาชิกรัฐสภาที่ประชาชนตองการ (คําถามขอ 6F.3 – 6F.4)<br />

สวนที่ 7 แบบวัดและแบบสอบถามเกี่ยวกับรัฐบาล แบงการถามเปนสองสวน สวนแรกเปน<br />

แบบวัดระดับความรูความเขาใจตอบทบาทและอํานาจหนาที่ของรัฐบาล ชนิดเลือกตอบ 2 ตัวเลือก<br />

78


8 ขอและแบบวัดระดับความพอใจตอนโยบายรัฐบาล 19 ขอ โดยแบงระดับความพอใจเปน 4 ระดับ<br />

คือ พอใจมาก คอนขางพอใจ ไมคอยพอใจ และไมพอใจเลย ดังนี้<br />

- ความเขาใจเกี่ยวกับรัฐบาล (คําถามขอ 7A.1 – 7A.8)<br />

- นโยบายของรัฐบาลปจจุบัน (คําถามขอ 7B.1 – 7B.19)<br />

สวนที่สอง แบบสอบถามความตองการที่มีตอการทํางานของรัฐบาล ประกอบดวยคําถามที่<br />

สะทอนระดับความสําคัญตอประชาชน โดยการถามถึงผลกระทบตอชีวิตประจําวัน 1 ขอ แบงตัว<br />

เลือกเปน 4 ระดับ คือ มีผลกระทบมาก มีผลกระทบบาง มีผลกระทบเล็กนอย และไมมีผลกระทบ<br />

เลย และการถามถึงความสนใจติดตามการทํางานของรัฐบาล 3 ขอ และคําถามที่สะทอนความพึงพอ<br />

ใจในการแกไขปญหาอีก 1 ขอ เปนคําถามปลายปดชนิด 4 ตัวเลือก (แกไขไดอยางมาก แกไขไดบาง<br />

แกไขไดเพียงเล็กนอย ไมสามารถแกไขไดเลย) ในประเด็นดังนี้<br />

- ผลกระทบจากการทํางานของรัฐบาลตอชีวิตประจําวัน (คําถามขอ 7B.20)<br />

- การสนใจติดตามการทํางานของรัฐบาล (คําถามขอ 7B.21 – 7B.22)<br />

- ความสามารถในการแกไขปญหาของรัฐบาล (คําถามขอ 7B.23)<br />

สวนที่ 8 แบบสอบถามการติดตอกับเจาหนาที่ของรัฐและนักการเมือง ประกอบดวยคําถาม<br />

ปลายปดชนิด 3 ตัวเลือก ลักษณะคําถามเปนการถามถึงความถี่ที่ประชาชนติดตอกับบุคคลหรือองค<br />

กรทางการเมืองทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ หรือแสดงออกอยางใดอยางหนึ่งเพื่อแกไข<br />

ปญหาในชีวิตประจําวัน โดยแบงความถี่ออกเปน 3 ระดับ ไดแก เคยมากกวาหนึ่งครั้ง เคยเพียงครั้ง<br />

เดียว และไมเคยเลย รวม 12 ขอ ดังนี้<br />

- ติดตอกับขาราชการที่เกี่ยวของกับปญหา<br />

- ติดตอกับขาราชการระดับสูง<br />

- ติดตอกับสมาชิกสภาผูแทนราษฎร<br />

- ติดตอกับสมาชิกวุฒิสภา<br />

- ติดตอกับนักการเมืองระดับทองถิ่น<br />

- ติดตอกับพรรคการเมือง<br />

- ติดตอกับองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ไดแก ศาลปกครอง ผูตรวจการแผนดินของรัฐ<br />

สภาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ<br />

- ติดตอกับองคกรพัฒนาเอกชน (NGO) สมาคมหรือกลุมทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม<br />

- ติดตอกับผูนําชุมชน<br />

- ติดตอกับสื่อมวลชน<br />

- การเดินขบวน หรือการชุมนุมประทวง<br />

79


- วิธีการอื่นๆ<br />

สวนที่ 9 แบงการพิจารณาเปนสองรูปแบบ คือ (1) แบบสอบถามระดับความเชื่อมั่น ตอการ<br />

ทํางานขององคกรใหมซึ่งเปนผลจากรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน เปนลักษณะคําถามปลายปดชนิด 4<br />

ตัวเลือกโดยแบงระดับความเชื่อมั่นเปน 4 ระดับ ไดแก เชื่อมั่นมาก คอนขางเชื่อมั่น ไมคอยเชื่อมั่น<br />

ไมเชื่อมั่นเลย และ (2) แบบวัดระดับความพึงพอใจ ตอการทํางานขององคกรตางๆ ดังกลาวเทาที่<br />

ผานมา โดยอาศัยคําถามปลายปดชนิด 4 ตัวเลือก และแบงระดับความพอใจเปน 4 ระดับ คือ พอใจ<br />

มาก คอนขางพอใจ ไมคอยพอใจ และไมพอใจเลย สําหรับองคกรที่ยกขึ้นสอบถามนั้นมีดังนี้<br />

- ศาลยุติธรรม (คําถามขอ 9A)<br />

- ศาลรัฐธรรมนูญ (คําถามขอ 9B)<br />

- ศาลปกครอง (คําถามขอ 9C)<br />

- ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา (คําถามขอ 9D)<br />

- คณะกรรมการการเลือกตั้ง (คําถามขอ 9E)<br />

- คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (คําถามขอ 9F)<br />

- คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน (คําถามขอ 9G)<br />

- คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (คําถามขอ 9H)<br />

- สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (คําถามขอ 9I)<br />

- คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (คําถามขอ 9J)<br />

สวนที่ 10 แบงการพิจารณาเปนสองรูปแบบ คือ (1) แบบสอบถามระดับความเชื่อมั่น ตอ<br />

สถาบันทางการเมือง เปนลักษณะคําถามปลายปดชนิด 4 ตัวเลือกโดยแบงระดับความเชื่อมั่นเปน 4<br />

ระดับ ไดแก เชื่อมั่นมาก คอนขางเชื่อมั่น ไมคอยเชื่อมั่น ไมเชื่อมั่นเลย และ (2) แบบวัดระดับความ<br />

พึงพอใจ ตอการทํางานที่ผานมาของสถาบันดังกลาวเทาที่ผานมา โดยอาศัยคําถามปลายปดชนิด 4<br />

ตัวเลือก และแบงระดับความพอใจเปน 4 ระดับ คือ พอใจมาก คอนขางพอใจ ไมคอยพอใจ และไม<br />

พอใจเลย สําหรับสถาบันทางการเมืองสําคัญที่ตั้งเปนคําถาม มีดังนี้<br />

- รัฐบาล (คําถามขอ 10A)<br />

- นายกรัฐมนตรี (คําถามขอ 10B)<br />

- รัฐสภา (คําถามขอ 10C)<br />

- สมาชิกสภาผูแทนราษฎร (คําถามขอ 10D)<br />

- สมาชิกวุฒิสภา (คําถามขอ 10E)<br />

- ฝายคาน (คําถามขอ 10F)<br />

- ขาราชการ (คําถามขอ 10G)<br />

80


- ตํารวจ (คําถามขอ 10H)<br />

- ทหาร (คําถามขอ 10I)<br />

- พรรคการเมือง (คําถามขอ 10J)<br />

- หนังสือพิมพ (คําถามขอ 10K)<br />

- โทรทัศน (คําถามขอ 10L)<br />

- องคกรพัฒนาเอกชน (NGO) (คําถามขอ 10M)<br />

สวนที่ 11 แบบสอบถามระดับความพอใจตอการทํางานโดยภาพรวมของกระทรวง<br />

ประกอบดวยคําถามปลายปดชนิด 4 ตัวเลือกแบงระดับความพอใจเปน 4 ระดับ คือ พอใจมาก คอน<br />

ขางพอใจ ไมคอยพอใจ และไมพอใจเลย ตอหนวยงานระดับกระทรวงตามพระราชบัญญัติระเบียบ<br />

บริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 รวม 14 หนวยงาน กลาวคือ<br />

- กระทรวงมหาดไทย (คําถามขอ 11.1)<br />

- กระทรวงกลาโหม (คําถามขอ 11.2)<br />

- กระทรวงยุติธรรม (คําถามขอ 11.3)<br />

- กระทรวงการตางประเทศ (คําถามขอ 11.4)<br />

- กระทรวงคมนาคม (คําถามขอ 11.5)<br />

- กระทรวงพาณิชย (คําถามขอ 11.6)<br />

- กระทรวงเกษตรและสหกรณ (คําถามขอ 11.7)<br />

- กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม (คําถามขอ 11.8)<br />

- กระทรวงศึกษาธิการ (คําถามขอ 11.9)<br />

- กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม (คําถามขอ 11.10)<br />

- กระทรวงสาธารณสุข (คําถามขอ 11.11)<br />

- กระทรวงอุตสาหกรรม (คําถามขอ 11.12)<br />

- สํานักนายกรัฐมนตรี (คําถามขอ 11.13)<br />

- ทบวงมหาวิทยาลัย (คําถามขอ 11.14)<br />

สวนที่ 12 แบบสอบถามเกี่ยวกับการคอรัปชั่น ประกอบดวยคําถามเพื่อทราบความคิดเห็น<br />

เกี่ยวกับการคอรัปชั่น 7 ขอ และคําถามเพื่อทราบประสบการณเกี่ยวกับการคอรัปชั่น 1 ขอ โดยใน<br />

การสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการคอรัปชั่นจะถามในสองประเด็นสําคัญ กลาวคือ ประเด็นแรก<br />

ความคิดเห็นตอพฤติกรรมตางๆ ไดแก<br />

- การที่เจาหนาที่ของรัฐในระดับใดก็ตามใหญาติหรือเพื่อนเขาทําสัญญาสัมปทานหรือ<br />

รับเหมากับรัฐ (คําถามขอ 12A.1)<br />

81


- การใหเงินหรือของขวัญแกชาวบานในระหวางการเลือกตั้ง (คําถามขอ 12A.2)<br />

- การใหเงินบริจาคแกเจาหนาที่ของรัฐในโอกาสสําคัญ เชน วันขึ้นปใหม วันเกิด หรือ<br />

กิจกรรมอื่นๆ (คําถามขอ 12A.3)<br />

- การใหของขวัญหรือทําสิ่งอื่นเพื่อใหเจาหนาที่ซึ่งมีอํานาจพอใจ (คําถามขอ 12A.4)<br />

โดยใชคําถามปลายปดชนิด 3 ตัวเลือกเพื่อถามวาพฤติกรรมที่ยกเปนคําถามนี้เปน (1) แค<br />

ของขวัญ (2) เปนการติดสินบน (3) เปนการคอรัปชั่น<br />

นอกจากความคิดเห็นตอพฤติกรรมตางๆ ดังกลาว ผูวิจัยยังไดตั้งคําถามเพื่อทราบความคิด<br />

เห็นตอความจําเปนของการคอรัปชั่นในรัฐบาลเพื่อใหการดําเนินงานบางอยางสําเร็จลุลวงไปไดอีก<br />

ขอหนึ่ง (คําถามขอ 12A.5) เปนคําถามปลายปดชนิด 4 ตัวเลือก คือ เห็นดวยมากที่สุด เห็นดวย ไม<br />

เห็นดวย ไมเห็นดวยอยางมาก<br />

ประเด็นที่สอง ความคิดเห็นตอการคอรัปชั่นและการรับสินบนในประเทศไทย ประกอบ<br />

ดวยคําถามปลายปดชนิด 4 ตัวเลือก ตามระดับความคิดเห็นตอการเกี่ยวของกับการคอรัปชั่นใน<br />

ระดับทองถิ่น (คําถามขอ 12B.1) และการคอรัปชั่นในระดับชาติ (คําถามขอ 12B.2) รวม 2 ขอ วาผู<br />

ตอบคําถามเห็นวา (1) แทบไมมีใครเกี่ยวของ (2) เจาหนาที่บางคนคอรัปชั่น (3) เจาหนาที่สวนใหญ<br />

คอรัปชั่น หรือ (4) คอรัปชั่นเกือบทุกคน<br />

คําถามสุดทายของสวนที่ 12 เปนการสอบถามถึงประสบการณของประชาชนที่มีสวนรับ<br />

ทราบหรือพบเห็นเกี่ยวกับการคอรัปชั่นหรือการรับสินบนของเจาหนาที่รัฐ โดยใชคําถามปลายปด<br />

ชนิด 4 ตัวเลือก คือ (1) เคยพบเห็นดวยตนเอง (2) สมาชิกในครอบครัวหรือเพื่อนเคยพบเห็น เลาให<br />

ฟง (3) เคยไดฟงจากคนอื่น (4) รูจากสื่อมวลชน<br />

3.4 การสรางเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล<br />

การสรางแบบสอบถามเพื่อใชเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนามซึ่งเลือกใช<br />

วิธีสัมภาษณตามแบบสอบถามนั้น ในขั้นตอนนี้ผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้<br />

1. ทําการสํารวจวรรณกรรมและทฤษฎีที่เกี่ยวของจากหนังสือ ผลงานวิจัย และเอกสาร<br />

ตางๆ เพื่อนําขอมูลที่เกี่ยวของมาประมวลรวมกันสรางเปนแบบสอบถามที่มีเนื้อหาครอบคลุมทุก<br />

ประเด็นที่ตองการทดสอบ<br />

2. สรางแบบสอบถามตามรูปแบบและเนื้อหาที่ไดทําการศึกษาไว พรอมทั้งตรวจสอบความ<br />

ถูกตองของการใชภาษาเบื้องตนโดยคณะผูวิจัย<br />

3. ตรวจสอบความถูกตองของภาษา ความเที่ยงตรงและความครอบคลุมของเนื้อหา โดย<br />

เชิญผูทรงคุณวุฒิทางดานรัฐศาสตรรวมประชุมเพื่อใหขอเสนอแนะรางแบบสอบถาม<br />

4. ดําเนินการปรับแกแบบสอบถามตามความเห็นของที่ประชุมผูทรงคุณวุฒิ และสงรางที่<br />

ปรับแกใหผูทรงคุณวุฒิอานตรวจทานและใหขอเสนอแนะเพิ่มเติมกอนนําไปทดสอบ<br />

82


3.5 การทดสอบและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใชในการศึกษา<br />

3.5.1 การทดสอบแบบสอบถาม<br />

ผูวิจัยไดนําแบบสอบถามที่สรางขึ้นไปทําการทดสอบ (Pre-test) โดยการลงไปสัมภาษณ<br />

เก็บขอมูลแบบสอบถามจํานวน 100 ชุด ในพื้นที่ 2 จังหวัด คือจังหวัดสระบุรี และนครราชสีมา โดย<br />

การเลือกกลุมตัวอยางที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกับกลุมตัวอยางจริงมากที่สุด กลาวคือ กลุมตัวอยาง<br />

สําหรับการทดสอบนั้น ตองเปนผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง (อายุ 18 ปบริบูรณขึ้นไป) และพยายาม<br />

กระจายการทดสอบใหครอบคลุมตัวอยางที่มีภูมิหลังทางเศรษฐกิจสังคมตางๆ กัน<br />

วัตถุประสงคสําคัญของการทดสอบแบบสอบถามเชนนี้คือการทดสอบดานความเปน<br />

ปรนัย (Objective) ของแบบสอบถาม ไดแก การทดสอบความชัดเจนของขอคําถามตางๆ และความ<br />

เขาใจที่ตรงกันของผูวิจัยและผูตอบคําถามแตละขอ รวมทั้งจะเปนการเพิ่มความสมบูรณใหแกแบบ<br />

สอบถามอีกทางหนึ่ง จากขอเสนอแนะหรือการแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมในคําถามปลายเปดของ<br />

ผูตอบอันจะเปนประโยชนสําหรับการปรับปรุงแบบสอบถามที่จะใชสําหรับการเก็บขอมูลจริง<br />

ตอไป<br />

3.5.2 การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม<br />

ผูวิจัยนําแบบสอบถามจากการทดสอบเก็บขอมูลมาทดลองประมวลผล และทดสอบดวยวิธี<br />

การทางสถิติ โดยการหาคาความนาเชื่อถือ (Reliability) ของแบบวัดความรูเกี่ยวกับรัฐสภา แบบวัด<br />

ความรูเกี่ยวกับรัฐบาล และแบบวัดความพึงพอใจตอบทบาทหนาที่ของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร<br />

สมาชิกวุฒิสภา แบบวัดความพอใจตอนโยบายของรัฐบาลชุดปจจุบัน ขอคําถามของแบบวัดที่อยูใน<br />

เกณฑยอมรับไดและสามารถนําไปใชศึกษาได ควรมีคาความเชื่อมั่น (Alpha) ตั้งแต 0.70 ขึ้นไป<br />

(Fraenkel R. Jack & Wallen E. Norman, 1993: 149) ซึ่งเมื่อทดลองใชแบบวัดดังที่กลาวมา พบวา<br />

แบบวัดความรูเกี่ยวกับรัฐสภา มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.7531<br />

แบบวัดความพึงพอใจตอบทบาทหนาที่ของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร มีคาความเชื่อมั่นเทา<br />

กับ 0.8191<br />

แบบวัดความพึงพอใจตอบทบาทหนาที่ของสมาชิกวุฒิสภา มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.7655<br />

แบบวัดความรูเกี่ยวกับรัฐบาล มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.7767<br />

แบบวัดความพอใจตอนโยบายของรัฐบาลชุดปจจุบันมีความเชื่อมั่นเทากับ 0.9714<br />

ซึ่งทั้งหมดอยูในเกณฑที่สามารถนําไปใชได (รายละเอียดในภาคผนวก ค) อยางไรก็ตาม ผูวิจัยได<br />

ตัดคําถามบางขอออก โดยพิจารณาจากคาความเชื่อมั่นเมื่อตัดตัวแปรนั้นออกจากการคํานวณ<br />

(Alpha if Item Deleted) เพื่อใหคาความเชื่อมั่นของแบบวัดสูงขึ้น<br />

83


3.6 การเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนาม<br />

ขั้นตอนการเก็บขอมูลภาคสนาม โดยทําการสัมภาษณกลุมตัวอยางที่ไดทําการสุมตัวอยาง<br />

อยางเปนระบบไวแลว มีขั้นตอนดังนี้<br />

1. คัดเลือกนักวิจัยซึ่งมีความคุนเคยในเรื่องพื้นที่อยางดีเปนนักวิจัยหลักในภาคสนาม<br />

2. นักวิจัยภาคสนามดําเนินการคัดเลือกพนักงานสัมภาษณที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ทั้งใน<br />

ดานระดับการศึกษา บุคลิกภาพ ความเขาใจในสภาพแวดลอม สังคมและวัฒนธรรม และจะตองเปน<br />

ผูที่มีความซื่อสัตยและรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่ นอกจากนี้ ในบางพื้นที่พนักงานสัมภาษณจะ<br />

ตองสามารถพูดภาษาทองถิ่นเพื่อสื่อสารกับผูตอบคําถามไดดีอีกดวย<br />

3. มีการประชุมรวมกันเพื่อทําความเขาใจเกี่ยวกับระเบียบวิธีการวิจัย ตั้งแตประชากรและ<br />

การสุมตัวอยาง แบบสอบถามและการปรับปรุงแบบสอบถาม รวมทั้งการเก็บขอมูลโดยการใชวิธี<br />

สัมภาษณตามแบบสอบถาม<br />

4. จัดทําหนังสือจากสถาบันพระปกเกลาถึงผูนําชุมชนประจําพื้นที่ ขอความรวมมือในการ<br />

ลงพื้นที่สัมภาษณประชาชนเพื่อเก็บขอมูล ใหแกนักวิจัยภาคสนามเพื่อใชแนะนําตัวและประสาน<br />

งานในการลงเก็บขอมูล<br />

5. นักวิจัยภาคสนามและพนักงานสัมภาษณ ทําการเก็บขอมูลภาคสนามระหวางเดือน<br />

กรกฎาคม – สิงหาคม พ.ศ.2545 (รายละเอียดวันเวลาที่ลงเก็บขอมูลในแตละพื้นที่ในภาคผนวก ข)<br />

โดยกอนทําการเก็บขอมูลในแตละพื้นที่ นักวิจัยภาคสนามจะประสานงานกับเจาหนาที่ผูดูแลประจํา<br />

พื้นที่นั้นๆ เชน นายอําเภอ ปลัดอําเภอ ปลัดเทศบาล กํานัน ผูใหญบาน ฯลฯ เพื่อขอใหชวยอํานวย<br />

ความสะดวกในการติดตามหากลุมตัวอยางตามบัญชีรายชื่อ<br />

6. ในการสัมภาษณกลุมตัวอยาง พนักงานสัมภาษณจะแนะนําตัวและชี้แจงเกี่ยวกับวัตถุ<br />

ประสงคของการทําวิจัยใหกลุมตัวอยางทราบ เพื่อทําความเขาใจและขอความรวมมือกอนเริ่ม<br />

สัมภาษณทุกครั้ง<br />

7. นักวิจัยภาคสนามทําการตรวจสอบความครบถวนของการเก็บขอมูล และนําสงแบบ<br />

สอบถามทั้งหมดเพื่อทําการประมวลผลขอมูลตอไป<br />

ดวยวิธีการดังกลาว ทําใหผูวิจัยสามารถเก็บขอมูลภาคสนามไดแบบสอบถามจํานวน 2,000<br />

ชุดครบถวนตามกลุมเปาหมายที่ไดวางไว<br />

3.7 การวิเคราะหตัวแปร<br />

การศึกษาตัวแปรขางตนจะทําใหเขาใจถึง ระดับการมีสวนรวมของประชาชน และความพึง<br />

พอใจตอการทํางานของสถาบันทางการเมืองตางๆ ของประชาชน โดยทั้งหมดจะนําเสนอผล<br />

การวิเคราะหในรูปตาราง (Contingency Analysis) ทั้งในลักษณะที่เปนตัวแปรเดี่ยว และในลักษณะ<br />

ที่เปนความสัมพันธระหวางตัวแปร<br />

84


การศึกษาในรูปตารางตัวแปรเดี่ยวเพื่อทราบถึงขอมูลพื้นฐานซึ่งเปนลักษณะทางเศรษฐกิจ<br />

สังคมประชากรโดยทั่วไป ระดับการเปดรับสื่อของประชาชน ระดับการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

โลกทัศนและความเห็นทางการเมือง ความรูเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพ และหนาที่ของประชาชนตาม<br />

รัฐธรรมนูญ ความรูความเขาใจและความพึงพอใจตอบทบาทและอํานาจหนาที่ของรัฐสภา รัฐบาล<br />

องคกรอิสระ และสถาบันทางการเมืองที่สําคัญอื่นๆ การติดตอกับเจาหนาที่และนักการเมืองเมื่อเกิด<br />

ปญหา ความพอใจตอการทํางานของกระทรวงตางๆ ในภาพรวม และทัศนคติ ตลอดจนประสบ<br />

การณเกี่ยวกับการคอรัปชั่น<br />

การศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรลักษณะทางเศรษฐกิจสังคมประชากรกับตัวแปรอื่น<br />

เพื่อตอบสมมติฐานการวิจัยอยางนอยสามประการ กลาวคือ<br />

ประการแรก เพื่ออธิบายวาระดับการมีสวนรวมของประชาชนเปนอยางไร และมีปจจัยใด<br />

บางที่มีอิทธิพลตอระดับการมีสวนรวมของประชาชน<br />

ประการที่สอง เพื่ออธิบายวาระดับความรูความเขาใจของประชาชนที่มีตอบทบาท<br />

และอํานาจหนาที่ของสถาบันทางการเมืองเปนอยางไร ประชาชนมีความพึงพอใจในการทํางานของ<br />

องคกรตางๆ ในระดับใด และประชาชนใหความเชื่อมั่นตอสถาบันทางการเมืองตางๆ หรือไม<br />

อยางไร<br />

ประการสุดทาย เพื่อเปนการมุงติดตามผลจากการบังคับใชรัฐธรรมนูญ จากการวิเคราะห<br />

ประเด็นตางๆ ตั้งแตระดับการมีสวนรวม ความรูความเขาใจ ความพึงพอใจ และความเชื่อมั่นของ<br />

ประชาชนวา รัฐธรรมนูญปจจุบันสามารถบรรลุผลตามเจตนารมณหรือไม อยางไร<br />

85


บทที่ 4<br />

ผลการศึกษาวิจัย<br />

ในบทที่ 4 นี้จะเปนการนําเสนอการผลการศึกษาวิจัยที่ไดรับจากการสัมภาษณกลุมตัวอยาง<br />

2,000 คนทั่วประเทศ ตามวิธีการสุมตัวอยางและระเบียบวิธีวิจัยที่ไดกลาวไวแลวในบทที่ผานมา<br />

โดยแบงการนําเสนอผลการวิเคราะหโดยแบงเปน 7 หัวขอตามลําดับ ไดแก ขอมูลพื้นฐานของผูตอบ<br />

การเปดรับสื่อ โลกทัศน และความเห็นทางการเมือง ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการเมืองไทยในปจจุบัน<br />

การมีสวนรวมทางการเมือง ความเขาใจตอบทบาทการทํางานและความคิดเห็นตอรัฐบาล และความคิด<br />

เห็นตอองคกรอิสระ จากนั้น ผูวิจัยจะไดบูรณาการความสัมพันธของปจจัยตางๆ ประกอบดวยปจจัยที่มี<br />

ผลตอการมีสวนรวมทางการเมือง ปจจัยที่มีผลตอความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล และปจจัยที่มีผล<br />

ตอความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ โดยเชื่อมโยงเขากับการบรรลุผลตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ อันจะ<br />

นําไปสูขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสงเสริมการมีสวนรวมทางการเมือง การรักษาเสถียรภาพของรัฐบาล<br />

และการเสริมสรางความเชื่อมั่นของประชาชนตอองคกรอิสระในบทถัดไป<br />

4.1 ขอมูลพื้นฐานของผูตอบ<br />

การที่บุคคลมีลักษณะลักษณะทางสังคมตางกันทําใหเขามีประสบการณที่แตกตางกันซึ่งนําไป<br />

สูความแตกตางกันเชิงพฤติกรรมและความคิดเห็นดวย ในบางกรณีคานิยมทางวัฒนธรรมในสังคมอาจ<br />

เปนตัวกําหนดบรรทัดฐานเฉพาะอยาง ทําใหบุคคลที่มีลักษณะทางสังคมอยางหนึ่งจะตองมีความสนใจ<br />

หรือมีพฤติกรรมอยางหนึ่งโดยเฉพาะ นอกจากนี้ ลักษณะของตัวอยางที่มีความใกลเคียงกับลักษณะ<br />

ประชากรที่แทจริงยอมหมายถึงความเปนตัวแทนที่ดีของกลุมตัวอยาง ซึ่งสงผลโดยตรงตอความนา<br />

เชื่อถือของขอมูลที่ไดรับ สําหรับตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้เปนชายรอยละ 47.7 และเปนหญิงรอยละ<br />

52.3 อัตราสวนหญิงตอชาย 100 คน เทากับ 107 ใกลเคียงกับอัตราสวนเพศของประชากรจากสํามะโน<br />

ประชากร 2543 ซึ่งสัดสวนหญิงตอชาย เทากับ 109 ตัวอยางรอยละ 48.3 อายุระหวาง 30-49 ป และตัว<br />

อยางที่เปนผูสูงอายุ (อายุ 60 ปขึ้นไป) รอยละ 19.2 ซึ่งสูงกวาสัดสวนของประชากรในป 2543 เทากับ<br />

รอยละ13.4 ดูตารางที่ 4.1<br />

ตารางที่ 4.1 รอยละของเพศและอายุ<br />

ขอมูลพื้นฐาน รอยละ (จํานวน)<br />

เพศ<br />

ชาย 47.7<br />

หญิง 52.3<br />

รวม 100.0 (2,000)<br />

86


อายุ<br />

ขอมูลพื้นฐาน รอยละ (จํานวน)<br />

ต่ํากวา 29 ป 8.1<br />

30-39 ป 23.4<br />

40-49 ป 24.9<br />

50-59 ป 19.6<br />

60 ปขึ้นไป 19.2<br />

รวม 100.0 (2,000)<br />

ตัวอยางรอยละ 86.9 สมรสแลว รอยละ 13.1 ยังไมเคยสมรส และตัวอยางเกือบทั้งหมดนับถือ<br />

ศาสนาพุทธ ดูตารางที่ 4.2<br />

ตารางที่ 4.2 รอยละของสถานภาพสมรสและศาสนา<br />

ขอมูลพื้นฐาน รอยละ (จํานวน)<br />

สถานภาพสมรส<br />

โสดไมเคยแตงงาน 13.1<br />

แตงงานแลวอยูดวยกัน 78.2<br />

อยูดวยกันโดยไมแตงงาน 0.7<br />

แตงงานแลวแยกกันอยู 1.8<br />

หยา 1.2<br />

หมาย 5.2<br />

รวม 100.0 (2000)<br />

ทานนับถือศาสนา<br />

พุทธ 95.7<br />

คริสตโรมันคาทอลิก 0.4<br />

คริสตโปแตสแตน 0.5<br />

อิสลาม 3.5<br />

รวม 100.0 (2000)<br />

87


เกี่ยวกับอาชีพของตัวอยางรอยละ 52.5 ของตัวอยางประกอบอาชีพเกษตรกรซึ่งใกลเคียงกับ<br />

ตัวเลขประชากรในป 2543 รอยละ 16.1 ประกอบอาชีพรับจางทั่วไป คนงาน มีเพียงรอยละ 3.3 ที่<br />

ประกอบอาชีพรับราชการ/รัฐวิสาหกิจ/องคกรของรัฐ ตัวอยางรอยละ 69.9 จบการศึกษาระดับประถม<br />

ตน ประถมปลายหรือเทียบเทา ซึ่งคอนขางมากกวาตัวเลขสํามะโนประชากรป 2543 ตัวอยางจบการ<br />

ศึกษาระดับปริญญาตรีหรือสูงกวารอยละ 4.1 ซึ่งใกลเคียงกับตัวเลขจากสํามะโนประชากรป 2543 ซึ่ง<br />

เทากับรอยละ 5.6 ดูตารางที่ 4.3 และตารางที่ 4.4<br />

ตารางที่ 4.3 รอยละของอาชีพ<br />

ขอมูลพื้นฐาน รอยละ (จํานวน)<br />

อาชีพ<br />

ไมระบุ 0.1<br />

เกษตรกร 52.5<br />

พนักงาน/ลูกจางบริษัทเอกชน 2.0<br />

ทํางานองคกรเอกชน (NGO) 0.1<br />

คาขายเล็กๆนอยๆ 9.3<br />

นักเรียน นิสิต นักศึกษา 1.6<br />

แมบาน ขาราชการบํานาญ 3.6<br />

รับจางทั่วไป คนงาน 16.1<br />

รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ/องคกรของรัฐ 3.3<br />

เจาของกิจการรานคา/ธุรกิจขนาดกลาง 1.9<br />

ประกอบธุรกิจขนาดใหญ 0.2<br />

ไมไดทํางาน/วางงาน 7.5<br />

รับจางเอางานมาทําที่บาน 0.5<br />

อื่นๆ 1.7<br />

รวม 100.0(2000)<br />

88


ตารางที่ 4.4 รอยละของการศึกษา<br />

ขอมูลพื้นฐาน รอยละ (จํานวน)<br />

การศึกษาสูงสุด<br />

ไมเคยเรียนหนังสือ 4.2<br />

ประถมตน(ป.1-ป.4) หรือเทียบเทา 51.7<br />

ประถมปลาย(ป.6/ป.7) หรือเทียบเทา 18.2<br />

มัธยมตน/เทียบเทา 8.9<br />

มัธยมปลาย/ปวช./เทียบเทา 9.2<br />

อนุปริญญา/ปวส./ปวท.หรือเทียบเทา 3.2<br />

ปริญญาตรี 3.8<br />

ปริญญาโท 0.3<br />

อื่นๆ 0.7<br />

รวม 100.0(2000)<br />

ตัวอยางรอยละ 47.6 พูดภาษาไทยกลางและภาษาทองถิ่นตามสัดสวนของตัวอยางที่เลือกมา<br />

ตัวอยางรอยละ 68.0 เปนผูที่อาศัยในเขตชนบทหรือองคการบริหารสวนตําบล ซึ่งเทากับสัดสวนของ<br />

ประชากรที่อาศัยตามสํามะโนประชากร 2543 ดูตารางที่ 4.5 และตารางที่ 4.6<br />

ตารางที่ 4.5 รอยละของการพูดภาษา<br />

ขอมูลพื้นฐาน รอยละ (จํานวน)<br />

ทานพูดภาษาใดเมื่ออยูบาน<br />

ภาษาไทยกลาง 47.6<br />

ภาษาไทยลานนา 11.1<br />

ภาษาไทยอีสาน 25.7<br />

ภาษาไทยใต 11.3<br />

ภาษาชาวเขา 0.6<br />

อื่นๆ 3.9<br />

รวม 100.0(2000)<br />

89


ตารางที่ 4.6 รอยละของเขตบาน<br />

ขอมูลพื้นฐาน รอยละ (จํานวน)<br />

บานของทานอยูในเขต<br />

เทศบาลนคร 0.6<br />

เทศบาลเมือง 1.2<br />

เทศบาลตําบล 23.8<br />

องคการบริหารสวนตําบล 68.0<br />

กรุงเทพมหานคร/พัทยา 6.6<br />

รวม 100.0(2000)<br />

จากลักษณะของตัวอยาง 2,000 ตัวอยางนี้ ซึ่งเลือกมาเปนตัวแทนของประชากรกวา 40 ลาน<br />

คนทั้งประเทศ พอจะประเมินเบื้องตนไดใกลเคียงมากกับลักษณะของประชากร โดยเฉพาะในเรื่องอัตรา<br />

สวนเพศ ศาสนา อาชีพ เขตที่อยูอาศัย ที่ใกลเคียงพอสมควรไดแกเรื่องอายุ การศึกษา เพราะฉะนั้นจึงทํา<br />

ใหมั่นใจวาลักษณะของตัวอยางที่จะนําเสนอตอไปจะเปนลักษณะของประชากรหรือเปนตัวแทนของ<br />

ประชากรได<br />

4.2 การเปดรับสื่อ<br />

ในรอบทศวรรษที่ผานมา เทคโนโลยีการสื่อสารไดเจริญรุดหนาไปอยางมาก ทําใหผูคน<br />

สามารถรับขอมูลขาวสารไดรวดเร็ว และมีชองทางเพิ่มมากขึ้น เมื่อถามถึงการติดตามขาวสารการเมือง<br />

จากสื่อตางๆ เปนประจําหรือไม ก็ปรากฏเปนที่ชัดเจนวา โทรทัศนเปนสื่อเปนสื่อที่สําคัญที่สุด นั่นคือ<br />

รอยละ 76.0 ตอบวาติดตามจากโทรทัศนทุกวัน รอยละ 76.0 ดูตารางที่ 4.7<br />

ตารางที่ 4.7 รอยละของการติดตามขาวสารการเมืองจากสื่อ N = 2,000<br />

สื่อ ทุกวัน<br />

สัปดาหละ<br />

2-3 วัน<br />

สัปดาห<br />

ละครั้ง<br />

แทบจะไมได<br />

ติดตามเลย<br />

• หนังสือพิมพ 12.8 13.1 11.8 62.3 100.0<br />

• วิทยุ 9.4 8.1 8.7 73.8 100.0<br />

• โทรทัศน 76.0 14.9 3.1 6.0 100.0<br />

รวม<br />

90


ในทํานองเดียวกันโทรทัศนก็เปนแหลงขาวสารการเมืองที่สําคัญที่สุดแทบจะเปนแหลงเดียว<br />

เทานั้น คือรอยละ 93.6 ดูตารางที่ 4.8<br />

ตารางที่ 4.8 รอยละของแหลงการติดตามขาวสารการเมือง N = 2,000<br />

ทานติดตามขาวสารการเมืองจากแหลงใดมากที่สุด รอยละ<br />

• หนังสือพิมพ 1.5<br />

• วิทยุ 1.9<br />

• โทรทัศน 93.6<br />

• พูดคุยกับคนอื่น 1.8<br />

• หอกระจายขาว 0.8<br />

• อื่นๆ 0.5<br />

รวม 100.0<br />

โทรทัศนยังเปนสื่อที่สําคัญที่ตัวอยางไดรับขาวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้งและผูสมัครรับเลือก<br />

ตั้ง รองลงมาไดแก ปายประชาสัมพันธ ผูนําทองถิ่น การหาเสียง การแนะนําตัวและหัวคะแนนก็เปน<br />

แหลงที่มีบทบาทอยูบาง คือมีผูตอบรอยละ 18.7 ดูตารางที่ 4.9<br />

ตารางที่ 4.9 รอยละของการไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้งและผูสมัครรับเลือกตั้งจากสื่อ<br />

ทานไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้งและผู<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

สมัครรับเลือกตั้งจากสื่อใดมากที่สุด<br />

หนังสือพิมพหรือนิตยสาร 1.5<br />

โทรทัศน 32.4<br />

กิจกรรมการหาเสียง/แนะนําตัว 12.3<br />

วิทยุ 1.6<br />

ปายประชาสัมพันธของรัฐ 22.4<br />

เจาหนาที่ชวยหาเสียง (หัวคะแนน) 6.2<br />

ผูนําทองถิ่น 22.6<br />

อื่นๆ 1.3<br />

รวม 100.0(2000)<br />

91


4.3 โลกทัศน และความเห็นทางการเมือง<br />

การศึกษาเกี่ยวกับโลกทัศนและความเห็นพื้นฐานเกี่ยวกับการเมืองเปนหัวขอที่สําคัญมากตอ<br />

การทําความเขาใจเกี่ยวกับพฤติกรรม และการแสดงทัศนะของบุคคลในประเด็นตางๆ เนื่องจากโลก<br />

ทัศนของแตละบุคคลไมเพียงมีอิทธิพลตอคานิยมของบุคคลนั้นๆ แตยังเปนสิ่งสะทอนลักษณะเฉพาะ<br />

ของบุคคลซึ่งเปนผลจากกระบวนการเรียนรูในอดีตและปจจุบันของบุคคลนั้น อันจะทําใหผูศึกษา<br />

สามารถตั้งเปนสมมติฐานเกี่ยวกับความคาดหวังตออนาคตของบุคคลดังกลาว รวมถึงการใชเปนขอมูล<br />

ประกอบการวิเคราะหหาสาเหตุของการกระทําที่แสดงออกวาวางอยูบนพื้นฐานทางความคิดแบบใด<br />

(Dahl, 1971) ตารางที่ 4.10 แสดงใหเห็นวาผูตอบคําถามสวนใหญมีความคิดเห็นที่สนับสนุนตอระบบ<br />

การปกครอง กลาวคือ เกือบรอยละ 90 เห็นวาระบอบการปกครองของประเทศในปจจุบันดีอยูแลว และ<br />

ไววางใจคนใหมาเปนรัฐบาลเพื่อทําในสิ่งที่ถูกตอง<br />

ตารางที่ 4.10 รอยละของความคิดเห็นตอการสนับสนุนตอระบบการเมือง<br />

การสนับสนุนตอระบบการเมือง เห็นดวย<br />

มากที่สุด<br />

คอนขาง<br />

เห็นดวย<br />

ไมคอย<br />

เห็นดวย<br />

ไมเห็น<br />

ดวยเลย<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

ระบอบการปกครองของประเทศเราใน<br />

ปจจุบันเหมาะสมกับเรามากที่สุดแลว<br />

ถึงแมวามันจะมีความบกพรองอยูบาง<br />

ก็ตาม<br />

35.4 52.6 10.5 1.6 100.0<br />

(2000)<br />

ทานสามารถไววางใจคนมาเปนรัฐบาล<br />

เพื่อใหทําในสิ่งที่ถูกตอง<br />

34.7 49.8 13.0 2.5 100.0<br />

(2000)<br />

อยางไรก็ตาม มากกวารอยละ 80 ของผูตอบคําถามยังคงเห็นวาการเมืองและการปกครองดูซับ<br />

ซอนมากจนประชาชนไมเขาใจ และที่นาเปนหวงคือ ผูตอบคําถามสวนใหญเห็นวาประเทศปกครอง<br />

ดวยคนสวนนอย กลาวคือ รอยละ 80.4 เห็นวาประเทศถูกบริหารโดยคณะบุคคลซึ่ง ประชาชนธรรมดา<br />

ไมสามารถทําอะไรไดมาก และรอยละ 74.7 เห็นวาประเทศถูกบริหารโดยคณะบุคคลซึ่งประชาชน<br />

ธรรมดาไมสามารถทําอะไรไดมาก มีเพียงพลังของประชาชนผานกระบวนการเลือกตั้งเทานั้นที่ประชา<br />

ชนเห็นวาจะสามารถทําใหประเทศเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นได (ตารางที่ 4.11)<br />

92


ตารางที่ 4.11 รอยละของความคิดเห็นตอประสิทธิภาพทางการเมือง<br />

ประสิทธิภาพทางการเมือง เห็นดวย<br />

มากที่สุด<br />

คอนขาง<br />

เห็นดวย<br />

ไมคอย<br />

เห็นดวย<br />

ไมเห็น<br />

ดวยเลย<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

การเมืองและการปกครองดูซับซอนมาก<br />

จนประชาชนอยางทานไมเขาใจ<br />

45.8 34.5 13.4 6.3 100.0<br />

(2000)<br />

ประเทศถูกบริหารโดยคณะบุคคลซึ่ง<br />

ประชาชนธรรมดาไมสามารถทําอะไร<br />

37.6 42.8 12.9 6.7 100.0<br />

(2000)<br />

ไดมาก<br />

ประชาชนธรรมดาอยางเราไมมีอิทธิพล<br />

ใดๆตอการทํางานของรัฐบาล<br />

38.3 36.4 14.7 10.6 100.0<br />

(2000)<br />

ถาประชาชนอยางทานไปเลือกตั้งจะทํา<br />

ใหประเทศเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น<br />

61.8 30.7 5.0 2.5 100.0<br />

(2000)<br />

ยิ่งไปกวานั้น ขอมูลจากผูตอบคําถามยังสะทอนวาประชาชนมีวัฒนธรรมการเมืองแบบอํานาจ<br />

นิยม กลาวคือ รอยละ 70 เห็นวาผูนํารัฐบาลเปรียบเสมือนหัวหนาครอบครัวใหญฉะนั้นเราควรทําตาม<br />

การตัดสินใจของเขา ในขณะเดียวกัน มากกวาครึ่งหนึ่งเห็นวาเราไมควรทนฟงความคิดเห็นทางการเมือง<br />

ที่แตกตางจากคนสวนใหญ และที่นาสนใจอยางยิ่งคือ มากกวารอยละ 60 เห็นดวยวาถามีการคอรัปชั่น<br />

มากในประเทศทหารควรเขามาควบคุมรัฐบาลเพื่อจัดการสิ่งที่ถูกตอง (ตารางที่ 4.12)<br />

ตารางที่ 4.12 รอยละของความคิดเห็นตอวัฒนธรรมการเมืองแบบอํานาจนิยม<br />

วัฒนธรรมการเมืองแบบอํานาจนิยม เห็นดวย<br />

มากที่สุด<br />

คอนขาง<br />

เห็นดวย<br />

ไมคอย<br />

เห็นดวย<br />

ไมเห็น<br />

ดวยเลย<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

ผูนํารัฐบาลเปรียบเสมือนหัวหนา<br />

ครอบครัวใหญฉะนั้นเราควรทําตาม<br />

การตัดสินใจของเขา<br />

29.6 40.4 22.3 7.7 100.0<br />

(2000)<br />

ถามีการคอรัปชั่นมากในประเทศ<br />

ทหารควรเขามาควบคุมรัฐบาลเพื่อ<br />

จัดการสิ่งที่ถูกตอง<br />

เราไมควรทนฟงความคิดเห็นทาง<br />

การเมืองที่แตกตางจากคนสวนใหญ<br />

31.4 30.2 15.3 23.1 100.0<br />

(2000)<br />

18.6 35.0 24.4 22.0 100.0<br />

(2000)<br />

93


แตก็นายินดีอยูบางวาผูตอบสวนใหญมีความคิดเห็นที่ตรงกันขามกับคานิยมดั้งเดิม กลาวคือผู<br />

ตอบมากกวารอยละ 80 ไมเห็นดวยหากคนที่มีฐานะทางสังคมดีกวาจะไดรับการดูแลจากรัฐบาลมากกวา<br />

(ตารางที่ 4.13)<br />

ตารางที่ 4.13 รอยละของความคิดเห็นตอ Tradition Value<br />

คานิยมแบบดั้งเดิม เห็นดวย<br />

มากที่สุด<br />

คอนขาง<br />

เห็นดวย<br />

ไมคอย<br />

เห็นดวย<br />

ไมเห็น<br />

ดวยเลย<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

คนที่มีฐานะทางสังคมดีกวาควรไดรับ<br />

การดูแลจากรัฐบาลมากกวา<br />

7.2 13.0 18.4 61.5 100.0<br />

(2000)<br />

ความคิดเห็นในเรื่องการแบงแยกทางความคิดนับวาสนับสนุนความคิดเห็นตอวัฒนธรรมการ<br />

เมืองแบบอํานาจนิยมของกลุมตัวอยางไดเปนอยางดี โดยจะเห็นวา ผูตอบคําถามสวนใหญหรือรอยละ<br />

86 เห็นวารัฐบาลควรมีอํานาจในการตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องตางๆของทองถิ่นมากขึ้นกวานี้ ซึ่งดูจะสวน<br />

ทางกับแนวทางการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศที่พยายามกระจายอํานาจไปสูทองถิ่น นอกจากนี้ ผู<br />

ตอบคําถามสวนใหญยังใหความสําคัญกับความเปนชาติและตองการใหรัฐเปนผูจัดสรรบริการที่จําเปน<br />

แกประชาชน กลาวคือ เกือบทั้งหมดหรือรอยละ 97.5 เห็นวาประเทศของเราควรรักษาวัฒนธรรมของ<br />

เราไวแทนที่จะรับวัฒนธรรมของประเทศอื่นมาเปนวัฒนธรรมของตน และรอยละ 83.9 เห็นวารัฐบาล<br />

ควรรักษาความเปนเจาของรัฐวิสาหกิจ (เชน การไฟฟา โทรศัพท) ไวเชนเดิม (ตารางที่ 4.14)<br />

ตารางที่ 4.14 รอยละของความคิดเห็นตอ Ideological Cleavage<br />

การแบงแยกทางความคิด เห็นดวย<br />

มากที่สุด<br />

คอนขาง<br />

เห็นดวย<br />

ไมคอย<br />

เห็นดวย<br />

ไมเห็น<br />

ดวยเลย<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

รัฐบาลควรรักษาความเปนเจาของ<br />

รัฐวิสาหกิจ (เชน การไฟฟา<br />

โทรศัพท) ไวเชนเดิม<br />

54.0 29.9 9.3 6.8 100.0<br />

(2000)<br />

รัฐบาลควรมีอํานาจในการตัดสินใจ<br />

เกี่ยวกับเรื่องตางๆ ของทองถิ่นมาก<br />

ขึ้นกวานี้<br />

ประเทศของเราควรรักษาวัฒนธรรม<br />

ของเราไวแทนที่จะรับวัฒนธรรมของ<br />

ประเทศอื่นมาเปนวัฒนธรรมของตน<br />

46.3 39.7 9.3 4.7 100.0<br />

(2000)<br />

84.0 13.5 0.9 1.6 100.0<br />

(2000)<br />

94


แมวาผูตอบคําถามจะมีความคิดเห็นที่สนับสนุนวัฒนธรรมการเมืองแบบอํานาจนิยม แตการให<br />

ความสําคัญกับความเปนชาติและอํานาจของรัฐบาล รวมทั้งความเชื่อมั่นในระบอบประชาธิปไตยระบบ<br />

รัฐสภาอาจอธิบายในเชิงบวกวา คนสวนใหญมีความคิดเห็นที่สนับสนุนระบอบประชาธิปไตยแบบตัว<br />

แทนซึ่งสอดคลองอยางยิ่งกับความคิดเห็นที่แสดงความไววางใจใหคนเขามาเปนรัฐบาลเพื่อทําในสิ่งที่<br />

ถูกตองดังที่ไดกลาวไปแลว<br />

ตารางที่ 4.15 รอยละของความคิดเห็นตอความเชื่อมั่นในระบอบประชาธิปไตย ระบบรัฐสภา<br />

ความเชื่อมั่นในระบอบประชาธิปไตย<br />

ระบบรัฐสภา<br />

เห็นดวย<br />

มากที่สุด<br />

คอนขาง<br />

เห็นดวย<br />

ไมคอย<br />

เห็นดวย<br />

ไมเห็น<br />

ดวยเลย<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

เสียงของฝายคานในสภาผูแทนราษฎรแม<br />

จะมีอํานาจนอยกวาแตจะชวยควบคุม<br />

รัฐบาลมิใหใชอํานาจไปในทางที่ผิดได<br />

37.0 43.6 10.9 8.4 100.0<br />

(2000)<br />

การชุมนุมประทวงของประชาชนเปนวิธี<br />

การที่ดีที่ประชาชนสามารถแสดงความคิด<br />

เห็นในสิ่งที่รัฐบาลทําได<br />

การบัญญัติกฎหมายของสภาผูแทนราษฎร<br />

เปนไปเพื่อประโยชนของประชาชน<br />

ประชาชนควรวิพากษวิจารณคําวินิจฉัย<br />

ของศาลได<br />

การอภิปรายกันในสภาผูแทนราษฎร แม<br />

จะทําใหออกกฎหมายลาชา แตมีความรัด<br />

กุมและเปนประโยชนกวาเพราะมีเวลาใน<br />

การพิจารณาประเด็น<br />

การอภิปรายไมไววางใจในสภาถือเปน<br />

เรื่องเสียเวลาเปลา<br />

23.2 39.0 19.4 18.4 100.0<br />

(2000)<br />

43.3 45.4 9.7 1.6 100.0<br />

(2000)<br />

42.1 41.9 8.4 7.6 100.0<br />

(2000)<br />

50.3 41.1 6.9 1.7 100.0<br />

(2000)<br />

25.2 18.9 23.4 32.5 100.0<br />

(2000)<br />

ตารางที่ 4.15 แสดงใหเห็นวาผูตอบคําถามสวนใหญมีความคิดเห็นไปในทิศทางที่เชื่อมั่นตอ<br />

การปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา กลาวคือ รอยละ 88.7 เห็นวาการบัญญัติกฎหมายของ<br />

สภาผูแทนราษฎรเปนไปเพื่อประโยชนของประชาชน และเกือบทั้งหมดหรือรอยละ 91.4 เห็นดวยกับ<br />

การอภิปรายในสภาเพื่อพิจารณากฎหมายใหรัดกุม สอดคลองกับความเห็นสวนใหญที่ไมเห็นดวนวา<br />

การอภิปรายในสภาเปนเรื่องเสียเวลาเปลา นอกจากนี้ ผูตอบคําถามสวนใหญแสดงเห็นดวยวาการแสดง<br />

95


ความคิดเห็นเปนสิ่งที่ประชาชนพึงแสดงออกได โดยรอยละ 84 เห็นวาประชาชนควรวิพากษวิจารณคํา<br />

วินิจฉัยของศาลได และรอยละ 62.2 เห็นวาการชุมนุมประทวงของประชาชนเปนวิธีการที่ดีที่ประชาชน<br />

สามารถแสดงความคิดเห็นในสิ่งที่รัฐบาลทําได ความคิดเห็นของผูตอบคําถามในเรื่องนี้ชัดเจนยิ่งขึ้น<br />

เมื่อนําไปพิจารณารวมกับความคิดเห็นเกี่ยวกับการตรวจสอบทางการเมืองและความเชื่อถือตอวิถีทาง<br />

ประชาธิปไตย<br />

ความคิดเห็นดังตารางที่ 4.16 แสดงวาผูตอบคําถามตองการระบบการเมืองที่โปรงใสและ<br />

ประชาชนสามารถมีสวนรวมทางการเมืองได กลาวคือรอยละ 96.9 เห็นวาควรมีการเปดเผยขอมูลเกี่ยว<br />

กับสมาชิกรัฐสภาใหสาธารณชนทราบเพื่อลดปญหาคอรัปชั่น ขณะเดียวกันรอยละ 94.9 เห็นดวยวาการ<br />

ทําประชาพิจารณมีความจําเปนตอกระบวนการตัดสินใจในการกําหนดนโยบายของชาติ<br />

ตารางที่ 4.16 รอยละของความคิดเห็นตอการตรวจสอบทางการเมือง<br />

การตรวจสอบทางการเมือง เห็นดวย<br />

มากที่สุด<br />

คอนขาง<br />

เห็นดวย<br />

ไมคอย<br />

เห็นดวย<br />

ไมเห็น<br />

ดวยเลย<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

ขอมูลเกี่ยวกับสมาชิกควรมีการเปดเผย<br />

ใหสาธารณชนทราบ เพราะจะชวยลด<br />

การคอรัปชั่นในรัฐบาลได<br />

65.0 31.9 1.7 1.4 100.0<br />

(2000)<br />

การทําประชาพิจารณมีความจําเปนตอ<br />

กระบวนการตัดสินใจในการกําหนด<br />

นโยบายของชาติ<br />

61.4 33.5 3.2 1.9 100.0<br />

(2000)<br />

ผูตอบคําถามรอยละ 90.5 เห็นวาผูหญิงมีความสามารถเชนเดียวกับผูชายในการเปนผูนํา<br />

ประเทศ และรอยละ 91.3 เห็นวาประชาชนที่มีการศึกษานอยหรือไมมีการศึกษาเลยก็สามารถแสดง<br />

ความคิดเห็นทางการเมืองไดดีเทากับ ผูที่มีการศึกษาสูง แสดงถึงความเชื่อมั่นตอวิถีประชาธิปไตยของ<br />

ประชาชนที่มิไดถูกจํากัดดวยเรื่องเพศหรือฐานะทางสังคม อยางไรก็ตาม รอยละ 64.6 ยังคงเห็นวาคน<br />

เราเกิดมาถาปากทองยังหิวถึงมีประชาธิปไตยก็ไมมีความหมาย ซึ่งสะทอนถึงความคาดหวังตอระบอบ<br />

ประชาธิปไตยวาจะสามารถนํามาซึ่งการมีกินมีใชของประชาชนหรือเปน “ประชาธิปไตยที่กินได” นั่น<br />

เอง (ตารางที่ 4.17)<br />

96


ตารางที่ 4.17 รอยละของความคิดเห็นตอความเชื่อถือตอวิถีทางประชาธิปไตย<br />

ความเชื่อถือตอวิถีทางประชาธิปไตย เห็นดวย<br />

มากที่สุด<br />

คอนขาง<br />

เห็นดวย<br />

ไมคอย<br />

เห็นดวย<br />

ไมเห็น<br />

ดวยเลย<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

ผูหญิงมีความสามารถเชนเดียวกับผู<br />

ชายในการเปนผูนําประเทศ<br />

68.2 22.3 7.2 2.4 100.0<br />

(2000)<br />

คนเราเกิดมาถาปากทองยังหิว ถึงมี<br />

ประชาธิปไตยก็ ไมมีความหมาย<br />

32.7 31.9 18.4 17.1 100.0<br />

(2000)<br />

ประชาชนที่มีการศึกษานอยหรือไมมี<br />

การศึกษาเลยก็สามารถแสดงความคิด<br />

เห็นทางการเมืองไดดีเทากับ ผูที่มีการ<br />

ศึกษาสูง<br />

68.4 22.9 6.3 2.5 100.0<br />

(2000)<br />

นอกจากความคิดเห็นจะเปนการสะทอนถึงโลกทัศนของผูตอบคําถามแลว การสอบถามถึง<br />

ประสบการณบางอยางก็สามารถวิเคราะหถึงพื้นฐานทางความคิดของบุคคลไดเชนเดียวกัน ตารางที่<br />

4.18 แสดงใหเห็นวาผูนําชุมชน ขาราชการและนักการเมืองทองถิ่นเปนที่พึ่งที่ประชาชนจะไปติดตอเมื่อ<br />

มีปญหา กลาวคือเมื่อสอบถามกลุมตัวอยางวาในรอบ 3 ปที่ผานมาเมื่อเกิดปญหาทานดําเนินการอยางไร<br />

รอยละ 28.8 ตอบวาเคยติดตอผูนําชุมชน คนรูจัก เพื่อใหดําเนินการตอใหมากกวา 1 ครั้งมากที่สุด รอง<br />

ลงมาตอบวาติดตอกับขาราชการในหนวยราชการที่เกี่ยวของ รอยละ 27.1 และติดตอนักการเมือง<br />

ทองถิ่น รอยละ 19.4 ตามลําดับ<br />

ตารางที่ 4.18 รอยละของการการติดตอกับเจาหนาที่ของรัฐและนักการเมือง<br />

เคยมาก<br />

กวา 1 ครั้ง<br />

เคยเพียง<br />

ครั้งเดียว<br />

ไมเคยเลย รวม<br />

(จํานวน)<br />

ติดตอกับขาราชการในหนวยราชการที่เกี่ยวของ 27.1 6.9 66.0 100.0(2000)<br />

ติดตอกับขาราชการการเมืองระดับสูง 5.3 3.7 91.1 100.0(2000)<br />

ติดตอ ส.ส. 4.1 2.9 93.0 100.0(2000)<br />

ติดตอ ส.ว. 1.7 1.6 96.8 100.0(2000)<br />

ติดตอนักการเมืองทองถิ่น 19.4 6.7 73.9 100.0(2000)<br />

ติดตอพรรคการเมือง 1.6 1.4 97.1 100.0(2000)<br />

97


ติดตอกับศาลปกครอง คณะกรรมการ<br />

สิทธิมนุษยชนแหงชาติ ผูตรวจการแผนดินของ<br />

รัฐสภา<br />

ติดตอองคกรเอกชน(NGOs)/สมาคม (องคกร<br />

ชาวนา องคกรการคา กลุมสิทธิมนุษยชน<br />

กลุมผลประโยชน ฯลฯ)<br />

ติดตอผูนําชุมชน คนรูจัก เพื่อใหดําเนินการ<br />

ตอให<br />

ติดตอรองเรียนโดยผานสื่อมวลชน เชน<br />

โทรทัศนวิทยุ หนังสือพิมพ การเดินขบวน/การ<br />

ประทวง<br />

เคยมาก เคยเพียง ไมเคยเลย รวม<br />

กวา 1 ครั้ง ครั้งเดียว<br />

(จํานวน)<br />

0.9 1.2 97.9 100.0(2000)<br />

3.6 1.9 94.6 100.0(2000)<br />

28.8 6.2 65.0 100.0(2000)<br />

1.1 1.0 97.9 100.0(2000)<br />

เมื่อสอบถามเกี่ยวกับความสัมพันธของผูตอบกับนักการเมือง ตารางที่ 4.19 แสดงใหเห็นวานัก<br />

การเมืองไทยมีปฏิสัมพันธกับกิจกรรมทางประเพณีและวัฒนธรรมของประชาชนในระดับที่นาสนใจ<br />

กลาวคือ มีผูตอบถึงรอยละ 14.8 ที่เคยเชิญนักการเมืองมารวมพิธีกรรม เชน งานศพ แตงงาน บวชนาค<br />

ทําบุญขึ้นบานใหมและนักการเมืองมารวมงานตลอด<br />

ตารางที่ 4.19 รอยละของการเชิญนักการเมืองมารวมงานศพ แตงงาน บวชนาค ทําบุญขึ้นบานใหม<br />

ทานเคยเชิญนักการเมืองมารวมงานศพ แตงงาน บวชนาค ทําบุญขึ้น<br />

บานใหมหรือไมและในกรณี ถานักการเมืองที่ทานเชิญไมมารวมงาน<br />

ทานรูสึกอยางไร<br />

รอยละ<br />

(จํานวน)<br />

ไมเคยเชิญ<br />

83.8<br />

เคยเชิญและนักการเมืองมารวมงานตลอด<br />

14.8<br />

เคยเชิญแตไมมาแลวไมโกรธ<br />

0.6<br />

เคยเชิญแตไมมาแลวโกรธ<br />

0.2<br />

อื่นๆ<br />

0.7<br />

รวม 100.0(2000)<br />

98


นอกจากนี้ ผูตอบคําถามรอยละ 6.1 ตอบวาเคยขอรับการบริจาคเงินหรือสิ่งของจากนักการเมือง<br />

และไดรับบริจาคเสมอ (ตารางที่ 4.20)<br />

ตารางที่ 4.20 รอยละของการขอรับการบริจาคเงิน/สิ่งของจากนักการเมือง<br />

ทานเคยขอรับการบริจาคเงิน/สิ่งของจากนักการเมืองหรือไมและใน<br />

กรณี ถานักการเมืองที่ทานขอรับบริจาคไปไมใหตามที่ขอทานรูสึก<br />

อยางไร<br />

รอยละ<br />

(จํานวน)<br />

ไมเคยขอรับบริจาค<br />

92.2<br />

เคยขอและไดรับบริจาคเสมอ<br />

6.1<br />

เคยขอแตไมไดรับการบริจาคแลวไมโกรธ<br />

0.8<br />

เคยขอแตไมไดรับการบริจาคแลวโกรธ<br />

0.4<br />

อื่นๆ<br />

0.6<br />

รวม 100.0(2000)<br />

สําหรับการไดรับการชวยเหลือในเรื่องสวนตัว ปรากฏวา ผูตอบรอยละ 2.3 ตอบวาเคยขอใหนัก<br />

การเมืองชวยเหลือฝากคนที่รูจักเขาโรงเรียนหรือเขาทํางาน และไดรับการชวยเหลือทุกครั้ง (ตารางที่<br />

4.21)<br />

ตารางที่ 4.21 รอยละของการขอใหนักการเมืองชวยเหลือฝากคนที่ทานรูจักเขาโรงเรียน/ทํางาน<br />

ทานเคยขอใหนักการเมืองชวยเหลือฝากคนที่ทานรูจักเขาโรงเรียน/<br />

ทํางานหรือไม และในกรณีถานักการเมืองที่ทานขอไมใหความชวย<br />

เหลือทานจะรูสึกอยางไร<br />

รอยละ<br />

(จํานวน)<br />

ไมเคยขอใหชวย<br />

97.0<br />

เคยขอ และไดรับการชวยเหลือทุกครั้ง<br />

2.3<br />

เคยขอ แตไมไดรับการชวยเหลือ แลวไมโกรธ<br />

0.4<br />

เคยขอ แตไมไดรับการชวยเหลือ แลวโกรธ<br />

0.3<br />

อื่นๆ<br />

0.1<br />

รวม 100.0(2000)<br />

จะเห็นไดวา ปฏิสัมพันธระหวางนักการเมืองกับประชาชนในสังคมไทยมีหลายรูปแบบ ทั้ง<br />

แบบที่เปนทางการ เปนงานพิธีกรรม และการชวยเหลือสวนตัวซึ่งบางครั้งมิใชวิธีการที่ถูกตองตาม<br />

99


ครรลองประชาธิปไตยนัก ผลการศึกษาตอไปนี้ จะไดขยายความลักษณะความสัมพันธดังกลาว จากการ<br />

สอบถามประสบการณเกี่ยวกับการทุจริตประพฤติมิชอบของเจาหนาที่ของรัฐที่ประชาชนเคยสัมผัสใน<br />

สังคมไทย<br />

เมื่อสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับคอรัปชั่นในเรื่องตางๆ ปรากฏวามี<br />

เพียงความคิดเห็นเกี่ยวกับการที่เจาหนาที่ของรัฐใหเพื่อนหรือญาติเขาทําสัญญาสัมปทานหรือรับเหมา<br />

กับรัฐเทานั้นที่ผูตอบสวนใหญเห็นวาเปนการคอรัปชั่น กลาวคือ มีผูตอบวาเปนการคอรัปชั่น รอยละ<br />

42.3 เห็นวาเปนการติดสินบน รอยละ 28.4 เห็นวาไมเปนการเสียหาย มีรอยละ 10.6 และอีกรอยละ 18.7<br />

ไมแสดงความคิดเห็นในเรื่องนี้ สวนการใหในลักษณะตางๆ คนสวนใหญมองวาเปน “การติดสินบน”<br />

กลาวคือ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการใหเงินหรือใหของขวัญแกชาวบานระหวางมีการเลือก<br />

ตั้ง มีผูที่เห็นวา เปนการติดสินบน รอยละ 71.9 เปนแคของขวัญ รอยละ 9.2 เปนการคอรัปชั่น รอยละ<br />

8.7 และไมมีความเห็น รอยละ 10.3<br />

สําหรับการใหเงินบริจาคแกเจาหนาที่รัฐในโอกาสขึ้นปใหม หรือกิจกรรมอื่นๆ มีผูที่เห็นวา<br />

เปนการติดสินบน รอยละ 49.8 เปนแคของขวัญ รอยละ 33.0 เปนการคอรัปชั่น รอยละ 5.5 และไมมี<br />

ความเห็น รอยละ 11.7 สวนการใหของขวัญหรือทําสิ่งอื่นเพื่อใหเจาหนาที่ ซึ่งมีอํานาจใหเขาทําสัญญา<br />

กับรัฐพอใจ มีผูเห็นวา เปนการติดสินบน รอยละ 60.7 เปนการคอรัปชั่น รอยละ 14.7 เปนแคของขวัญ<br />

รอยละ 11.4 และไมมีความเห็น รอยละ 13.2 (ตารางที่ 4.22)<br />

ตารางที่ 4.22 รอยละของความคิดเห็นตอพฤติกรรมที่สอไปในทางทุจริตประพฤติมิชอบ<br />

เปนแค<br />

ของขวัญ<br />

เปนการติด<br />

สินบน<br />

เปนการ<br />

คอรัปชั่น<br />

ไมมีความ<br />

เห็น<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

การใหเงินหรือใหของขวัญแกชาว<br />

บานระหวางมีการเลือกตั้ง<br />

9.2 71.9 8.7 10.3 100.0<br />

(2000)<br />

การใหเงินบริจาคแกเจาหนาที่รัฐใน<br />

โอกาสขึ้นปใหมหรือกิจกรรมอื่นๆ<br />

การใหของขวัญหรือทําสิ่งอื่นเพื่อให<br />

เจาหนาที่ซึ่งมีอํานาจใหเขาทําสัญญา<br />

กับรัฐพอใจ<br />

การที่เจาหนาที่ระดับใดก็ตามให<br />

เพื่อนหรือญาติเขาทําสัมปทานหรือ<br />

รับเหมากับรัฐ<br />

33.0 49.8 5.5 11.7 100.0<br />

(2000)<br />

11.4 60.7 14.7 13.2 100.0<br />

(2000)<br />

10.6 28.4 42.3 18.7 100.0<br />

(2000)<br />

100


นอกจากนี้ จากผลการศึกษาขางตนยังสะทอนใหเห็นวามีคนจํานวนไมนอยที่มองพฤติกรรม<br />

หลายๆ อยางวาเปนเรื่องปกติ ซึ่งมีความสอดคลองกับเมื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนวา “บาง<br />

ครั้งการคอรัปชั่นในรัฐบาลมีความจําเปนเพื่อใหงานสําเร็จลุลวงไปได” ที่พบวามีผูตอบถึงหนึ่งในหาที่<br />

เห็นดวยซึ่งนับวานาเปนหวงและถือเปนอุปสรรคตอการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองที่ดีใหเกิด<br />

ขึ้น แมวาสวนใหญหรือผูที่ไมเห็นดวยเลย มีรอยละ 45.8 และผูที่ไมคอยเห็นดวย มีรอยละ 25.5 รวมกัน<br />

กวารอยละ 70 ก็ตาม (ตารางที่ 4.23)<br />

ตารางที่ 4.23 รอยละของความคิดเห็นตอพฤติกรรมการคอรัปชั่นในรัฐบาลก็มีความจําเปนเพื่อใหงาน<br />

สําเร็จลุลวงไปได<br />

บางครั้งการคอรัปชั่นในรัฐบาลก็มีความจําเปนเพื่อให<br />

รอยละ<br />

งานสําเร็จลุลวงไปได<br />

เห็นดวยมากที่สุด<br />

เห็นดวย<br />

ไมเห็นดวย<br />

ไมเห็นดวยอยางมาก<br />

ไมมีความเห็น<br />

1.6<br />

20.2<br />

25.5<br />

45.8<br />

6.9<br />

รวม 100.0(2000)<br />

ผูตอบคําถามสวนใหญเห็นวาการคอรัปชั่นและการรับสินบนในประเทศไทยอยูในระดับชาติ<br />

มากกวาระดับทองถิ่น กลาวคือ มีผูตอบถึงรอยละ 40.4 เห็นวาเจาหนาที่สวนใหญในการปกครองระดับ<br />

ชาติเกี่ยวของกับการคอรัปชั่นและรับสินบน รอยละ 38.2 เห็นวามีเจาหนาที่บางคนที่เกี่ยวของ รอยละ<br />

16.0 เห็นวาเจาหนาที่เกือบทุกคนเกี่ยวของ และมีเพียงรอยละ 5.1 เทานั้นที่เห็นวาแทบจะไมมีใครเกี่ยว<br />

ของเลย ในขณะที่ความคิดเห็นตอเจาหนาที่ระดับทองถิ่นนั้น มากกวาครึ่งหรือรอยละ 51.4 เห็นวามีเจา<br />

หนาที่บางคนเทานั้นที่เกี่ยวของ อีกหนึ่งในสี่คิดวาแทบจะไมมีใครเกี่ยวของเลย และที่เห็นวาเจาหนาที่<br />

จํานวนมากเกี่ยวของมีประมาณหนึ่งในหาของผูตอบทั้งหมด (ตารางที่ 4.24)<br />

101


ตารางที่ 4.24 รอยละของความคิดเห็นตอคอรัปชั่นและการรับสินบนในการปกครองสวนทองถิ่นและ<br />

ระดับประเทศ<br />

ทานคิดวาการคอรัปชั่นและการ<br />

รับสินบนในการปกครองสวน<br />

ทองถิ่นของทานมีมากแคไหน<br />

แทบจะไมมี<br />

ใครเกี่ยวของ<br />

เจาหนาที่<br />

บางคน<br />

เจาหนาที่<br />

สวนใหญ<br />

เกือบทุก<br />

คน<br />

รวม<br />

26.9 51.4 15.4 6.4 100.0<br />

(2000)<br />

ทานคิดวาการคอรัปชั่นและการ<br />

รับสินบนในการปกครองระดับ<br />

ประเทศในปจจุบันมีมากแคไหน<br />

5.1 38.2 40.4 16.0 100.0<br />

(2000)<br />

อยางไรก็ตาม ประสบการณและการรับรูเกี่ยวกับการคอรัปชั่นและการติดสินบนของประชาชน<br />

สวนใหญมาจากแหลงขอมูลระดับรอง กลาวคือ ประมาณครึ่งหนึ่งหรือรอยละ 53.1 รูจากสื่อมวลชน<br />

เชน โทรทัศน หนังสือพิมพ วิทยุ รอยละ 20.9 เคยฟงจากคนอื่น ขณะที่ผูตอบที่เคยพบเห็นดวยตนเองมี<br />

รอยละ 19.7 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.25)<br />

ตารางที่ 4.25 รอยละของความคิดเห็นในปที่ผานมาตอประสบการณเกี่ยวกับการคอรัปชั่นและ<br />

การรับสินบนของเจาหนาที่รัฐ<br />

ในปที่ผานมาทานเคยมีประสบการณเกี่ยวกับการคอรัปชั่น<br />

หรือการรับสินบนของเจาหนาที่รัฐ รอยละ (จํานวน)<br />

เคยพบเห็นดวยตนเอง<br />

19.7<br />

สมาชิกในครอบครัว/เพื่อนที่เคยพบเห็นเลาใหฟง<br />

6.0<br />

เคยฟงจากคนอื่น<br />

20.9<br />

รูจากสื่อมวลชน เชน โทรทัศน หนังสือพิมพ วิทยุ<br />

53.1<br />

ไมตอบ<br />

0.3<br />

รวม 100.0(2000)<br />

102


4.4 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการเมืองไทยปจจุบัน<br />

ขอมูลของผูตอบเกี่ยวกับโลกทัศน ความคิดเห็นและประสบการณของผูตอบที่มีปฏิสัมพันธกับ<br />

บุคคลหรือองคกรตางๆ โดยเฉพาะนักการเมือง อาจทําใหเขาใจในเบื้องตนไดวา ประชาชนมีลักษณะ<br />

ทางความคิดพื้นฐานที่คอนขางสนับสนุนระบบการปกครองของประเทศที่ผานมา และในปจจุบันอยาง<br />

นาพอใจ และมีความคาดหวังที่จะเขามีสวนรวมทางการเมืองมากขึ้น โดยเฉพาะการมีสวนรวมในการ<br />

ตรวจสอบการใชอํานาจของรัฐบาล อยางไรก็ดี การที่ประเทศจะพัฒนาไปในวิถีทางประชาธิปไตยที่<br />

ยั่งยืนได ประเทศจะตองประกอบไปดวยประชาชนที่มีความรูความเขาใจในระบบการปกครองของพวก<br />

เขาเปนอยางดีในระดับหนึ่ง ในการวิจัยนี้ ผูวิจัยไดเลือกที่จะตรวจสอบระดับความรูความเขาใจในเรื่อง<br />

สําคัญๆ ของระบบการเมืองไทยในปจจุบัน ไดแก ความรูเกี่ยวกับสิทธิและหนาที่ของประชาชนตามรัฐ<br />

ธรรมนูญ และความรูเกี่ยวกับกลไกทางดานนิติบัญญัติ รวมทั้งความคิดเห็นที่มีตอการไดปฏิบัติใชและ<br />

การทํางานของกลไกดังกลาวดวย ดังนี้<br />

4.4.1 ความรูเกี่ยวกับสิทธิและหนาที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ<br />

รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันนับเปนรัฐธรรมนูญฉบับที่มีการบัญญัติคุมครองสิทธิเสรีภาพของ<br />

ประชาชนมากกวาฉบับใดๆ ที่เคยใชมา ผูวิจัยจึงไดเลือกสิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ตามรัฐธรรมนูญบาง<br />

ประการที่ประชาชนควรมีความรู เพื่อทดสอบระดับความรูพื้นฐานของประชาชนที่มีตอรัฐธรรมนูญ<br />

เชน สิทธิไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปโดยไมตองเสียคาใชจาย (มาตรา 43) สิทธิที่จะไดรับการ<br />

บริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพและทั่วถึง (มาตรา 52) สิทธิในการรวมดูแล รักษา และใชประโยชนจาก<br />

ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมในทองถิ่น (มาตรา 56) เปนตน ปรากฏวา เรื่องที่ประชาชนทราบสิทธิของตัว<br />

เองดีที่สุด คือการทราบสิทธิในการรักษาพยาบาลที่ดีและทั่วถึงนั่นคือตอบวาทราบถึงรอยละ 81.1 รอง<br />

ลงมาไดแกการทราบสิทธิในการรักษาพยาบาลของผูยากไร การที่ประชาชนมีสิทธิดูแลรักษา และสิทธิ<br />

การใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถิ่น สิทธิในการขอรับขอมูลขาวสาร<br />

จากราชการ คือรอยละ 79.3 63.0 และ 60.0 ตามลําดับ รอยละ 54.8 ทราบวาประชาชนมีสิทธิในการ<br />

ชุมนุมฯ สวนการทราบสิทธิอื่นๆ กวาครึ่งหนึ่งของผูตอบไมทราบในสิทธิของตัวเองในเรื่องการถอด<br />

ถอนนักการเมือง การถอดถอนนักการเมืองทองถิ่น การมีสิทธิเรียนฟรีถึง ม.6 โดยไมเสียคาเลาเรียน<br />

เรื่องที่ประชาชนทราบสิทธิของตัวเองนอยที่สุด คือการเขาชื่อเสนอเทศบัญญัติหรือขอบัญญัติที่ใชบังคับ<br />

ในทองถิ่น คือทราบเพียงรอยละ 28.3 (ตารางที่ 4.26)<br />

ในเรื่องการเคยใชสิทธิในเรื่องที่กลาวมาแลว ปรากฏวารอยละ 82.5 ตอบวาเคยเห็นผูยากไรใช<br />

สิทธิในการรักษาพยาบาลฟรี และตัวผูตอบเองเคยใชสิทธิในการรักษาพยาบาลรอยละ 80.3 และรอยละ<br />

68.5 ตอบวาเคยใชสิทธิในการรวมดูแลรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น เปนที่<br />

นาสนใจวารอยละ 40.2 เคยใชสิทธิขอรับขอมูลขาวสารจากราชการ มีเพียงรอยละ 6.3 และ 9.5 ที่ตอบวา<br />

เคยใชสิทธิเขาชื่อถอดถอนนักการเมืองและเคยใชสิทธิเขาชื่อเสนอรางกฎหมาย ดูตารางที่ 4.27<br />

103


ตารางที่ 4.26 รอยละของการทราบและไมทราบสิทธิและหนาที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ<br />

สิทธิและหนาที่ ทราบ ไมทราบ รวม(จํานวน)<br />

ประชาชนมีสิทธิเรียนฟรีถึง ม.6 โดยไมเสียคาเลาเรียน 44.0 56.1 100.0(2000)<br />

ประชาชนมีสิทธิไดรับการรักษาพยาบาลที่ดีและทั่วถึง 81.1 18.9 100.0(2000)<br />

ผูยากไรมีสิทธิไดรับการรักษาพยาบาลฟรี 79.3 20.7 100.0(2000)<br />

ประชาชนมีสิทธิรวมดูแล รักษา และใชประโยชนจาก 63.0 37.0 100.0(2000)<br />

ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมในทองถิ่น<br />

ประชาชนมีสิทธิในการชุมนุมโดยสงบซึ่งทางราชการจะ 54.8 45.2 100.0(2000)<br />

หามไมได<br />

ประชาชนมีสิทธิเขาชื่อเสนอรางกฎหมาย 38.2 61.8 100.0(2000)<br />

ประชาชนมีสิทธิเขาชื่อถอดถอนนักการเมือง 48.6 51.4 100.0(2000)<br />

ประชาชนมีสิทธิเขาชื่อเสนอเทศบัญญัติ/ขอบัญญัติเพื่อใช 28.3 71.7 100.0(2000)<br />

ในทองถิ่น<br />

ประชาชนมีสิทธิเขาชื่อถอดถอนนักการเมืองทองถิ่น 47.4 52.6 100.0(2000)<br />

ประชาชนมีสิทธิขอรับขอมูลขาวสารจากราชการ 60.0 40.0 100.0(2000)<br />

ตารางที่ 4.27 รอยละของการเคยและไมเคยใชสิทธิและหนาที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ<br />

สิทธิและหนาที่ เคย ไมเคย รวม(จํานวน)<br />

ประชาชนมีสิทธิเรียนฟรีถึง ม.6 โดยไมเสียคาเลาเรียน 29.6 70.4 100.0(2000)<br />

ประชาชนมีสิทธิไดรับการรักษาพยาบาลที่ดีและทั่วถึง 80.3 19.7 100.0(2000)<br />

ผูยากไรมีสิทธิไดรับการรักษาพยาบาลฟรี 82.5 17.5 100.0(2000)<br />

ประชาชนมีสิทธิรวมดูแล รักษา และใชประโยชนจาก 68.5 31.5 100.0(2000)<br />

ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมในทองถิ่น<br />

ประชาชนมีสิทธิในการชุมนุมโดยสงบซึ่งทางราชการจะ 25.4 74.6 100.0(2000)<br />

หามไมได<br />

ประชาชนมีสิทธิเขาชื่อเสนอรางกฎหมาย 9.5 90.5 100.0(2000)<br />

ประชาชนมีสิทธิเขาชื่อถอดถอนนักการเมือง 6.3 93.7 100.0(2000)<br />

ประชาชนมีสิทธิขอรับขอมูลขาวสารจากราชการ 40.2 59.8 100.0(2000)<br />

104


ผูตอบเกือบทั้งหมดคือกวารอยละ 90.0 ตอบวาพอใจที่ประชาชนมีสิทธิเรียนฟรีถึง ม.6 ผูยาก<br />

ไรมี สิทธิไดรับการรักษาพยาบาลฟรี ประชาชนมีสิทธิรวมดูแลรักษาและใชประโยชนจาก<br />

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถิ่น มีสิทธิชุมนุมโดยสงบ มีสิทธิเขาชื่อเสนอรางกฎหมาย<br />

เขาชื่อถอดถอนนักการเมือง และขอรับขอมูลขาวสารจากราชการ ดูตารางที่ 4.28<br />

ตารางที่ 4.28 รอยละของความพึงพอใจของการใชสิทธิและหนาที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ<br />

ความพึงพอใจของการใชสิทธิและหนาที่ พอใจ ไมพอใจ รวม(จํานวน)<br />

ประชาชนมีสิทธิเรียนฟรีถึง ม.6 โดยไมเสียคาเลาเรียน 96.6 3.4 100.0(2000)<br />

ผูยากไรมีสิทธิไดรับการรักษาพยาบาลฟรี 91.4 8.6 100.0(2000)<br />

ประชาชนมีสิทธิรวมดูแล รักษา และใชประโยชนจาก 97.5 2.5 100.0(2000)<br />

ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมในทองถิ่น<br />

ประชาชนมีสิทธิในการชุมนุมโดยสงบซึ่งทางราชการ 97.1 2.9 100.0(2000)<br />

จะหามไมได<br />

ประชาชนมีสิทธิเขาชื่อเสนอรางกฎหมาย 97.2 2.8 100.0(2000)<br />

ประชาชนมีสิทธิเขาชื่อถอดถอนนักการเมือง 90.0 10.0 100.0(2000)<br />

ประชาชนมีสิทธิขอรับขอมูลขาวสารจากราชการ 92.0 8.0 100.0(2000)<br />

ผูตอบรอยละ 80.6 ตอบวาประชาชนสามารถใชสิทธิเขาชื่อเสนอเทศบัญญัติ/ขอบัญญัติเพือใช<br />

ในทองถิ่น และรอยละ 80.0 ตอบวาสามารถใชสิทธิเขาชื่อถอดถอนนักการเมืองทองถิ่นได ดูตารางที่<br />

4.29<br />

ตารางที่ 4.29 รอยละของการใชสิทธิในชุมชนของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ<br />

ในชุมชนของทานสามารถใชสิทธิตอไปนี้ไดหรือไม ทําได ไมมีทางทําได รวม(จํานวน)<br />

ประชาชนมีสิทธิเขาชื่อเสนอเทศบัญญัติ/ขอบัญญัติเพื่อ 80.6 19.4 100.0(2000)<br />

ใชในทองถิ่น<br />

ประชาชนมีสิทธิเขาชื่อถอดถอนนักการเมืองทองถิ่น 80.0 20.0 100.0(2000)<br />

4.4.2 ความเขาใจและความคิดเห็นตอรัฐสภา<br />

รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันไดมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะของรัฐสภา โดยยังคงรูปแบบสภาคูไว<br />

แตกําหนดใหที่มาของสมาชิกรัฐสภาตองมาจากการเลือกตั้งของประชาชนทั้งสองสภา กลาวคือ ประชา<br />

ชนมีสิทธิในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจากบัญชีรายชื่อพรรคการเมือง นอกจากนี้ นับเปน<br />

105


ครั้งแรกที่รัฐธรรมนูญบัญญัติใหประชาชนมีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาโดยตรงอีกทางหนึ่งดวย ผู<br />

ศึกษาไดตั้งคําถามเพื่อทดสอบวาประชาชนมีความรูเกี่ยวกับเรื่องเหลานี้หรือไม ประกอบดวยคําถาม<br />

ความรูเกี่ยวกับรัฐสภา 7 ขอ ปรากฏวาผูตอบสวนใหญถึงเกือบทั้งหมดไมมีความรูเกี่ยวกับรัฐสภา โดย<br />

ความรูเกี่ยวกับรัฐสภาที่มีคือ การทราบวารัฐสภาประกอบดวย 2 สภา และสภาผูแทนราษฎรมีอํานาจ<br />

ตรวจสอบการทํางานของรัฐบาล โดยการเปดอภิปรายไมไววางใจ ดูตารางที่ 4.30<br />

ตารางที่ 4.30 รอยละของความรูเกี่ยวกับรัฐสภา<br />

ความรูเกี่ยวกับรัฐสภา ตอบถูก ตอบผิด รวม<br />

(จํานวน)<br />

• รัฐสภาไทยประกอบดวย 2 สภาคือสภาผูแทนราษฎร<br />

และวุฒิสภา<br />

• ตามรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน (2540) รัฐสภาประกอบ<br />

ดวยสมาชิกทั้งสิ้น 500 คน<br />

66.8 33.2 100.0<br />

(1,996)<br />

9.3 90.7 100.0<br />

(1,997)<br />

• รางพระราชบัญญัติจะตราขึ้นเปนกฎหมายตองผานการ<br />

ใหคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา<br />

49.9 50.1 100.0<br />

(1,998)<br />

• วุฒิสภาไมมีอํานาจตรวจสอบการทํางานของรัฐบาล 30.8 69.2 100.0<br />

(1,998)<br />

• บทบาทสําคัญของวุฒิสภาคือเปนที่ปรึกษาใหสภาผูแทน<br />

ราษฎรเพราะไดรับการแตงตั้งจากผูทรงคุณวุฒิทั้งสิ้น<br />

• สภาผูแทนราษฎรมีอํานาจตรวจสอบการทํางานของรัฐ<br />

บาลโดยการเปดอภิปรายไมไววางใจ<br />

• วุฒิสภาไมมีบทบาทในการอนุมัติงบประมาณ แผนดิน<br />

ตอสภากอน<br />

8.4 91.6 100.0<br />

(1,998)<br />

59.8 40.2 100.0<br />

(1,997)<br />

30.1 69.9 100.0<br />

(1,998)<br />

เมื่อถามถึงชื่อของประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา และผูนําฝายคาน มีผูบอกชื่อผูนําฝายคาน<br />

ไดถูกตองรอยละ 80.1 บอกชื่อประธานรัฐสภาไดถูกตองรอยละ 43.1 แตมีเพียงรอยละ 26.8 เทานั้นที่<br />

ทราบชื่อประธานวุฒิสภา ดูตารางที่ 4.31<br />

106


ตารางที่ 4.31 รอยละของการทราบชื่อประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภาและผูนําฝายคาน<br />

ถูก ผิด ไมทราบ รวม<br />

(จํานวน)<br />

ทานรูหรือไมวาประธานรัฐสภาคนปจจุบัน 43.1 46.0 10.8 100.0(2000)<br />

มีชื่อวาอะไร<br />

ทานรูหรือไมวาประธานวุฒิสภาคนปจจุบัน 26.8 59.3 13.9 100.0(2000)<br />

มีชื่อวาอะไร<br />

ทานรูหรือไมวาผูนําฝายคานในสภาผูแทน<br />

ราษฎรมีชื่อวาอะไร<br />

80.1 15.8 4.1 100.0(2000)<br />

เมื่อถามถึงความพอใจในการทํางานของรัฐสภา ปรากฏวาผูตอบพอใจในการทํางานของ<br />

ประธานรัฐสภารอยละ 77.4 รองลงมาไดแกผูนําฝายคานรอยละ 75.5 และประธานวุฒิสภารอยละ 68.5<br />

ตามลําดับ ดูตารางที่ 4.32<br />

ตารางที่ 4.32 รอยละของความความพอใจตอการทํางานของรัฐสภา<br />

ความพอใจตอการทํางาน<br />

ของรัฐสภา<br />

ทานมีความพึงพอใจในบท<br />

บาทและการทําหนาที่ของ<br />

ประธานรัฐสภาเพียงใด<br />

พอใจ<br />

มาก<br />

คอนขาง<br />

พอใจ<br />

ไมคอย<br />

พอใจ<br />

ไมพอใจ<br />

เลย<br />

ไมมีความ<br />

เห็น/ไมตอบ<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

17.3 60.1 10.8 1.4 10.3 100.0<br />

(2000)<br />

ทานมีความพึงพอใจในบท<br />

บาทและการทําหนาที่ของ<br />

ประธานวุฒิสภาเพียงใด<br />

ทานมีความพึงพอใจในบท<br />

บาทและการทําหนาที่ของผู<br />

นําฝายคานในสภาผูแทน<br />

ราษฎรเพียงใด<br />

13.2 55.3 12.8 4.0 14.7 100.0<br />

(2000)<br />

27.9 47.6 14.5 4.6 5.3 100.0<br />

(2000)<br />

รอยละ 75.7 ของผูตอบตอบวาพอใจในความเปนกลางในการปฏิบัติหนาที่ของประธานสภาผู<br />

แทนราษฎร ดูตารางที่ 4.33<br />

107


ตารางที่ 4.33 รอยละของความพึงพอใจกับความเปนกลางในการปฏิบัติหนาที่ของประธานรัฐสภา<br />

ทานมีความพึงพอใจกับความเปนกลางในการปฏิบัติหนาที่<br />

ของประธานรัฐสภา<br />

รอยละ<br />

(จํานวน)<br />

พอใจมาก 18.2<br />

คอนขางพอใจ 57.5<br />

ไมคอยพอใจ 13.3<br />

ไมพอใจเลย 1.7<br />

ไมทราบ 9.3<br />

รวม 100.0(2000)<br />

ผลการสํารวจนี้แสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา ในระดับพื้นที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎร (ส.ส.) เปน<br />

ที่รูจักของประชาชนมากกวาสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) กลาวคือ ผูตอบสามารถระบุชื่อสมาชิกสภาผูแทน<br />

ราษฎรในจังหวัดของตนเองไดถูกตองรอยละ 67.6 แตสามารถระบุชื่อสมาชิกวุฒิสภาไดถูกตองเพียง<br />

รอยละ 28.3 ดูตารางที่ 4.34<br />

ตารางที่ 4.34 รอยละของการทราบชื่อ ส.ส./ส.ว. ในจังหวัด<br />

ถูก ผิด ไมทราบ รวม(จํานวน)<br />

ระบุชื่อสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในจังหวัด 67.6 10.4 22.0 100.0(2000)<br />

ของทาน จํานวน 1 คน<br />

ระบุชื่อสมาชิกวุฒิสภาในจังหวัดของทาน<br />

จํานวน 1 ทาน<br />

28.3 11.5 60.2 100.0(2000)<br />

ความคิดเห็นตอการทํางานของรัฐสภาแมวาจะมิใชประเด็นหลักในการศึกษาครั้งนี้ แตก็นับวามี<br />

ความสําคัญสําหรับการทําความเขาใจพื้นฐานทางความคิดของประชาชนวา มีทัศนคติอยางไรตอ<br />

บทบาทและหนาที่ของรัฐสภาปจจุบันในฐานะกลไกหลักของระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภาซึ่งจะ<br />

ตองมีความสัมพันธกับกลไกบริหาร ตุลาการ และรวมถึงองคกรอิสระดวยในบริบทการเมืองไทย ตาราง<br />

ที่ 4.35 แสดงวาประชาชนมีความพึงพอใจตอบทบาทหนาที่ของสภาผูแทนราษฎรที่ผานมาเพียงบาง<br />

เรื่องเทานั้น กลาวคือ การแสดงบทบาทเปนผูแทนราษฎรเพื่อสะทอนความคิดเห็นและปกปอง<br />

ผลประโยชนตางๆใหแกประชาชนในเขตพื้นที่ของตนเปนเรื่องเดียวที่ผูตอบมากกวาครึ่งหนึ่งพอใจ<br />

สวนที่พอใจมากกวารอยละ 40 ไดแก การแสดงบทบาทการเปนผูแทนราษฎรของคนทั้งประเทศ (รอย<br />

ละ 49.6) การตรวจสอบงบประมาณรายจายของรัฐบาล (รอยละ 43.2) การอภิปรายในนโยบายตางๆ<br />

108


ของรัฐบาล (รอยละ 42.1) การใหความรูความเขาใจทางการเมืองแกประชาชน (รอยละ 41.6) การริเริ่ม<br />

เสนอกฎหมาย (รอยละ 40.5) อภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรางกฎหมาย (รอยละ 40.7) และความ<br />

สม่ําเสมอในการเขาประชุมสภาฯของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (รอยละ 40.3) ตามลําดับ<br />

ตารางที่ 4.35 รอยละของความพึงพอใจกับบทบาทหนาที่ของสภาผูแทนราษฎร<br />

สภาผูแทนราษฎร พอใจ<br />

มาก<br />

คอนขาง<br />

พอใจ<br />

ไมคอย<br />

พอใจ<br />

ไมพอใจ<br />

เลย<br />

ไมมีความ<br />

เห็น<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

ความสม่ําเสมอในการเขาประชุม<br />

สภาฯของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร<br />

9.4 30.8 21.0 12.9 25.9 100.0<br />

(2000)<br />

การริเริ่มเสนอกฎหมาย 8.9 31.6 12.6 4.3 42.6 100.0<br />

(2000)<br />

อภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ<br />

รางกฎหมาย<br />

10.9 29.8 9.5 3.0 46.9 100.0<br />

(2000)<br />

การชวยกลั่นกรองกฎหมายในฐานะ<br />

กรรมาธิการ/ผูแทนเขาประชุมสภา<br />

10.5 28.8 7.7 3.6 49.5 100.0<br />

(2000)<br />

การแสดงบทบาทการเปนผูแทน<br />

ราษฎรของคนทั้งประเทศ<br />

13.3 36.3 15.7 5.2 29.5 100.0<br />

(2000)<br />

การแสดงบทบาทเปนผูแทนราษฎร<br />

เพื่อสะทอนความคิดเห็นและ ปกปอง<br />

18.1 34.1 12.8 5.6 29.4 100.0<br />

(2000)<br />

ผลประโยชนตางๆใหแกประชาชน<br />

ในเขตพื้นที่ของตน<br />

การตั้งกระทูถามเพื่อตรวจสอบการ<br />

ทํางานของฝายบริหาร<br />

12.1 27.4 9.4 2.6 48.6 100.0<br />

(2000)<br />

การอภิปรายในนโยบายตางๆของ<br />

รัฐบาล<br />

12.9 29.2 10.9 4.5 42.6 100.0<br />

(2000)<br />

การเสนอชื่อขอถอดถอนนักการเมือง<br />

และขาราชการระดับสูง<br />

10.4 22.2 8.9 8.1 50.5 100.0<br />

(2000)<br />

การตรวจสอบงบประมาณรายจาย<br />

ของรัฐบาล<br />

15.8 27.4 9.3 3.7 43.8 100.0<br />

(2000)<br />

การใหความรูความเขาใจทางการ<br />

เมืองแกประชาชน<br />

18.2 23.4 9.3 15.1 34.0 100.0<br />

(2000)<br />

109


นาสนใจวามีผูไมออกความเห็นในสัดสวนที่สูงซึ่งนาจะเปนเพราะผูตอบบางสวนไมทราบหรือ<br />

ไมไดติดตามการทําหนาที่ของสภาผูแทนราษฎรเทาที่ควร หรือบางสวนอาจเห็นวาสมาชิกสภาผูแทน<br />

ราษฎรชุดนี้เพิ่งทําหนาที่ไดไมนานอยางใดอยางหนึ่งก็ได เชนเดียวกับความพึงพอใจตอบทบาทหนาที่<br />

ของวุฒิสภา พบวา ประชาชนสวนใหญแสดงความคิดเห็นในสัดสวนที่ต่ํา แมวาเมื่อเปรียบเทียบสัดสวน<br />

ของผูที่พอใจจะสูงกวาผูที่ยังไมพอใจก็ตาม แตระดับความพึงพอใจที่มีตอบทบาทหนาที่ของวุฒิสภา<br />

ต่ํากวารอยละ 50 ทั้งสิ้น โดยความสม่ําเสมอในการเขาประชุมของสมาชิกวุฒิสภาเปนเรื่องที่ผูตอบพอใจ<br />

มากที่สุด คิดเปนรอยละ 39.0 ขณะที่การใชอํานาจในการถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนงเปนเรื่องที่<br />

ผูตอบพอใจในสัดสวนที่ต่ําที่สุด คิดเปนรอยละ 26.3 หรือมากกวา 1 ใน 4 เพียงเล็กนอย (ตารางที่ 4.36)<br />

ตารางที่ 4.36 รอยละของความพึงพอใจกับบทบาทหนาที่ของวุฒิสภา<br />

วุฒิสภา<br />

พอใจ<br />

มาก<br />

คอนขาง<br />

พอใจ<br />

ไมคอย<br />

พอใจ<br />

ไมพอใจ<br />

เลย<br />

ไมมีความ<br />

เห็น<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

ความสม่ําเสมอในการเขาประชุม<br />

ของสมาชิกวุฒิสภา<br />

10.5 28.5 12.3 4.3 44.6 100.0<br />

(2000)<br />

การพิจารณารางพระราชบัญญัติ 10.3 25.1 7.1 3.7 53.9 100.0<br />

(2000)<br />

การตั้งกระทูถามเพื่อควบคุมการ<br />

บริหารราชการแผนดินของวุฒิสภา<br />

11.7 23.1 4.9 1.4 59.0 100.0<br />

(2000)<br />

การเปดอภิปรายทั่วไป เพื่อใหคณะ<br />

รัฐมนตรีแถลงขอเท็จจริง/ชี้แจง<br />

13.8 22.9 5.7 2.0 55.7 100.0<br />

(2000)<br />

ปญหาเกี่ยวกับการบริหารราชการ<br />

แผนดิน<br />

การพิจารณาสอบสวน/ศึกษาเรื่อง<br />

ใดๆซึ่งอยูในอํานาจหนาที่ของสภา<br />

9.3 22.4 4.4 1.9 62.1 100.0<br />

(2000)<br />

การแตงตั้ง ใหคําแนะนํา/ใหความ<br />

เห็นชอบใหบุคคลดํารงตําแหนงใน<br />

องคกรตางๆตามรัฐธรรมนูญ<br />

การใชอํานาจในการถอดถอน<br />

บุคคลออกจากตําแหนง<br />

การพิจารณารายงานขององคกร<br />

ตามรัฐธรรมนูญ<br />

9.3 22.5 4.6 1.2 62.5 100.0<br />

(2000)<br />

7.9 18.4 8.0 4.9 60.9 100.0<br />

(2000)<br />

8.8 22.0 3.5 1.2 64.7 100.0<br />

(2000)<br />

110


เมื่อสอบถามความคิดเห็นถึงผลกระทบจากการทํางานของ ส.ว. /ส.ส. ที่มีตอชีวิตประจําวันของ<br />

ประชาชน พบวา ประชาชนสวนใหญตอบวามีผลกระทบบางมากที่สุด คิดเปนรอยละ 35.6 ในขณะที่มีผู<br />

ที่ตอบวา มีผลกระทบเล็กนอยรอยละ 22.9 และผูที่ตอบวามีผลกระทบมากมีรอยละ 9.1 แตนาสังเกตวา<br />

ประชาชนเกือบ 1 ใน 3 หรือรอยละ 32.4 ตอบวาไมมีผลกระทบเลย (ตารางที่ 4.37)<br />

ตารางที่ 4.37 รอยละของการทํางานของ ส.ส. / ส.ว.มีผลตอชีวิตประจําวัน<br />

ทานคิดวาการทํางานของ ส.ส. / ส.ว.มีผลตอชีวิตประจํา<br />

วันของทานมากนอยแคไหน<br />

มีผลกระทบมาก<br />

มีผลกระทบบาง<br />

มีผลกระทบเล็กนอย<br />

ไมมีผลกระทบเลย<br />

รอยละ<br />

(จํานวน)<br />

9.1<br />

35.6<br />

22.9<br />

32.4<br />

รวม 100.0(2000)<br />

เมื่อเปรียบเทียบการทํางานของ ส.ส./ส.ว. กอนและหลังการใชรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน พบวา<br />

ประชาชนประมาณครึ่งหนึ่งหรือรอยละ 49.7 เห็นวา การทํางานของ ส.ส. /ส.ว. หลังการใชรัฐธรรมนูญ<br />

ฉบับปจจุบันคอนขางดีขึ้น ที่เห็นวา เหมือนเดิม มีรอยละ 37.7 ที่เห็นวา ดีขึ้นมาก มีรอยละ 6.3 และมี<br />

เพียงรอยละ 5.4 และ รอยละ 1.0 เทานั้นที่เห็นวาคอนขางแยและแยลงมาก ตามลําดับ (ตารางที่4.37)<br />

ตารางที่ 4.38 รอยละของความคาดหวังตอการทํางานของสมาชิกรัฐสภา (ส.ส. / ส.ว.)<br />

ความคาดหวังตอการทํางานของ<br />

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรวุฒิสภา<br />

(ส.ส. / ส.ว.)<br />

เมื่อเปรียบเทียบกับการทํางานของ<br />

ส.ส./ ส.ว. ในชวงกอนประกาศใช<br />

รัฐธรรมนูญปจจุบันทานคิดวาการ<br />

ทํางานของ ส.ส./ ส.ว. ในปจจุบัน<br />

เปนอยางไร<br />

ทานคิดวาการทํางานของ ส.ส./<br />

ส.ว.ใน 5 ปขางหนาจะเปนเชนใด<br />

ดีขึ้น<br />

มาก<br />

คอน<br />

ขางดี<br />

ขึ้น<br />

เหมือน<br />

เดิม<br />

คอนขาง<br />

แยลง<br />

แยลง<br />

มาก<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

6.3 49.7 37.7 5.4 1.0 100.0(2000)<br />

14.3 50.9 30.4 3.6 0.9 100.0(2000)<br />

111


ยิ่งไปกวานั้น ประชาชนสวนใหญยังคาดหวังดวยวาอีก 5 ปขางหนาการทํางานของ ส.ส./. ส.ว.<br />

จะตองดียิ่งขึ้นกวานี้ กลาวคือ มีผูตอบวาดีขึ้นมากเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 14.3 และผูตอบวาคอนขางดีขึ้น<br />

เปนรอยละ 50.9 (ตารางที่ 4.38)<br />

4.5 การมีสวนรวมทางการเมือง<br />

ในการวัดระดับการมีสวนรวมในทางการเมือง ไดถามวา “ตั้งแตการเลือกตั้ง ส.ส./ส.ว.ที่ผาน<br />

มา ทานไดทํากิจกรรมตอไปนี้บางหรือไม และบอยแคไหน” เปนที่นาสังเกตวาในบรรดา 10 กิจกรรม<br />

กิจกรรมที่ผูตอบ ไมไดเขารวมหรือแทบจะไมไดเขารวมเลย ไดแก ติดตอกับนักการเมือง ชวยผูสมัคร<br />

บางคนหาเสียง รวมประชาสัมพันธทางการเมือง บริจาคเงินทองสิ่งของฯ กิจกรรมที่ไปรวมมากที่สุด<br />

คือการไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งทองถิ่น กิจกรรมที่ไดเขารวมบางคือประมาณรอยละ 20.0 คือชักชวน<br />

คนอื่นใหไปลงคะแนนเสียง ไปฟงการหาเสียง/แนะนําตัวของผูสมัครรับเลือกตั้ง รวมตัวกับคนอื่นเปน<br />

กลุมผลประโยชนหรือเปนสมาชิกกลุม ดูตารางที่ 4.39<br />

ตารางที่ 4.39 รอยละของระดับการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

ระดับการมีสวนรวมทางการเมือง บอย<br />

มาก<br />

คอนขาง<br />

บอย<br />

นานๆ<br />

ครั้ง<br />

ไมเคย<br />

เลย<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

ทานเคยคุยเรื่องการเมืองกับคนในครอบครัว 7.2 14.9 38.4 39.5 100.0(2000)<br />

หรือกับเพื่อน<br />

ทานมีการรวมตัวกับคนอื่นเปนกลุมผล 10.3 13.7 16.6 59.4 100.0(2000)<br />

ประโยชนหรือเปนสมาชิกกลุม (เชนกลุม<br />

อาชีพ กลุมแมบาน สหกรณ ฯลฯ)<br />

ทานไปรวมในเวทีสาธารณะหรือประชา 7.3 11.6 18.2 63.0 100.0(2000)<br />

พิจารณที่มีการจัดขึ้นในทองถิ่น<br />

ทานไปชุมนุมฟงการหาเสียง/แนะนําตัว 16.2 22.0 31.0 30.9 100.0(2000)<br />

ผูสมัครรับเลือกตั้ง<br />

ทานไดมีการติดตอกับนักการเมืองหรือผูนํา 1.2 2.0 8.7 88.2 100.0(2000)<br />

ทางการเมือง<br />

ทานไปชวยผูสมัครบางคนหาเสียง 1.2 2.0 7.3 89.6 100.0(2000)<br />

ทานใสหมวกหรือสวมเสื้อหรือสติกเกอร<br />

เพื่อรวมประชาสัมพันธทางการเมืองใน<br />

ระหวางที่มีการเลือกตั้ง<br />

1.7 2.7 9.8 85.8 100.0(2000)<br />

112


ระดับการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

ทานไปลงคะแนนในการเลือกตั้งทองถิ่น<br />

( อบจ. อบต. สจ. สท. สก. สข.)<br />

ทานพูดชักชวนผูอื่นใหไปลงคะแนนใหผู<br />

สมัครหรือใหเห็นดวยกับนโยบายของนัก<br />

การเมืองหรือพรรคที่ทานชื่นชอบ<br />

ท านเคยบริจาคเงินหรือสิ่ งของเพื่ อ<br />

สนับสนุนพรรคการเมืองหรือเพื่อชวยผู<br />

สมัครทั้งระดับทองถิ่นหรือระดับชาติใชหา<br />

เสียงหรือไม<br />

บอย คอนขาง นานๆ ไมเคย รวม<br />

มาก บอย ครั้ง เลย (จํานวน)<br />

82.6 8.3 5.2 4.0 100.0(2000)<br />

8.2 19.3 17.2 55.4 100.0(2000)<br />

0.6 1.1 2.2 96.2 100.0(2000<br />

รอยละ 81.3 ตอบวาไมเคยใหการสนับสนุนพรรคการเมืองและในทํานองเดียวกันมีเพียงรอย<br />

ละ 16.8 ที่ตอบวาเปนสมาชิกพรรคการเมือง ดูตารางที่ 4.40<br />

ตารางที่ 4.40 รอยละของการสนับสนุนพรรคการเมืองและการเปนสมาชิกพรรคการเมือง<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

ทานใหการสนับสนุนพรรคการเมืองหรือไม<br />

ไมสนับสนุน 81.3<br />

สนับสนุน 18.7<br />

รวม 100.0(2000)<br />

ทานเปนสมาชิกพรรคการเมืองหรือไม<br />

ไมเปน 83.2<br />

เปน 16.8<br />

รวม 100.0(2000)<br />

113


ตัวอยางเกือบทั้งหมดตอบวาไปใชสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ดู<br />

ตารางที่ 4.41<br />

ตารางที่ 4.41 รอยละของการไปใชสิทธิเลือกตั้ง ส.ส.และ ส.ว.<br />

การเลือกตั้ง ไมไปใชสิทธิ ไปใชสิทธิ รวม(จํานวน)<br />

การเลือกตั้งส.ว.(ครั้งแรก)<br />

เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2543<br />

4.0 96.0 100.0(2000)<br />

การเลือกตั้ง ส.ส (ครั้งแรก)<br />

มื่อวันที่ 6 มกราคม 2544<br />

2.6 97.4 100.0(2000)<br />

จากการใชรัฐธรรมนูญและกฎหมายเลือกตั้งใหมทําใหมีการเลือกตั้ง ส.ส. และ ส.ว. ใหมใน<br />

เขตเลือกตั้งถึงรอยละ 35.4 ในการเลือกตั้งครั้งใหมนี้ ตัวอยางเกือบทั้งหมดตอบวาไดไปลงคะแนน ดูตา<br />

รางที่ 4.42<br />

ตารางที่ 4.42 รอยละของการเลือกตั้ง ส.ส./ส.ว. ใหมและการไปใชสิทธิเลือกตั้งใหม<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

ในเขตเลือกตั้งของทานมีการเลือกตั้ง ส.ส. / ส.ว. ใหมหรือไม<br />

ไมมี<br />

64.6<br />

มี<br />

35.4<br />

รวม 100.0(2000)<br />

ในกรณีที่มีการเลือกตั้งใหมทานไปเลือกตั้งหรือไม<br />

ไมไปเลย<br />

0.3<br />

ไปบางครั้ง<br />

5.5<br />

เลือกตั้งใหมกี่ครั้งก็ไปทุกครั้ง<br />

94.2<br />

รวม 100.0(701)<br />

114


ตัวอยางตอบวามีเหตุผลหรือปจจัยที่สําคัญ 3 ประการ ในการไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและ<br />

พิจารณาผูสมัครนั้นคือ นโยบาย กฎหมายบังคับ และพรรคการเมืองที่สังกัด เมื่อเนนที่ผูสมัครรับเลือก<br />

ตั้ง ความซื่อสัตย การเปนคนทองถิ่น การทํางานสังคม เปนปจจัยที่สําคัญที่สุด ดูตารางที่ 4.43<br />

ตารางที่ 4.43 รอยละของปจจัยการไปลงคะแนนเลือกตั้งและปจจัยในการพิจารณาผูสมัคร<br />

ทานไปลงคะแนนเพราะปจจัยอะไรเปนหลัก<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

ชื่อเสียงสวนตัวผูสมัคร<br />

12.9<br />

นโยบายทางการเมืองของผูสมัคร<br />

28.6<br />

พรรคการเมืองที่ผูสมัครสังกัด<br />

19.6<br />

บุคลิกของผูสมัคร<br />

10.3<br />

กฎหมายบังคับ<br />

26.1<br />

อื่นๆ<br />

2.5<br />

รวม 100.0(2000)<br />

ในการเลือกตั้งแตละครั้งทานพิจารณาผูสมัครจากปจจัย<br />

อะไรมากที่สุด<br />

เปนคนทองถิ่น<br />

22.1<br />

เคยชวยเหลือทานมากอน<br />

3.7<br />

มีชื่อเสียงระดับประเทศ<br />

1.7<br />

การศึกษาสูง<br />

4.0<br />

มีชื่อเสียงดานความซื่อสัตย<br />

25.0<br />

ทํางานเพื่อสังคม<br />

18.6<br />

สามารถนําเงินมาใหทองถิ่น<br />

3.1<br />

มีวิสัยทัศนและความคิดที่กาวหนา<br />

15.6<br />

สัญญาวาจะทําบางสิ่งบางใหชุมชน<br />

3.5<br />

อื่นๆ<br />

2.9<br />

รวม 100.0(2000)<br />

เมื่อถามถึงความตั้งใจในการไปใชสิทธิเลือกตั้ง ส.ส. หรือ ส.ว.ในคราวตอไป ผูตอบเกือบทั้ง<br />

หมดตอบวาจะไปแนนอน เปนที่นายินดีวาผูตอบถึงรอยละ 83.7 ตอบวาอยากจะตรวจสอบ ติดตามการ<br />

ทํางานของ ส.ส.หรือ ส.ว. ดูตารางที่ 4.44<br />

115


ตารางที่ 4.44 รอยละของการไปใชสิทธิเลือกตั้งครั้งตอไปและความตองการตรวจสอบทางการเมือง<br />

ทานตั้งใจจะไปใชสิทธิเลือกตั้ง ส.ส. หรือ ส.ว.<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

ครั้งตอไปหรือไม<br />

ไมไปแนนอน<br />

1.1<br />

ยังไมแนใจ<br />

3.3<br />

ไปแนนอน<br />

95.6<br />

รวม 100.0(2000)<br />

หลังการเลือกตั้งทานมีความรูสึกอยากตรวจสอบ<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

ติดตามการทํางานของ ส.ว./ ส.ส หรือรัฐบาลหรือไม<br />

ไมตองการ<br />

ตองการ<br />

ไมแนใจ<br />

9.6<br />

83.7<br />

6.8<br />

รวม 100.0(2000)<br />

4.5.1 ระดับการมีสวนรวม<br />

ผูวิจัยไดทําการรวมคะแนนจากการสํารวจเรื่องการมีสวนรวมของผูตอบแบบสอบถาม ซึ่งเปน<br />

ผลจากการดําเนินกิจกรรมและความถี่กิจกรรม และนําคะแนนมาจัดกลุมของการมีสวนรวมและแบง<br />

เปน 3 กลุมคือ (1) กลุมที่สนใจและมีสวนรวมนอยหรือกลุมผูดู (Onlooker) ไดแกกลุมที่ใหความสนใจ<br />

ตอขาวสาร และการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง แสดงตนเปนผูสนใจทางการเมืองโดยพูดคุยเรื่องการ<br />

เมือง ไปลงคะแนนในการเลือกตั้งระดับทองถิ่นและระดับชาติ พยายามชักจูงใหผูอื่นเห็นดวยกับจุดยืน<br />

ทางการเมืองของตน และรวมประชาสัมพันธทางการเมือง (2) กลุมที่สนใจและมีสวนรวมปานกลาง<br />

ระดับผูมีสวนรวม (Participants) ไดแกกลุมที่มีการติดตอกับนักการเมือง เคยบริจาคเงินหรือสิ่งของเพื่อ<br />

สนับสนุนผูสมัครหรือพรรคการเมือง รวมชุมนุมฟงการหาเสียง/แนะนําตัว หรือเขารวมในเวที<br />

สาธารณะ มีการรวมตัวกับคนอื่นเปนกลุมผลประโยชนหรือเปนสมาชิกกลุม เปนสมาชิกพรรคการเมือง<br />

และการชวยรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง (3) กลุมที่สนใจและมีสวนรวมสูงหรือระดับนักกิจกรรม (Activists)<br />

ไดแก การเปนผูนํากลุมผลประโยชน การมีตําแหนงและทํางานเต็มเวลาใหแกพรรคการเมือง การไดรับ<br />

เสนอชื่อใหเขาแขงขันเพื่อชิงตําแหนงทางการเมือง และการไดรับตําแหนงทางการเมือง ผลการศึกษา<br />

พบวาประชาชนสวนใหญมีระดับการมีสวนรวมอยูในกลุมที่สนใจและมีสวนรวมนอยหรือกลุมผูดู<br />

(onlooker) มากที่สุด คิดเปนรอยละ 50.4 รองลงมาคือ กลุมที่สนใจและมีสวนรวมปานกลางหรือระดับผู<br />

มีสวนรวม (participants) คิดเปนรอยละ 47.3 และมีเพียงรอยละ 2.3 เทานั้นที่มีสวนรวมทางการเมือง<br />

ในระดับสนใจและมีสวนรวมมากหรือนักกิจกรรม (ดังตารางที่ 4.45)<br />

116


ตารางที่ 4.45 ระดับการมีสวนรวมของประชาชน N= 2,000<br />

ระดับ จํานวน รอยละ<br />

สนใจและมีสวนรวมนอย<br />

(Onlooker)<br />

1,000 50.4<br />

สนใจและมีสวนรวมปานกลาง<br />

(Participants)<br />

937 47.3<br />

สนใจและมีสวนรวมมาก<br />

(Activists)<br />

46 2.3<br />

รวม 1983 100.0<br />

4.5.2 การมีสวนรวมและสภาพเศรษฐกิจสังคม<br />

นักวิชาการที่มีชื่อเสียงจํานวนมากในตางประเทศ เชน Verba, Nie and Kim (1978) Arterton<br />

and Hahn (1975) Lipset (1997: 37-52) Diamond (1997: xiii-xliv) และ Conway (2000) และในประเทศ<br />

ไทย เชน สุจิต บุญบงการและพรศักดิ์ ผองแผว (2527) ธงชัยและเทียนชัย วงศชัยสุวรรณ (2543) และ<br />

ถวิลวดี บุรีกุล (2543) ยอมรับและยืนยันตรงกันวาสภาพเศรษฐกิจ-สังคมเปนปจจัยสําคัญที่สนับสนุน<br />

ระบอบประชาธิปไตย และมีผลตอการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน การศึกษานี้ไดนําปจจัย<br />

ทางดานเศรษฐกิจสังคมที่สําคัญหลายปจจัย ไดแก เพศ อายุ อาชีพ การศึกษา สถานภาพสมรส และเขตที่<br />

อยูอาศัย เพื่อหาความสัมพันธระหวางตัวแปรเหลานี้กับการมีสวนรวมทางการเมือง พบวา ระดับการมี<br />

สวนรวมทางการเมืองมีความแตกตางตามเพศ อายุ อาชีพ สถานภาพสมรส และเขตที่อยูอาศัยอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 4.46)<br />

ตารางที่ 4.46 รอยละของระดับการมีสวนรวมทางการเมือง จําแนกตามเพศ อายุ อาชีพ การศึกษา<br />

สถานภาพสมรสและเขตบาน<br />

ระดับการมีสวนรวมทางการเมือง นอย ปานกลาง มาก รวม<br />

เพศ<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

ชาย 45.6 52.1 2.3 100.0 (944)<br />

หญิง 54.9 42.8 2.3 100.0 (1,039)<br />

χ 2 = 17.534 df = 2 p = .000 N = 1,983<br />

117


ระดับการมีสวนรวมทางการเมือง นอย ปานกลาง มาก รวม<br />

อายุ<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

ต่ํากวา 29 63.9 35.8 0.3 100.0 (288)<br />

30 – 39 48.3 50.2 1.5 100.0 (460)<br />

40 – 49 44.9 50.2 4.9 100.0 (488)<br />

50 – 59 44.8 52.9 2.4 100.0 (382)<br />

60 ขึ้นไป 55.9 42.7 1.4 100.0 (365)<br />

χ 2 = 53.999 df = 8 p = .000 N = 1,983<br />

อาชีพ<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

เกษตรกร 40.9 56.1 3.0 100.0 (1,038)<br />

คาขายเล็กๆนอยๆ 59.8 39.7 0.5 100.0 (184)<br />

รับจางทั่วไป คนงาน 61.7 36.1 2.2 100.0 (321)<br />

รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ/องคกรของรัฐ 33.3 63.5 3.2 100.0 (63)<br />

ไมไดทํางาน / วางงาน 75.0 25.0 100.0 (148)<br />

อื่นๆ 59.0 38.9 2.2 100.0 (229)<br />

χ 2 = 112.751 df = 10 p = .000 N = 1,983<br />

การศึกษา<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

ไมเคยเรียนหนังสือ 62.2 35.7 2.0 100.0 (98)<br />

ประถมศึกษา (ป.1-ป.4)/ (ป.6 หรือ ป.7) /เทียบเทา 49.4 48.4 2.2 100.0 (1,381)<br />

มัธยมตน/มัธยมปลาย/ปวช./เทียบเทา 52.4 44.3 3.3 100.0 (361)<br />

อนุปริญญา/ปวส./ปวท./ปริญญาตรี/โท/ เอก 47.6 51.7 0.7 100.0 (143)<br />

χ 2 = 11.162 df = 6 p = .084 N = 1,983<br />

สถานภาพสมรส<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

โสดไมเคยแตงงาน 62.5 35.9 1.5 100.0 (259)<br />

แตงงานอยูดวยกัน/แยกกันอยู/อยูดวยกันโดยไม 48.1 49.3 2.6 100.0 (1,600)<br />

แตงงาน<br />

หยา/มาย 55.3 44.7 100.0 (123)<br />

χ 2 = 22.541 df = 4 p = .000 N = 1,982<br />

118


ระดับการมีสวนรวมทางการเมือง นอย ปานกลาง มาก รวม<br />

เขตบาน<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

เทศบาลนคร/เมือง 33.3 60.6 6.1 100.0 (33)<br />

เทศบาลตําบล 51.4 46.9 1.7 100.0 (473)<br />

องคการบริหารสวนตําบล 47.1 50.3 2.7 100.0 (1,345)<br />

กรุงเทพมหานคร 85.6 14.4 100.0 (132)<br />

χ 2 = 77.997 df = 6 p = .000 N = 1,983<br />

ผลการศึกษานี้มีความสอดคลองกับขอคนพบของผูเชี่ยวชาญทานอื่นๆ หลายประการ อาทิ<br />

ปจจัยเรื่องเพศซึ่งมักคาดกันวาเพศชายมีระดับการมีสวนรวมมากกวาเพศหญิง เชน Campbell et al<br />

(1960) Jenning (1983) และ Rosenstone & Hanson (1993) เปนตน จากตารางขางตน พบวา ระดับการมี<br />

สวนรวมทางการเมืองมีความแตกตางกันตามเพศ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (χ 2 = 17.534 ที่ระดับ 0.01)<br />

โดยที่เพศชายมีระดับการมีสวนรวมทางการเมืองสูงกวาเพศหญิง กลาวคือ กลุมตัวอยางเพศชายสวน<br />

ใหญมีระดับการมีสวนรวมทางการเมืองระดับปานกลางหรือผูมีสวนรวม (รอยละ 52.1) ขณะที่กลุมตัว<br />

อยางเพศหญิงมากกวาครึ่งหนึ่ง (รอยละ 54.9) มีระดับการมีสวนรวมอยูในกลุมสนใจและมีสวนรวมทาง<br />

การเมืองนอยหรือกลุมผูดู<br />

เชนเดียวกับเรื่องเพศ ระดับการมีสวนรวมทางการเมืองมีความแตกตางกันตามระดับอายุ อยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติ (χ 2 = 53.999 ที่ระดับ 0.01) โดยที่ประชาชนในชวงอายุระหวาง 30-60 ป มีระดับการ<br />

มีสวนรวมทางการเมืองสูงกวาประชาชนกลุมที่มีอายุต่ํากวาและสูงกวา สอดคลองกับผลการศึกษาของ<br />

Nie Verba and Kim (1974) ที่พบวาผูที่มีอายุนอยกวาจะมีความกระตือรือรน และสนใจทางการเมือง<br />

นอยกวาผูที่อยูในวัยกลางคน<br />

ปจจัยที่มักนํามาใชอธิบายเกี่ยวกับการมีสวนรวมทางการเมืองที่สําคัญอีกอันหนึ่งคือ อาชีพ<br />

เนื่องจากผูที่อยูในบางอาชีพอาจเขามีสวนรวมทางการเมืองเพื่อตอบสนองความสนใจทางการเมืองของ<br />

ตน หรือเพื่อปกปองผลประโยชนของกลุมของตน ผลการศึกษานี้พบวา ระดับการมีสวนรวมทางการ<br />

เมืองมีความแตกตางกันตามอาชีพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (χ 2 = 112.751 ที่ระดับ 0.01) โดยที่กลุมตัว<br />

อยางที่เปนขาราชการถึงรอยละ 63.5 มีความสนใจและสวนรวมในระดับปานกลางมากที่สุด รองลงมา<br />

เปนผูประกอบอาชีพเกษตรกร (รอยละ 56.1) ขณะที่กลุมผูตอบที่วางงาน หรือประกอบอาชีพรับจางทั่ว<br />

ไป และคาขายเล็กๆนอยๆ สวนใหญมีระดับการมีสวนรวมในลักษณะผูดูอยางไรก็ตาม ผลการศึกษาดัง<br />

กลาวดูจะสวนทางกับขอคนพบของ Campbell et al (1960) ที่วาอาชีพเกษตรกรมักมีสวนรวมทางการ<br />

เมืองต่ํากวาอาชีพอื่นๆ ซึ่ง Milbrath (1965) เห็นดวยและใหเหตุผลวาเปนเพราะลักษณะการอยูอาศัยที่<br />

คอนขางหางไกลออกไปในชนบท<br />

119


ผลการวิเคราะหในเรื่องที่อยูอาศัยดังตารางที่ 4.46 ชวยยืนยันลักษณะเฉพาะของประเทศไทย<br />

เกี่ยวกับการมีสวนรวมทางการเมืองซึ่งแตกตางจากขอคนพบของผูเชี่ยวชาญทั้งสองไดอยางชัดเจน โดย<br />

พบวา ระดับการมีสวนรวมทางการเมืองมีความแตกตางกันตามเขตที่อยูอาศัย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ<br />

(χ 2 = 77.997 ที่ระดับ 0.01) โดยที่กลุมตัวอยางที่อาศัยอยูในเขตองคการบริหารสวนตําบลซึ่งเปนเขตการ<br />

ปกครองระดับทองถิ่นที่มีลักษณะพื้นที่เปนชนบทมากกวาเขตอื่น มีระดับความสนใจและมีสวนรวม<br />

ระดับปานกลางมากเปนอันดับที่ 2 คิดเปนรอยละ 50.3 นอยกวาผูที่อาศัยอยูในเขตเทศบาลเมือง/นครเทา<br />

นั้น ในขณะที่ผูที่อาศัยอยูในกรุงเทพมหานครเปนกลุมตัวอยางที่สนใจและมีสวนรวมนอยมากที่สุดถึง<br />

รอยละ 85.6<br />

4.5.3 การศึกษาปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

นอกจากศึกษาการมีสวนรวมในกิจกรรมทางการเมืองที่มีความแตกตางกันตามสภาพเศรษฐกิจ<br />

สังคมของผูตอบแลว การศึกษานี้ยังไดวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมทางการเมืองโดยมีการ<br />

ศึกษาในเรื่องของตัวแปรตางๆ อาทิ สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม การอาศัยอยูในเขตเมืองหรือ<br />

ชนบท การเปดรับขาวสารและความสนใจทางการเมือง ความรูความเขาใจทางการเมือง การสนับสนุน<br />

ตอระบบการเมือง ประสิทธิภาพทางการเมือง วัฒนธรรมแบบอํานาจนิยม การแบงแยกทางความคิด<br />

ความเชื่อมั่นตอระบบรัฐสภา การตรวจสอบทางการเมือง ความเชื่อมั่นตอวิถีทางประชาธิปไตย คานิยม<br />

ดั้งเดิม ความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล ขาวสารและความสนใจทางการเมือง ความเชื่อมั่นตอองค<br />

กรอิสระ และระดับการมีสวนรวมทางการเมือง ผลการวิเคราะหปรากฏในตารางที่ 4.47 พบวา ปจจัย<br />

เหลานี้สามารถอธิบายความผันแปรของการมีสวนรวมทางการเมืองไดรอยละ 12.4 (R 2 = 0.124) และมี<br />

ความสัมพันธกับการมีสวนรวมทางการเมืองไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (F = 16.054 ที่ระดับ 0.01)<br />

ตารางที่ 4.47 การวิเคราะหถดถอยพหุการมีสวนรวมทางการเมือง N = 2,000<br />

ตัวแปร B Std. Error Beta t Sig.<br />

คาคงที่ (Constant) 1.037 .119 8.733 .000<br />

สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม 7.385E-02 .014 .138 5.415 .000**<br />

การอาศัยอยูในเมือง-ชนบท -.303 .046 -.161 -6.647 .000**<br />

ความรูความเขาใจทางการเมือง .166 .021 .198 7.934 .000**<br />

การสนับสนุนตอระบบการเมือง 1.115E-02 .014 .020 .781 .435<br />

ประสิทธิภาพทางการเมือง 3.967E-02 .014 .073 2.871 .004**<br />

120


ตัวแปร B Std. Error Beta t Sig.<br />

วัฒนธรรมแบบอํานาจนิยม 8.657E-03 .014 .016 .602 .547<br />

การแบงแยกทางความคิด 1.253E-02 .014 .023 .871 .384<br />

ความเชื่อมั่นตอระบบรัฐสภา 2.774E-02 .015 .050 1.793 .073<br />

การตรวจสอบทางการเมือง 9.593E-03 .016 .017 .611 .541<br />

ความเชื่อมั่นตอวิถีทางประชาธิปไตย 4.423E-03 .014 .008 .309 .757<br />

คานิยมดั้งเดิม -2.521E-04 .015 .000 -.017 .987<br />

ความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล 1.303E-02 .021 .016 .610 .542<br />

ขาวสารและความสนใจทางการเมือง .129 .027 .121 4.854 .000**<br />

ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ 7.190E-02 .025 .076 2.932 .003**<br />

* *Sig = .01 *Sig= .05<br />

R 2 = .124 SE. = .5121 F= 16.054 Sig.= .000<br />

จากตารางขางตนสามารถจัดลําดับความสําคัญของตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติจากมากไปนอย ไดแก<br />

1) ความรูความเขาใจทางการเมือง<br />

2) การอาศัยอยูในเขตเมือง-ชนบท<br />

3) สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม<br />

4) ขาวสารและความสนใจทางการเมือง<br />

5) ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ<br />

6) ประสิทธิภาพทางการเมือง<br />

โดยที่ความรูความเขาใจทางการเมือง สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม การไดรับขาวสารและ<br />

ความสนใจทางการเมือง ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระและประสิทธิภาพทางการเมือง มีความสัมพันธ<br />

เชิงบวกกับการมีสวนรวมทางการเมือง ซึ่งผลการศึกษานี้กลาวไดวา ประชาชนที่ไดรับขาวสาร สนใจ<br />

เขาใจ มีความรู มีความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ คิดวาตัวเองสามารถมีอิทธิพลทางการเมืองได จะทําใหมี<br />

สวนรวมทางการเมืองมากดวย ดังนั้น รัฐบาลและหนวยงานที่เกี่ยวของโดยเฉพาะองคกรอิสระตางๆ<br />

ควรที่จะประชาสัมพันธและกระตุนใหประชาชนมีความรูความเขาใจทางการเมือง โดยเฉพาะการ<br />

สนับสนุนใหประชาชนไดรับขอมูลขาวสารทางการเมืองที่ถูกตอง เปนกลาง พรอมไปกับการทํางานให<br />

121


เปนที่เชื่อมั่นของประชาชน สรางบรรยากาศทางการเมืองใหประชาชนรูสึกวาการเมืองเปนเรื่องที่ทุกคน<br />

เขาใจได ประชาชนทุกคนมีอิทธิพลตอการทํางานของรัฐบาล และและการเลือกตั้งตามวิถีทางของการ<br />

ปกครองระบอบประชาธิปไตยจะนําไปสูการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นไดจะชวยใหประชาชนมีสวนรวมทาง<br />

การเมืองเพิ่มขึ้น<br />

ในขณะที่ปจจัยเกี่ยวกับความแตกตางกันของที่อยูอาศัย กลาวคือ การอาศัยอยูในเขตเมืองหรือ<br />

ชนบทของประชาชน ซึ่งนาสนใจอยางยิ่งวาคนที่อาศัยอยูในชนบทจะมีสวนรวมทางการเมืองมากกวา<br />

กลุมคนในเมือง แมวาระดับความรูความเขาใจทางการเมืองของคนเมืองจะสูงกวาก็ตาม ดังนั้น ในการ<br />

สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมทางการเมืองเพิ่มมากขึ้นนั้น รัฐควรใหความสําคัญกับประชาชนที่<br />

อาศัยอยูในเขตเมือง และมีการผลักดันใหเกิดกระบวนการมีสวนรวมในทุกระดับ อยางแทจริง<br />

4.6 ความเขาใจและความคิดเห็นตอการทํางานของรัฐบาล<br />

รัฐธรรมนูญไดวางหลักการไวชัดเจนที่จะทําใหฝายบริหารแยกขาดจากฝายสภาซึ่งเปนผลดีใน<br />

การแบงแยกการทําหนาที่และทําใหการถวงดุลยอํานาจระหวางฝายนิติบัญญัติและฝายบริหารเปนไป<br />

อยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผลการวิจัยในสวนนี้ครอบคลุมผลการวัดระดับความรูความเขาใจที่มีตอบท<br />

บาทหนาที่ของรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ การวัดระดับความเชื่อมั่นและความคาดหวังของประชาชนตอ<br />

นายกรัฐมนตรี รัฐบาลเปรียบเทียบกับสถาบันอื่นๆ และการสํารวจความพึงพอใจ ที่มีตอการทํางานที่<br />

ผานมาและตอนโยบายของรัฐบาลนี้รวมกับการประเมินความพึงพอใจตอการทํางานของสวนปฏิบัติการ<br />

อันไดแกกระทรวงตางๆ รวมทั้งการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอความพึงพอใจของประชาชนประกอบกัน<br />

4.6.1 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับรัฐบาล<br />

รัฐธรรมนูญนี้ตองการใหรัฐบาลมีเสถียรภาพ และนายกรัฐมนตรีมีภาวะความเปนผูนํา เพื่อประ<br />

สิทธิภาพในการบริหาร ผูศึกษาไดตั้งคําถามขึ้น 8 ขอเพื่อวัดความรูพื้นฐานของกลุมตัวอยางเกี่ยวกับรัฐ<br />

บาล พบวา ผูตอบสวนใหญจนถึงเกือบทั้งหมดไมมีความรูเกี่ยวกับคุณสมบัติของรัฐบาล โดยความรู<br />

เกี่ยวกับรัฐบาลที่ทราบ คือรอยละ 77.2 และ 62.4 ทราบวารัฐมนตรีตองจบไมต่ํากวาปริญญาตรี และเมื่อ<br />

ยุบสภารัฐมนตรีตองออกจากตําแหนง ดูตารางที่ 4.48<br />

ตารางที่ 4.48 รอยละของขอมูลที่ทานเขาใจเกี่ยวกับรัฐบาล<br />

ความรูเกี่ยวกับรัฐบาล ตอบถูก ตอบผิด รวม<br />

บุคคลที่ไดรับการเสนอชื่อเปนนายกรัฐมนตรีตองแสดงวิสัยทัศน<br />

ตอสภากอน<br />

4.4 95.6 100.0<br />

(2,000)<br />

รัฐมนตรีตองเปน ส.ส.ในขณะเดียวกัน 23.6 76.5 100.0<br />

(2,000)<br />

122


ความรูเกี่ยวกับรัฐบาล ตอบถูก ตอบผิด รวม<br />

รัฐมนตรีตองจบการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรี 77.2 22.9 100.0<br />

(2,000)<br />

คณะรัฐมนตรีตองแถลงนโยบายและไดรับการๆไววางใจจากรัฐ<br />

สภาดวย<br />

1.9 98.1 100.0<br />

(1,999)<br />

นายกรัฐมนตรีไมตองเปนสมาชิกพรรคการเมืองก็ได 34.1 65.9 100.0<br />

(1,999)<br />

รัฐมนตรีอาจเปนหุนสวน/ผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทก็ได 33.1 66.9 100.0<br />

(1,999)<br />

รัฐมนตรีมีสิทธิลงคะแนนใหบุคคลในประเด็นที่เกี่ยวของกับ<br />

กระทรวงที่เขาดูแลอยู<br />

18.4 81.6 100.0<br />

(1,999)<br />

เมื่อมีการยุบสภารัฐมนตรีตองออกจากตําแหนง 62.4 37.6 100.0<br />

(1,999)<br />

เมื่อสอบถามถึงความสนใจติดตามเกี่ยวกับการทํางานของรัฐบาล พบวา มีผูติดตามรับชมการ<br />

อภิปรายไมไววางใจรัฐบาลทางโทรทัศนเปนครั้งคราว รอยละ 52.7 ที่ไมคอยไดติดตาม มีรอยละ 29.2<br />

และติดตามเปนประจํา มีรอยละ 18.2 (ตารางที่ 4.49)<br />

ตารางที่ 4.49 รอยละของการติดตามชมการอภิปรายไมไววางใจรัฐบาลผานทางโทรทัศน<br />

โดยทั่วไปเมื่อมีการอภิปรายไมไววางใจรัฐบาลผานทาง<br />

รอยละ<br />

โทรทัศน ทานติดตามชมเปนประจํา หรือไม<br />

(จํานวน)<br />

เปนประจํา<br />

18.2<br />

บางครั้งบางคราว<br />

52.7<br />

ไมคอยไดติดตาม<br />

29.2<br />

รวม 100.0(2000)<br />

สวนการติดตามการนําเสนอผลงานของรัฐบาลในเวลา 1 ปที่ผานมาทางโทรทัศน เมื่อเดือน<br />

มีนาคม 2545 นั้น มีผูที่ตอบวา ติดตามรับชมประมาณ รอยละ 67.3 และไมไดติดตามรับชม รอยละ 32.7<br />

(ตารางที่ 4.50)<br />

123


ตารางที่ 4.50 รอยละของการติดตามชมรัฐบาลนายกฯทักษินนําเสนอผลการปฏิบัติงานระยะ 1 ปผาน<br />

ทางโทรทัศนเมื่อเดือนมีนาคม 2545<br />

เมื่อรัฐบาลของนายกฯทักษินนําเสนอผลการปฏิบัติงานระยะ 1<br />

ป ผานทางโทรทัศนเมื่อเดือนมีนาคม 2545 ที่ผานมา ทานไดติด<br />

ตามชมหรือไม<br />

ติดตามชม<br />

ไมไดติดตามชม<br />

รอยละ<br />

(จํานวน)<br />

32.7<br />

67.3<br />

รวม 100.0(2000)<br />

4.6.2 ความคิดเห็นตอการทํางานของรัฐบาล<br />

ในสวนนี้จะไดกลาวถึงผลการศึกษาการสอบถามความคิดเห็นของประชาชนเพื่อประเมินระดับ<br />

ความพอใจของประชาชนที่มีตอรัฐบาล ผานความเห็นตอนโยบายดานตางๆ ความพอใจตอการทํางาน<br />

ของกระทรวงในฐานะกลไกทางการบริหาร ตลอดจนความเชื่อมั่นตอรัฐบาล นายกรัฐมนตรีโดยเปรียบ<br />

เทียบกับสถาบันอื่นๆ<br />

ผูวิจัยไดถามถึงความพอใจใน 19 นโยบายของรัฐบาลที่ไดแถลงตอรัฐสภาเมื่อวันที่ 26<br />

กุมภาพันธ 2544 ผลปรากฏวา นโยบายที่ไดรับความพอใจสูงสุด ใน 5 อันดับแรก คือ นโยบายกูยืมเงิน<br />

เพื่อการศึกษา นโยบายการจัดระเบียบสังคม นโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ นโยบายกองทุนหมูบาน<br />

และนโยบายสงเสริมการทองเที่ยว<br />

นโยบายสวนใหญที่ประชาชนพอใจจะเปนนโยบายที่สงผลดีตอประชาชนโดยตรง อาทิ การสง<br />

เสริมคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของประชาชน ผานนโยบายกูยืมเงินเพื่อการศึกษา การกระตุน<br />

เศรษฐกิจ ผานนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ กองทุนหมูบาน การสงเสริมการทองเที่ยว นอกจากนี้<br />

นโยบายจัดระเบียบทางสังคมก็ไดรับความพอใจอยางมาก สวนหนึ่งที่ทําใหนโยบายเหลานี้ไดรับความ<br />

พอใจสูงเกิดจากผลจากการดําเนินนโยบายมีความเปนรูปธรรมที่เห็นไดชัด ขณะที่นโยบายที่ไดรับความ<br />

พอใจรองลงมา เชน กระจายอํานาจ การปฏิรูปการศึกษา การปฏิรูปสาธารณสุข เปนนโยบายที่มีลักษณะ<br />

เปนการปรับโครงสราง จึงคอนขางเปนเรื่องที่ไกลตัวประชาชน<br />

124


ตารางที่ 4.51 รอยละของความพึงพอใจนโยบายรัฐบาลชุดปจจุบัน<br />

นโยบายรัฐบาลชุดปจจุบัน พอใจมาก คอนขาง<br />

พอใจ<br />

ไมคอย<br />

พอใจ<br />

ไมพอใจ<br />

เลย<br />

ไมมีความ<br />

เห็น<br />

พักชําระหนี้ใหเกษตรกรรายยอย 45.3 36.7 7.9 1.8 8.4 100.0<br />

จัดตั้งกองทุนหมูบาน 50.0 34.5 7.7 3.0 5.0 100.0<br />

โครงการธนาคารประชาชน 42.6 35.2 6.5 1.4 14.4 100.0<br />

การจัดการกับแรงงานตางดาว 29.8 30.6 15.5 13.5 10.7 100.0<br />

30 บาทรักษาทุกโรค 47.8 27.7 13.6 8.6 2.4 100.0<br />

ใหนักศึกษากูยืมเงินเพื่อการศึกษา 60.5 32.4 2.2 0.3 4.7 100.0<br />

การปฏิรูประบบราชการ 34.1 35.4 9.8 1.7 19.1 100.0<br />

การกระจายอํานาจใหองคกรสวน 45.5 35.5 6.9 1.2 10.9 100.0<br />

ทองถิ่น<br />

การจัดระเบียบสังคม 55.8 30.4 3.6 0.9 9.3 100.0<br />

หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ 48.3 37.0 4.3 0.4 10.1 100.0<br />

การปฏิรูปการศึกษา 44.0 36.9 6.1 0.7 12.4 100.0<br />

การสงเสริมการและพัฒนาการ 45.2 38.7 4.9 0.6 10.6 100.0<br />

ทองเที่ยว<br />

ปราบปรามยาเสพติด 50.4 27.4 10.6 8.8 2.9 100.0<br />

การปฏิรูปการเมือง 29.3 34.9 12.4 1.5 22.0 100.0<br />

การปราบปรามทุจริต คอรัปชั่นใน 38.1 31.6 15.7 6.5 8.2 100.0<br />

ระบบ ราชการ<br />

การปฏิรูประบบสาธารณสุข 38.4 41.6 10.2 2.8 7.1 100.0<br />

การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ 19.6 28.1 21.7 16.8 13.8 100.0<br />

แกปญหาความยากจน 38.0 33.3 13.7 11.0 4.0 100.0<br />

นโยบายดานสิ่งแวดลอมและ<br />

ทรัพยากรธรรมชาติ<br />

33.9 43.5 8.7 2.0 11.9 100.0<br />

รวม<br />

นโยบายที่ไดรับความพอใจในระดับรองลงมาหรือกลุมนโยบายที่มีระดับความพอใจต่ํากวารอย<br />

ละ 80 แตไมต่ํากวารอยละ 70 อันไดแก นโยบายธนาคารประชาชน การปราบปรามยาเสพติด สิ่งแวด<br />

ลอม 30 บาทรักษาทุกโรค และการแกปญหาความยากจน ในกลุมนี้จะพบวาสวนใหญเปนนโยบายใน<br />

ดานสงเสริมคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของประชาชน อาทิ นโยบายดานสิ่งแวดลอม 30 บาทรักษา<br />

125


ทุกโรค การแกปญหาความยากจน นโยบายกระตุนเศรษฐกิจ ผานธนาคารประชาชน ปจจัยที่ทําใหความ<br />

พอใจตอนโยบายเหลานี้รองลงมาอาจเปนเพราะผลจากนโยบายในกลุมนี้ตอบสนองตอประชาชนบาง<br />

กลุม เชน นโยบายดานสิ่งแวดลอมเปนการแกปญหาแกผูที่ไดรับผลกระทบดานสิ่งแวดลอม นโยบาย 30<br />

บาทรักษาทุกโรค และธนาคารประชาชน ก็เปนนโยบายที่มีผลตอคนยากจน แตไมมีผลตอคนกลุมอื่น<br />

นโยบายที่ไดรับความพอใจต่ํากวารอยละ 70 และต่ํากวาเมื่อเปรียบเทียบกับนโยบายดานอื่นๆ<br />

ไดแก นโยบายปราบปรามคอรัปชั่น ปฏิรูประบบราชการ ปฏิรูปการเมือง แรงงานตางดาว และแปรรูป<br />

รัฐวิสาหกิจ นโยบายในกลุมนี้เปนนโยบายปรับโครงสราง เชน การปฏิรูปราชการ ปฏิรูปการเมือง แปร<br />

รูปรัฐวิสาหกิจ และจัดระเบียบและปราบปราม เชน ปราบปรามคอรัปชั่นและแรงงานตางดาว สาเหตุที่<br />

นโยบายในกลุมนี้ไดรับความพอใจนอย เกิดจากมีความคิดเห็นประชาชนสวนหนึ่งที่ไมเห็นดวยกับการ<br />

ดําเนินนโยบายเหลานี้ โดยเฉพาะในประเด็นการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แรงงานตางดาว และการปฏิรูปการ<br />

เมือง ปฏิรูประบบราชการ (ตารางที่ 4.51)<br />

เปนที่คาดหวังกันวา “นโยบาย” ทั้งหลายที่คณะรัฐมนตรีประกาศตอสาธารณะ และตองแถลง<br />

และรับผิดชอบตอสภาผูแทนราษฎรนั้นจะสามารถขับเคลื่อนไปไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล<br />

ดวยกลไกตามรัฐธรรมนูญที่เอื้ออํานวย กระนั้นเมื่อสอบถามประชาชนถึงผลกระทบของนโยบายที่มีตอ<br />

ชีวิตประจําวัน พบวา ผูตอบสวนใหญเห็นวานโยบายรัฐบาลมีผลกระทบเพียงเล็กนอยมากที่สุด คิดเปน<br />

รอยละ 38.2 รองลงมาเห็นวามีผลกระทบบาง รอยละ 31.4 ตอบวามีผลกระทบอยางมากรอยละ 21.6<br />

และยังมีผูตอบวาไมมีผลกระทบเลยถึงรอยละ 8.8 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.52)<br />

ตารางที่ 4.52 รอยละของนโยบายรัฐบาลมีผลกระทบตอชีวิตประจําวัน<br />

ทานคิดวานโนบายรัฐบาลมีผลกระทบตอชีวิตประจําวัน<br />

ของทานมากนอยเพียงใด<br />

มีผลกระทบอยางมาก<br />

มีผลกระทบบาง<br />

มีผลกระทบเพียงเล็กนอย<br />

มีผลกระทบเลย<br />

รอยละ<br />

(จํานวน)<br />

21.6<br />

31.4<br />

38.2<br />

8.8<br />

รวม 100.0(2000)<br />

4.6.3 ความพอใจตอการทํางานของกระทรวงตางๆ<br />

นโยบายของรัฐบาลอาจเปนเพียงกระบวนการในการกําหนดหรือวางแนวทางไปสูเปาหมายที่<br />

กําหนดไว แตในการทําใหเกิดผลในทางปฏิบัติ “กระทรวง” ในฐานะกลไกทางการบริหารนับวามีบท<br />

บาทสําคัญตอความสําเร็จหรือลมเหลว รวมทั้งอาจหมายถึงเครื่องชี้วัดความพอใจหรือไมพอใจในผล<br />

126


การทํางานของรัฐบาลดวย ผูศึกษาไดสอบถามความพอใจของประชาชนตอการทํางานของกระทรวง<br />

ตางๆ ซึ่งเปนกระทรวงเดิมกอนมีการปฏิรูประบบราชการและมีการเพิ่มกระทรวง (กอนวันที่ 30<br />

กันยายน 2545) พบวา<br />

กระทรวงที่ประชาชนพอใจตอการทํางานมากที่สุด 5 อันดับแรก ไดแก กระทรวงมหาดไทย<br />

(รอยละ 81.3) กระทรวงศึกษาธิการ (รอยละ76.6) กระทรวงสาธารณสุข (รอยละ 75.2) กระทรวง<br />

กลาโหม (รอยละ 66.7) และกระทรวงคมนาคม (รอยละ 66.7) จะเห็นไดวากระทรวงในอันดับ 5 นี้ เปน<br />

กระทรวงที่ดูแล รับผิดชอบ ดานบําบัดทุกข บํารุงสุข การศึกษา การสาธารณสุข การขนสง การสื่อ<br />

และความมั่นคงของชาติ ปจจัยสําคัญที่นาจะทําใหประชาชนพอใจตอบทบาทหนาที่ของแตละกระทรวง<br />

ขางตน พิจารณาไดจากนโยบายที่แตละกระทรวง ดูแล รับผิดชอบ อาทิ กระทรวงมหาดไทยที่ดูแล<br />

นโยบายจัดระเบียบสังคม ซึ่งนโยบายนี้แมจะกระทบตอผลประโยชนของคนบางกลุมบางแตถือวาโดย<br />

ภาพรวมไดรับการตอบรับเปนอยางดีจากประชาชน กระทรวงศึกษาธิการดูแลนโยบายกูยืมเพื่อการ<br />

ศึกษา (หากพิจารณาตารางความพอใจตอนโยบายของรัฐบาล จะพบวานโยบายนี้ไดรับความพอใจสูง<br />

สุด) เชนเดียวกับกระทรวงสาธารณสุขที่ชูนโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรคมาตั้งแตเริ่มตั้งรัฐบาล จนเปน<br />

หนึ่งในนโยบายที่คุนหูและติดปากประชาชน และเปนที่วิพากษวิจารณอยางกวางขวาง นาสังเกตวา<br />

สัดสวนความพอใจตอการทํางานของกระทรวงนี้แทบจะไมแตกตางจากความพอใจตอนโยบายดังกลาว<br />

เลย (โปรดพิจารณาตารางที่ 4.52 และ 4.53 ประกอบกัน)<br />

เมื่อพิจารณาถึงกระทรวงที่ประชาชนไมพอใจในการทํางานมากที่สุด พบวามีถึง 3 กระทรวงที่<br />

ประชาชนเกินกวารอยละ 20 แสดงความคิดเห็นไมพอใจ ไดแก กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม<br />

(รอยละ 24.5) กระทรวงเกษตรและสหกรณ (รอยละ 22.8) และกระทรวงพาณิชย (รอยละ 22.0) นา<br />

สังเกตวาอํานาจหนาที่ของกระทรวงทั้งสามลวนมีความสําคัญตอชีวิตความเปนอยูในทางเศรษฐกิจและ<br />

สังคมของประชาชน โดยเฉพาะประชาชนสวนใหญของประเทศที่เปนเกษตรกรและผูใชแรงงาน กลาว<br />

คือ อํานาจหนาที่เกี่ยวกับการเกษตร การเศรษฐกิจการเกษตร การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การชล<br />

ประทาน การประมง การปศุสัตว การปาไม การพัฒนาที่ดิน และการสหกรณของกระทรวงเกษตรและส<br />

หกรณ หนาที่เกี่ยวกับการสงเสริมการศึกษาและการประกอบอาชีพ การสงเสริมควบคุมและคุมครอง<br />

การใชแรงงานของกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และ มีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการพาณิชย และ<br />

กิจการทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวเนื่องดวยการพาณิชย รวมตลอดทั้งการซื้อขายการแลกเปลี่ยนสินคาการควบ<br />

คุมและสงเสริมเกี่ยวกับการคาและการะประกันภัยของกระทรวงพาณิชย<br />

127


ตารางที่ 4.53 รอยละของระดับความพอใจในการทํางานโดยภาพรวมของกระทรวง<br />

กระทรวง<br />

พอใจ<br />

มาก<br />

คอนขาง<br />

พอใจ<br />

ไมคอย<br />

พอใจ<br />

ไมพอใจ<br />

เลย<br />

ไมทราบ<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

กระทรวงมหาดไทย<br />

กระทรวงกลาโหม<br />

กระทรวงยุติธรรม<br />

กระทรวงตางประเทศ<br />

กระทรวงคมนาคม<br />

กระทรวงพาณิชย<br />

กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

กระทรวงวิทยาศาสตรฯ<br />

กระทรวงศึกษาธิการ<br />

กระทรวงแรงงานฯ<br />

กระทรวงสาธารณสุข<br />

กระทรวงอุตสาหกรรม<br />

สํานักนายกรัฐมนตรี<br />

ทบวงมหาวิทยาลัย<br />

27.8<br />

17.5<br />

16.2<br />

12.5<br />

15.2<br />

11.0<br />

17.4<br />

12.3<br />

26.2<br />

16.9<br />

25.0<br />

12.2<br />

13.7<br />

16.6<br />

53.5<br />

49.2<br />

46.3<br />

43.9<br />

51.5<br />

44.1<br />

47.6<br />

38.4<br />

50.4<br />

43.1<br />

50.2<br />

43.8<br />

39.9<br />

41.7<br />

5.0<br />

11.0<br />

13.3<br />

9.9<br />

13.3<br />

17.9<br />

15.6<br />

7.6<br />

8.0<br />

16.1<br />

12.1<br />

9.0<br />

5.0<br />

4.0<br />

0.5<br />

4.8<br />

1.4<br />

1.6<br />

1.5<br />

4.1<br />

7.2<br />

3.4<br />

0.9<br />

8.4<br />

1.7<br />

2.3<br />

3.0<br />

1.3<br />

13.2<br />

17.6<br />

22.8<br />

32.2<br />

18.6<br />

23.1<br />

12.1<br />

38.2<br />

14.5<br />

15.4<br />

11.0<br />

32.8<br />

38.4<br />

36.5<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

หมายเหตุ: เปนการทําสํารวจกอน 30 กันยายน 2545 ที่มีการเพิ่มจํานวนกระทรวงมากขึ้น<br />

ในสภาวะที่คนสวนใหญตองการหลุดพนจากปญหาความตกต่ําของเศรษฐกิจแนนอนวาความ<br />

คาดหวังที่มีตอกระทรวงเหลานี้ยอมสูง และหากไมปรากฏผลงานของกระทรวงที่โดดเดนมากพอ<br />

โอกาสที่คนสวนใหญจะมีความไมพอใจยอมสูงตามไปดวย ทั้งนี้ สําหรับคณะรัฐมนตรีที่มี พ.ต.ท.<br />

ดร.ทักษิณ ชินวัตรเปนนายกรัฐมนตรีที่ผานมา ปรากฏชื่อรัฐมนตรีที่รับผิดชอบในทั้งสามกระทรวงถูก<br />

อภิปรายไมไววางใจ และหนึ่งในนั้น คือ นายประพัฒน ปญญาชาติรักษ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวง<br />

เกษตรและสหกรณถูกยื่นถอดถอนออกจากตําแหนงดวย นอกจากนี้ ในการปรับคณะรัฐมนตรีครั้งลาสุด<br />

เพื่อรองรับการปฏิรูประบบราชการ นายอดิศัย โพธารามิกเปนรัฐมนตรีคนเดียวในสามกระทรวงนี้ที่ยัง<br />

คงนั่งอยูในตําแหนงเดิม (แตก็มีการปรับเปลี่ยนในตําแหนงรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงพาณิชยดวย<br />

เชนกัน)<br />

สิ่งที่นาสนใจไมยิ่งหยอนไปกวาความพอใจหรือไมพอใจของประชาชนก็คือ เมื่อถามถึงความ<br />

ใจที่มีตอกระทรวงตางๆ พบวา กลุมตัวอยางจํานวนมากตอบวา “ไมทราบ” ซึ่งสะทอนในอีกแงมุมหนึ่ง<br />

วาการทํางานของกระทรวงตางๆ จํานวนหนึ่งไมเปนที่รูจักของประชาชน ซึ่งในที่นี้มีถึงหากระทรวง<br />

128


ดวยกันที่ประชาชนมากกวารอยละ 30 หรือประมาณ 1 ใน 3 ขึ้นไป ตอบไมทราบเกี่ยวกับกระทรวงเหลา<br />

นี้ ไดแก กระทรวงวิทยาศาสตรฯเทากับสํานักนายกรัฐมนตรี (รอยละ 38.5) ทบวงมหาวิทยาลัย (รอยละ<br />

36.6) กระทรวงอุตสาหกรรม (รอยละ 32.9) และกระทรวงการตางประเทศ (รอยละ 32.3)<br />

ในเบื้องตนอาจอธิบายไดวา กระทรวงเหลานี้สวนใหญมิไดมีบทบาทหลักในการสนองตอบ<br />

นโยบายเรงดวนของรัฐบาลมากนัก ขณะที่ภารกิจหนาที่ของกระทรวงก็มิไดเกี่ยวของสัมพันธใกลชิด<br />

โดยตรงกับประชาชน คงมีเพียงสํานักนายกรัฐมนตรีเทานั้นที่มีภารกิจหลากหลายและหลายเรื่องเปน<br />

เรื่องที่สําคัญ เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของประชาชน อีกทั้งยังตอบสนองนโยบายสําคัญๆ ของรัฐบาล<br />

เชน การปราบปรามยาเสพติด การกีฬา การทองเที่ยว เปนตน โดยที่บางนโยบายไดรับความพอใจสูง<br />

ขณะที่บางนโยบายยังไมเปนที่พอใจเทาที่ควร ดวยภารกิจที่หลากหลายนี้ เมื่อกลาวถึงสํานักนายกรัฐ<br />

มนตรีขึ้นมาคนมักจะนึกภาพไมออกวาแทที่จริงมีบทบาท อํานาจหนาที่ใดกันแน ซึ่งปญหานี้นับเปนที่<br />

ยอมรับจนกระทั่งตองมีการปฏิรูประบบราชการโดยการจัดโครงสรางกระทรวงใหมเพื่อแยกการตอบ<br />

สนองภารกิจที่หลากหลายเหลานี้ออกจากกันใหชัดเจน<br />

อาจกลาวไดวา การทํางานของรัฐบาลชุดปจจุบันที่สะทอนผานความคิดเห็นของประชาชนตอ<br />

นโยบายและการทํางานของกระทรวงตางๆ นี้ โดยภาพรวมถือวาเปนที่พอใจของประชาชน โดยเฉพาะ<br />

นโยบายเรงดวนที่มีการประชาสัมพันธอยางกวางขวางและไดดําเนินการไปบางแลว ยิ่งไปกวานั้น เมื่อ<br />

ถามวาที่ผานมาการทํางานของรัฐบาลสามารถแกไขปญหาทางเศรษฐกิจและสังคมไดในระดับใด<br />

ปรากฏวากลุมตัวอยางมากกวาครึ่งหนึ่งมีความเห็นวาสามารถแกไขปญหาได คือ รอยละ 9.0 ตอบวาแก<br />

ไขไดมาก รอยละ 56.5 ตอบวาแกไขไดบาง ขณะที่รอยละ 26.9 ตอบวาแกไขไดเพียงเล็กนอย และมีเพียง<br />

รอยละ 7.7 เทานั้นที่ตอบวาแกไขไมไดเลย (ตารางที่ 4.54)<br />

ตารางที่ 4.54 รอยละของการแกไขปญหาดานเศรษฐกิจและสังคมของประเทศของรัฐบาลปจจุบัน<br />

ทานคิดวารัฐบาลปจจุบันสามารถแกไขปญหาดานเศรษฐกิจ<br />

รอยละ<br />

และสังคมของประเทศไดในระดับใด<br />

(จํานวน)<br />

แกไขไดเปนอยางมาก<br />

9.0<br />

แกไขไดบาง<br />

56.5<br />

แกไขไดเพียงเล็กนอย<br />

26.9<br />

ไมสามรถแกไขไดเลย<br />

7.7<br />

รวม 100.0(2000)<br />

129


4.6.4 ความเชื่อมั่นตอรัฐบาลเปรียบเทียบกับสถาบันอื่นๆ<br />

นอกจากความพอใจที่มีตอผลงานที่ผานมาแลว การศึกษานี้ยังสนใจดวยวารัฐบาลรวมถึงนายก<br />

รัฐมนตรีภายใตเงื่อนไขทางการเมืองในกรอบเจตนารมณของรัฐธรรมนูญปจจุบัน และผลการทํางานที่<br />

ผานมามีผลอยางไรกับความเชื่อมั่นของประชาชนที่มีตอสถาบันทางการเมืองทั้งสอง รวมทั้งเมื่อเปรียบ<br />

เทียบกับสถาบันอื่นๆ ที่มีความสําคัญตอระบบการเมืองไทยดวย<br />

ตารางที่ 4.55 แสดงผลความเชื่อมั่นของประชาชนตอสถาบันตางๆ พบวา นายกรัฐมนตรีและรัฐ<br />

บาลไดรับความเชื่อมั่นจากประชาชนในสัดสวนที่สูง (รอยละ 88.5 และ 84.7 ตามลําดับ) คิดเปนอันดับ<br />

ที่สามและสี่เมื่อเปรียบเทียบกับสถาบันอื่นๆ โดยนอยกวาทหาร (รอยละ 94.0) และโทรทัศน (รอยละ<br />

92.3) เพียงสองสถาบันเทานั้น นอกจากนี้ นายกรัฐมนตรีและรัฐบาลซึ่งถือเปนสถาบันทางการเมืองฝาย<br />

บริหารยังไดรับความเชื่อมั่นจากประชาชนมากกวาสถาบันทางการเมืองฝายนิติบัญญัติ ไดแก รัฐสภา<br />

โดยรวม (รอยละ 81.8) สมาชิกสภาผูแทนราษฎร (รอยละ 79.7) สมาชิกวุฒิสภา (รอยละ 79.4) และฝาย<br />

คาน (รอยละ 75.4) ซึ่งไดรับความเชื่อมั่นในกลุมลําดับรองลงมา (อันดับ 6 – 8) อีกดวย<br />

ตารางที่ 4.55 รอยละของความเชื่อมั่นโดยรวมตอสถาบันตางๆ<br />

สถาบันตางๆ เชื่อมั่น<br />

มาก<br />

คอนขาง<br />

เชื่อมั่น<br />

ไมคอย<br />

เชื่อมั่น<br />

ไมเชื่อ<br />

มั่นเลย<br />

รวม<br />

(จํานวน)<br />

รัฐบาล<br />

นายกรัฐมนตรี<br />

รัฐสภา<br />

สมาชิกสภาผูแทนราษฎร<br />

สมาชิกวุฒิสภา<br />

ฝายคาน<br />

ขาราชการ<br />

ตํารวจ<br />

ทหาร<br />

พรรคการเมือง<br />

หนังสือพิมพ<br />

โทรทัศน<br />

องคกรพัฒนาเอกชน (NGOs)<br />

21.3<br />

33.9<br />

11.3<br />

10.5<br />

10.9<br />

16.8<br />

11.5<br />

11.2<br />

32.5<br />

9.1<br />

6.9<br />

27.2<br />

9.2<br />

63.4<br />

54.6<br />

70.5<br />

69.1<br />

68.5<br />

58.6<br />

63.6<br />

52.6<br />

61.5<br />

62.1<br />

52.3<br />

65.1<br />

48.2<br />

13.3<br />

9.6<br />

16.2<br />

18.9<br />

17.7<br />

22.1<br />

21.8<br />

25.2<br />

5.1<br />

26.9<br />

35.8<br />

7.3<br />

32.4<br />

2.0<br />

1.9<br />

2.0<br />

1.5<br />

2.9<br />

2.5<br />

3.1<br />

11.1<br />

0.9<br />

1.9<br />

5.0<br />

0.5<br />

10.2<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

100.0(2000)<br />

130


ผลการศึกษานี้ อาจวิเคราะหในเบื้องตนไดวาความพอใจตอการทํางานของรัฐบาลชุดปจจุบัน<br />

เปนผลจากความเชื่อมั่นในระดับสูงที่มีตอนายกรัฐมนตรีและรัฐบาล ขณะเดียวกันการทํางานของรัฐ<br />

บาลที่ผานมาก็ไดสรางความเชื่อมั่นแกประชาชนดวย นอกจากนี้ นาสังเกตวา ความเชื่อมั่นตอฝายการ<br />

เมืองที่สูงกวาฝายประจํา (ขาราชการพลเรือน) นาจะพอยืนยันเพิ่มเติมไดวาความพอใจตอการทํางาน<br />

ของกระทรวงตางๆ นั้นเปนผลจากฝายการเมืองคือตัวรัฐมนตรีผูรับผิดชอบเชื่อมโยงกับนโยบายสําคัญที่<br />

มีการประกาศออกมาและอยูในความสนใจของสาธารณชนเปนหลัก โดยความพอใจตอการทํางานของ<br />

ขาราชการในฐานะฝายปฏิบัติเปนปจจัยเสริมเทานั้น<br />

4.6.5 ความเชื่อมั่นตอรัฐบาลและสภาพเศรษฐกิจสังคม<br />

การทดสอบความสัมพันธระหวางความเชื่อมั่นตอรัฐบาลและปจจัยทางเศรษฐกิจสังคมจะทําให<br />

ทราบในเบื้องตนวาความแตกตางทางสภาพเศรษฐกิจสังคมของบุคคลมีผลตอการใหความเชื่อมั่นตอ<br />

รัฐบาลหรือไม อยางไร และอาจทําใหเขาใจดวยวาคนกลุมใดที่ใหความเชื่อมั่นตอรัฐบาล สําหรับการ<br />

ศึกษานี้ปจจัยทางดานเศรษฐกิจสังคมที่นํามาพิจารณามีหลายปจจัย ไดแก เพศ อายุ อาชีพ การศึกษา<br />

สถานภาพสมรส และเขตที่อยูอาศัย ผลการวิเคราะหพบวา ความเชื่อมั่นตอรัฐบาลมีความแตกตางตาม<br />

อาชีพ และการศึกษา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 4.56)<br />

ตารางที่ 4.56 รอยละของระดับการมีสวนรวมทางการเมือง จําแนกตามเพศ อายุ อาชีพ การศึกษา<br />

สถานภาพสมรสและเขตบาน<br />

ความเชื่อมั่นตอรัฐบาล<br />

ไมเชื่อ<br />

มั่นเลย<br />

ไมคอย<br />

เชื่อมั่น<br />

คอนขาง<br />

เชื่อมั่น<br />

เชื่อมั่น<br />

มาก<br />

เพศ<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

ชาย 2.1 12.8 63.2 21.9 100.0 (949)<br />

หญิง 1.8 13.8 63.5 20.8 100.0 (1,042)<br />

χ 2 = .916 df = 3 p = .821 N = 1,991<br />

อายุ รอยละ (จํานวน)<br />

ต่ํากวา 29 2.4 16.6 62.1 19.0 100.0 (290)<br />

30 – 39 1.9 12.3 68.3 17.5 100.0 (463)<br />

40 – 49 1.4 13.3 61.6 23.7 100.0 (490)<br />

50 – 59 1.6 14.3 61.2 22.9 100.0 (384)<br />

60 ขึ้นไป 2.7 11.0 62.9 23.4 100.0 (364)<br />

χ 2 = 15.589 df = 12 p = .211 N = 1,991<br />

รวม<br />

131


ความเชื่อมั่นตอรัฐบาล<br />

ไมเชื่อ<br />

มั่นเลย<br />

ไมคอย<br />

เชื่อมั่น<br />

คอนขาง<br />

เชื่อมั่น<br />

เชื่อมั่น<br />

มาก<br />

อาชีพ<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

เกษตรกร 1.6 11.7 62.0 24.7 100.0 (1,045)<br />

คาขายเล็กๆนอยๆ 1.1 20.8 61.2 16.9 100.0 (183)<br />

รับจางทั่วไป คนงาน 2.2 13.4 64.7 19.7 100.0 (320)<br />

รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ/องคกรของรัฐ 1.5 16.9 66.2 15.4 100.0 (65)<br />

ไมไดทํางาน / วางงาน 2.7 13.4 66.4 17.4 100.0 (149)<br />

อื่นๆ 3.5 13.5 66.8 16.2 100.0 (229)<br />

χ 2 = 28.815 df = 15 p = .017 N = 1,991<br />

การศึกษา<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

ไมเคยเรียนหนังสือ 3.1 7.2 62.9 26.8 100.0 (97)<br />

ประถมศึกษา (ป.1-ป.4)/ (ป.6 หรือ ป.7) / 1.7 12.3 62.8 23.3 100.0 (1,388)<br />

เทียบเทา<br />

มัธยมตน/มัธยมปลาย/ปวช./เทียบเทา 2.8 16.9 64.9 15.5 100.0 (362)<br />

อนุปริญญา/ปวส./ปวท./ปริญญาตรี/โท/ เอก 2.1 13.3 63.4 21.3 100.0 (144)<br />

χ 2 = 25.810 df = 9 p = .002 N = 1,991<br />

สถานภาพสมรส<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

โสดไมเคยแตงงาน 3.1 14.2 63.5 19.2 100.0 (260)<br />

แตงงานอยูดวยกัน/แยกกันอยู/อยูดวยกัน 1.9 13.5 63.3 21.4 100.0 (1,605)<br />

โดยไมแตงงาน<br />

หยา/มาย 0.8 9.6 64.8 24.8 100.0 (125)<br />

χ 2 = 5.351 df = 6 p = .500 N = 1,990<br />

เขตบาน<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

เทศบาลนคร/เมือง 18.2 60.6 21.2 100.0 (33)<br />

เทศบาลตําบล 2.5 14.4 65.8 17.3 100.0 (473)<br />

องคการบริหารสวนตําบล 1.8 12.5 62.5 23.2 100.0 (1,353)<br />

กรุงเทพมหานคร 1.5 16.7 65.2 16.7 100.0 (132)<br />

χ 2 = 12.286 df = 9 p = .198 N = 1,991<br />

รวม<br />

132


ผลการศึกษานี้นับวามีความสอดคลองกับผลการศึกษาในเรื่องความเชื่อมั่นตอรัฐบาล (Trust in<br />

Government Index) ของหลายๆ สถาบันทั่วโลก อาทิ ผลการวิจัยของ Human Science Research<br />

Council ประเทศแอฟริกาใตที่พบวาความเชื่อมั่นตอรัฐบาลของคนแอฟริกาใตมีความแตกตางกันตาม<br />

เพศและอายุ อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (www.hsrc.ac.za) และ The National Election Studies แหง<br />

มหาวิทยาลัยมิชิแกน ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งทําการสํารวจรวบรวมผลการศึกษาในเรื่องนี้มาตั้งแตป<br />

ค.ศ.1958 จนถึงป ค.ศ.2000 พบวาความเชื่อมั่นตอรัฐบาลของคนอเมริกันแทบจะไมมีความแตกตางกัน<br />

ระหวางเพศหญิงและเพศชาย แตคอนขางแตกตางกันในเรื่องอาชีพและระดับการศึกษา<br />

(www.umich.edu/nes) โดยเฉพาะผลการสํารวจในป ค.ศ.2000 พบวา เกษตรกรเปนกลุมที่เชื่อมั่นตอ<br />

รัฐบาลสูงที่สุด รองลงมาเปนกลุมผูเชี่ยวชาญ แรงานไรฝมือ และแมบาน ซึ่งถือวาใกลเคียงอยางมากกับ<br />

ผลการวิจัยดังตารางขางตนที่พบวา ความเชื่อมั่นตอรัฐบาลมีความแตกตางกันตามอาชีพ อยางมีนัย<br />

สําคัญทางสถิติ (χ 2 = 28.815 ที่ระดับ 0.05) โดยที่กลุมตัวอยางที่เปนเกษตรกร มีความเชื่อมั่นตอรัฐบาล<br />

ในสัดสวนสูงที่สุด คิดเปนรอยละ 86.7 รองลงมาไดแกกลุมอาชีพรับจาง รอยละ 84.4 คนที่วางงาน/ไมมี<br />

งานทํา รอยละ 83.8 ตามลําดับ ขณะที่กลุมตัวอยางที่เปนขาราชการ/พนักงานของรัฐ/รัฐวิสาหกิจ และ<br />

ประกอบอาชีพคาขายมีความเชื่อมั่นตอรัฐบาลในสองอันดับทายหรือคิดเปนรอยละ 81.6 และรอยละ<br />

78.1 ตามลําดับ<br />

อยางไรก็ตาม ในเรื่องการศึกษา พบวา ขอมูลมีลักษณะสวนทางกันอยางชัดเจน กลาวคือ<br />

สําหรับคนอเมริกัน คนที่มีการศึกษาสูงกวามีแนวโนมที่จะเชื่อมั่นตอรัฐบาลมากกวาคนที่มีการศึกษาต่ํา<br />

กวา (www.umich.edu/nes) ในขณะที่ผลการวิเคราะหดังตารางที่ 4.56 พบวา ความเชื่อมั่นตอรัฐบาลมี<br />

ความแตกตางกันตามระดับการศึกษา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (χ 2 = 25.810 ที่ระดับ 0.01) โดยกลุมตัว<br />

อยางที่ไมเคยเรียนหนังสือมีความเชื่อมั่นตอรัฐบาลในสัดสวนสูงที่สุด คิดเปนรอยละ 89.7 รองลงมาได<br />

แก กลุมตัวอยางที่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา รอยละ 86.1 กลุมตัวอยางที่มีการศึกษาตั้งแตระดับ<br />

อนุปริญญาขึ้นไป รอยละ 84.7 และกลุมตัวอยางที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา รอยละ 80.4 เรียงตาม<br />

ลําดับ<br />

4.6.6 ปจจัยที่มีผลตอความพึงพอใจตอการทํางานของรัฐบาล<br />

การศึกษานี้ไดทําการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอความพึงพอใจตอการทํางานของรัฐบาลโดยมีการ<br />

ศึกษาในเรื่องของตัวแปรตางๆ อาทิ สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม การอาศัยอยูในเขตเมืองหรือ<br />

ชนบท การเปดรับขาวสารและความสนใจทางการเมือง ความรูความเขาใจทางการเมือง การสนับสนุน<br />

ตอระบบการเมือง ประสิทธิภาพทางการเมือง วัฒนธรรมแบบอํานาจนิยม การแบงแยกทางความคิด<br />

ความเชื่อมั่นตอระบบรัฐสภา การตรวจสอบทางการเมือง ความเชื่อมั่นตอวิถีทางประชาธิปไตย คานิยม<br />

ดั้งเดิม ความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล ขาวสารและความสนใจทางการเมือง ความเชื่อมั่นตอ<br />

องคกรอิสระ และระดับการมีสวนรวมทางการเมือง ผลการวิเคราะหปรากฏในตารางที่ 4.57 พบวา<br />

133


ปจจัยเหลานี้สามารถอธิบายความผันแปรของความพึงพอใจตอการทํางานของรัฐบาลไดรอยละ 18.7<br />

(R 2 = 0.187) และมีความสัมพันธกับความพึงพอใจตอการทํางานของรัฐบาลอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ<br />

(F = 26.128 ที่ระดับ 0.01)<br />

ตารางที่ 4.57 การวิเคราะหถดถอยพหุความพึงพอใจตอการทํางานของรัฐบาล N = 2,000<br />

ตัวแปร B Std. Error Beta t Sig.<br />

คาคงที่ (Constant) 1.909 .134 14.198 .000<br />

สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม 3.893E-02 .016 .059 2.413 .016*<br />

การอาศัยอยูในเมือง-ชนบท 2.368E-02 .054 .010 .437 .662<br />

ความรูความเขาใจทางการเมือง -4.429E-02 .025 -.044 -1.774 .076<br />

การสนับสนุนตอระบบการเมือง .111 .017 .165 6.684 .000**<br />

ประสิทธิภาพทางการเมือง 3.532E-02 .016 .053 2.175 .030*<br />

วัฒนธรรมแบบอํานาจนิยม 3.554E-02 .017 .052 2.107 .035*<br />

การแบงแยกทางความคิด 2.354E-02 .017 .035 1.393 .164<br />

ความเชื่อมั่นตอระบบรัฐสภา 8.613E-02 .018 .128 4.768 .000**<br />

การตรวจสอบทางการเมือง -1.086E-02 .018 -.016 -.589 .556<br />

ความเชื่อมั่นตอวิถีทางประชาธิปไตย -1.867E-02 .017 -.027 -1.112 .266<br />

คานิยมดั้งเดิม 3.028E-02 .018 .042 1.720 .086<br />

ขาวสารและความสนใจทางการเมือง 5.171E-02 .031 .040 1.647 .100<br />

ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ .339 .028 .293 12.269 .000**<br />

ระดับการมีสวนรวมทางการเมือง 1.796E-02 .029 .015 .610 .542<br />

* *Sig = .01 *Sig= .05<br />

R 2 = .187 SE. = .60 F= 26.128 Sig.= .000<br />

134


จากตารางขางตนสามารถจัดลําดับความสําคัญของตัวแปรที่มีอิทธิพลตอความพึงพอใจตอการ<br />

ทํางานของรัฐบาล อยางมีนัยสําคัญทางสถิติจากมากไปนอย ไดแก<br />

1) ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ<br />

2) การสนับสนุนตอระบบการเมือง<br />

3) ความเชื่อมั่นตอระบบรัฐสภา<br />

4) สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม<br />

5) ประสิทธิภาพทางการเมือง<br />

6) วัฒนธรรมแบบอํานาจนิยม<br />

โดยที่ทุกตัวแปรมีความสัมพันธเชิงบวกกับความพึงพอใจตอการทํางานของรัฐบาล ซึ่งผลการ<br />

ศึกษานี้กลาวไดวา ประชาชนที่มีความเชื่อมั่นตอการทํางานขององคกรอิสระ มีทัศนคติที่สนับสนุนตอ<br />

ระบบการเมือง มีความเชื่อมั่นตอระบบรัฐสภา มีสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมดี เห็นวาตนเอง<br />

สามารถมีอิทธิพลทางการเมืองได รวมทั้งการมีวัฒนธรรมแบบอํานาจนิยม จะทําใหมีความพึงพอใจตอ<br />

การทํางานของรัฐบาลมากดวย ดังนั้น รัฐบาลควรมีสวนในการสงเสริมบทบาทและการทําหนาที่ของ<br />

องคกรอิสระตางๆ ใหเปนที่รูจักของประชาชน และกระตุนใหประชาชนเขาใจและใหความสําคัญกับ<br />

ระบบการเมืองของประเทศที่เปนอยู<br />

นอกจากนี้ แมวาวัฒนธรรมแบบอํานาจนิยมจะเปนวัฒนธรรมที่สวนทางกับวัฒนธรรมแบบ<br />

ประชาธิปไตย แตตองยอมรับวาวัฒนธรรมแบบนี้เปนลักษณะเฉพาะของสังคมไทย ที่ใหความสําคัญกับ<br />

ผูนํา การจัดการปญหาแบบเด็ดขาด รวดเร็ว ทันใจ รวมทั้งไมตองการใหมีความคิดเห็นที่แตกตางจากคน<br />

สวนใหญ ดังนั้น ผูเขามาดํารงตําแหนงสําคัญๆ ในรัฐบาลจะตองตระหนักถึงลักษณะเฉพาะทางวัฒน<br />

ธรรมอันนี้ โดยสรางความเปนมืออาชีพดวยการคิด ตัดสินใจและลงมือปฏิบัติงานดวยความเฉียบขาด<br />

รวดเร็ว ซึ่งความรวดเร็ว เฉียบขาดนี้มิใชการกระทําดวยความรวบรัดตัดตอนหรือทําตามอําเภอใจ แตจะ<br />

ตองเปนไปตามครรลองที่ถูกตองตามหลักการ มิฉะนั้น ประชาชนก็อาจจะยินดีใหอํานาจเด็ดขาดอื่นเขา<br />

มาจัดการกับความไมชอบธรรมที่เกิดขึ้นนั้นก็ได<br />

ทัศนคติเชนนี้ของประชาชนคอนขางนาเปนหวง เพราะเปนวัฒนธรรมที่ไมเกื้อหนุนตอ<br />

กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตย แมวารัฐบาลจะทํางานไดเปนที่พอใจของประชาชน แตความพอใจ<br />

นั้นยังคงเกิดจากการคลอยตามผูนําหรืออาจกลาววาประชาชนยังเปน “ผูรอรับ” มากกวาเปน “ผูเรียก<br />

รอง” ดังนั้น รัฐบาลที่ตองการนําพาประเทศไปในทิศทางแบบประชาธิปไตยจะตองสงเสริมใหระบบ<br />

การเมืองเปนระบบแบบเปด ที่ประชาชนสามารถเขามีอิทธิพล/บทบาทในระบบการเมืองได นโยบาย<br />

ตางๆ ของรัฐบาลจะตองวางอยูบนพื้นฐานของความตองการของประชาชน มิใชนโยบายที่รัฐคิดแทน<br />

แลวจัดให รัฐบาลจึงสมควรที่จะมีการรวบรวม สํารวจและวิเคราะหความตองการของประชาชนอยาง<br />

135


เปนระบบ เพื่อจะไดจัดบริการสาธารณะไดมีประสิทธิภาพ เหมาะสมและสอดคลองกับความตองการ<br />

ของประชาชน<br />

4.7 ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ<br />

ที่ผานมาแมวาประเทศไทยจะมีองคกรที่ทําหนาที่ควบคุมตรวจสอบหลายองคกร แตองคกร<br />

เหลานั้นยังมีปญหาที่ไมสามารถปฏิบัติภารกิจหนาที่ไดอยางเต็มที่และมีประสิทธิภาพ เนื่องจากยังถูก<br />

ครอบงําโดยฝายการเมืองหรือฝายขาราชการประจําได รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันไดวางหลักการเพื่อทํา<br />

ใหองคกรควบคุมตรวจสอบมีฐานะเปนองคกรอิสระ ซึ่งนอกจากจะเปนการขจัดอุปสรรคในการทําหนา<br />

ที่ควบคุมตรวจสอบขององคกรตางๆ แลว ยังจะทําใหเกิดระบบการตรวจสอบที่ครบถวน ไมซ้ําซอนกัน<br />

แตเสริมซึ่งกันและกันตามบทบาทและภาระหนาที่ที่เปนไปตามเจตนารมณของการจัดตั้งแตละองคกร<br />

อีกทางหนึ่งดวย<br />

4.7.1 องคกรอิสระกับการเปนที่รูจักของประชาชน<br />

เมื่อสอบถามถึงระดับความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระตางๆ ซึ่งในการศึกษานี้สนใจศึกษาองคกร<br />

อิสระตามรัฐธรรมนูญและองคกรอิสระตามกฎหมายอื่นที่สําคัญรวม 10 องคกร ปรากฏวา ประชาชน<br />

จํานวนมากปฏิเสธที่จะใหความเห็นเนื่องจากไมรูจักองคกรอิสระนั้นๆ<br />

ตารางที่ 4.58 การรูจักองคกรอิสระของประชาชน N = 2,000<br />

รูจัก ไมรูจัก<br />

คณะกรรมการการเลือกตั้ง 74.4 25.6<br />

ศาลยุติธรรม 63.0 37.0<br />

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ 56.4 43.6<br />

ศาลรัฐธรรมนูญ 56.0 44.0<br />

ศาลปกครอง 51.6 48.4<br />

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน* 38.5 61.5<br />

คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน 29.6 70.4<br />

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ 26.2 73.8<br />

ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา 25.3 74.7<br />

สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 25.1 74.9<br />

* คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินมิใชองคกรอิสระตามความหมายของการวิจัยนี้ แตเปนองคกร<br />

หนึ่งที่มีอํานาจตรวจสอบและมีสําคัญตอการบรรลุเจตนารมณตามรัฐธรรมนูญ<br />

136


จากตารางที่ 4.58 พบวามีถึง 5 จาก 10 องคกรที่กลุมตัวอยางรูจักนอยกวารอยละ 50 ไดแก<br />

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (รอยละ 38.5) คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน (รอย<br />

ละ 29.6) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (รอยละ 26.2) ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา (รอยละ<br />

25.3) และสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม (รอยละ 25.1) มีเพียงคณะกรรมการการเลือกตั้งองคกรเดียว<br />

เทานั้นที่กลุมตัวอยางรูจักมากกวารอยละ 70 ในขณะที่องคกรอิสระที่คอนขางจะมีชื่อปรากฏเปนขาว<br />

ทางสื่อตางๆ บอยครั้งอยางคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ศาลรัฐธรรมนูญ<br />

และศาลปกครอง เปนกลุมองคกรอิสระที่มากกวาครึ่งหนึ่งของกลุมตัวอยางรูจักแตก็อยูในสัดสวนที่ไม<br />

สูงมากคือต่ํากวารอยละ 60<br />

นอกจากนี้ นาสังเกตวา ศาลยุติธรรมซึ่งไมใชองคกรอิสระใหมที่เพิ่งจะเกิดขึ้นครั้งแรกภายหลัง<br />

การบังคับใชรัฐธรรมนูญ เพียงแตมีการปรับปรุงในบางเรื่องเพื่อแกไขปญหาการทํางานในอดีตเทานั้น<br />

แตกลุมตัวอยางถึงรอยละ 37 กลับตอบวาไมรูจัก ซึ่งนาจะเปนสัดสวนที่ไมสอดคลองกับความเปนจริง<br />

ผูศึกษามีความเห็นในเบื้องตนวาสวนหนึ่งอาจเปนเพราะคนบางกลุมอาจไมรูจักจริงๆเพราะไมมีความจํา<br />

เปนที่จะตองมีปฏิสัมพันธกับกระบวนการยุติธรรมในชีวิตประจําวัน แตคนสวนใหญที่ตอบวาไมรูจัก<br />

ในที่นี้นาจะเกิดจากความสับสนในการเรียกชื่อและความไมแนใจวาศาลยุติธรรมในฐานะองคกรอิสระ<br />

หนึ่งคือหนวยงานเดียวกันกับ “ศาล” ในความรูจักและคุนเคยของประชาชนหรือไมมากกวาที่จะสรุปวา<br />

ประชาชนสวนใหญไมรูจัก “ศาลยุติธรรม” อยางแทจริง<br />

4.7.2 ความพอใจตอการทํางานขององคกรอิสระตางๆ<br />

เมื่อนําสัดสวนเฉพาะกลุมตัวอยางที่รูจักและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ “ความพอใจ” ตอการ<br />

ทํางานที่ผานมาขององคกรอิสระเปรียบเทียบกัน พบวา องคกรอิสระที่ประชาชนพอใจตอการทํางานหา<br />

อันดับแรกไดแก คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (รอยละ 85.0) รองลงมาเปนศาลปกครอง (รอย<br />

ละ 79.1) ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา (รอยละ 78.8) สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (รอย<br />

ละ 73.3) และศาลยุติธรรม (รอยละ 73.1) ตามลําดับ<br />

สวนองคกรที่ประชาชนพอใจตอการทํางาน 5 อันดับทาย ไดแก แก คณะกรรมการตรวจเงิน<br />

แผนดิน (รอยละ 71.5) ศาลรัฐธรรมนูญ (รอยละ 70.3) คณะกรรมการการเลือกตั้ง (รอยละ 70.1) คณะ<br />

กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (รอยละ 68.2) และคณะกรรมการปองกันและปราบ<br />

ปรามการฟอกเงิน (รอยละ 64.7) ตามลําดับ (ตารางที่ 4.59)<br />

137


ตารางที่ 4.59 รอยละของความพอในการทํางานขององคกร<br />

พอใจ<br />

มาก<br />

คอนขาง<br />

พอใจ<br />

ไมคอย<br />

พอใจ<br />

ไมพอใจ<br />

เลย<br />

ศาลยุติธรรม 14.6 58.5 21.8 5.1 100.0(2000)<br />

ศาลรัฐธรรมนูญ 15.1 55.2 25.7 4.0 100.0(2000)<br />

ศาลปกครอง 16.4 62.7 17.9 2.9 100.0(2000)<br />

ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา 16.1 62.7 18.5 2.6 100.0(2000)<br />

คณะกรรมการการเลือกตั้ง 17.7 52.6 25.4 4.3 100.0(2000)<br />

คณะกรรมการปองกันและปราบปราม 16.5 51.7 27.3 4.4 100.0(2000)<br />

การทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.)<br />

คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน (ค.ต.ง.) 16.2 55.3 24.2 4.3 100.0(2000)<br />

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ 15.1 69.9 13.7 1.4 100.0(2000)<br />

สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม 13.5 59.8 23.7 3.0 100.0(2000)<br />

แหงชาติ<br />

คณะกรรมการปองกันและปราบปราม<br />

การฟอกเงิน (ป.ป.ง.)<br />

14.5 50.2 27.2 8.1 100.0(2000)<br />

รวม<br />

4.7.3 ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระตางๆ<br />

นอกจากนี้ เมื่อนําสัดสวนเฉพาะกลุมตัวอยางที่รูจักและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ “ความเชื่อ<br />

มั่น” ตอองคกรอิสระมาเปรียบเทียบกัน พบวา องคกรอิสระที่ประชาชนใหความเชื่อมั่นมากสองอันดับ<br />

แรกเปนองคกรอิสระประเภทสงเสริมสนับสนุนในเรื่องสิทธิเสรีภาพและประโยชนสวนรวมของ<br />

ประชาชนไดแก คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (รอยละ 85.3) และผูตรวจการแผนดินของ<br />

รัฐสภา (รอยละ 80.0) ขณะที่องคกรอิสระประเภทที่ใชอํานาจศาลเปนกลุมที่ไดรับความเชื่อมั่นจาก<br />

ประชาชนในอันดับรองๆ ลงมา ไดแก ศาลปกครอง (รอยละ 79.7) ศาลยุติธรรม (รอยละ 75.0) และศาล<br />

รัฐธรรมนูญ (รอยละ 74.3) ตามลําดับ (ตารางที่ 4.60)<br />

สําหรับองคกรที่ประชาชนใหความเชื่อมั่น 5 อันดับทาย มีเพียงสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและ<br />

สังคมแหงชาติเพียงองคกรเดียวเทานั้นที่มีลักษณะเปนองคกรอิสระประเภทไมมีอํานาจตัดสินใจแตมี<br />

บทบาทสําคัญในการใหคําแนะนําหรือคําปรึกษา ไดรับความเชื่อมั่นมาในอันดับ 6 คิดเปนรอยละ 73.1<br />

ขณะที่อีก 4 องคกรที่เหลือ (อันดับ 7-10) เปนองคกรอิสระประเภทใชอํานาจตรวจสอบทั้งสิ้น ไดแก<br />

คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน (รอยละ 73.1) คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ<br />

138


(รอยละ 72.5) คณะกรรมการการเลือกตั้ง (รอยละ 72.4) และคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการ<br />

ฟอกเงิน (รอยละ 66.8) ตามลําดับ (ตารางที่ 4.60)<br />

ตารางที่ 4.60 รอยละของความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ<br />

เชื่อมั่น<br />

มาก<br />

คอนขาง<br />

เชื่อมั่น<br />

ไมคอย<br />

เชื่อมั่น<br />

ไมเชื่อมั่น<br />

เลย<br />

รวม<br />

ศาลยุติธรรม 15.1 60.0 19.8 5.2 100.0(2000)<br />

ศาลรัฐธรรมนูญ 17.5 56.8 22.0 3.7 100.0(2000)<br />

ศาลปกครอง 16.9 62.9 17.1 3.2 100.0(2000)<br />

ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา 15.6 64.4 17.2 2.8 100.0(2000)<br />

คณะกรรมการการเลือกตั้ง 20.0 52.5 24.1 3.4 100.0(2000)<br />

คณะกรรมการปองกันและปราบปราม 19.3 53.2 23.7 3.8 100.0(2000)<br />

การทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.)<br />

คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน (ค.ต.ง.) 16.1 57.0 22.5 4.4 100.0(2000)<br />

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ 15.5 69.8 13.4 1.3 100.0(2000)<br />

สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม 14.3 58.8 22.9 4.0 100.0(2000)<br />

แหงชาติ<br />

คณะกรรมการปองกันและปราบปราม<br />

การฟอกเงิน (ป.ป.ง.)<br />

15.3 51.4 25.3 7.9 100.0(2000)<br />

จากสัดสวนความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระตางๆ ขางตน ผูวิจัยไดทําการรวมคะแนนความเชื่อมั่น<br />

ของประชาชนที่มีตอองคกรอิสระตางๆ เพื่อพิจารณาระดับความเชื่อมั่นที่ประชาชนมีตอองคกรอิสระ<br />

โดยภาพรวม โดยแบงระดับความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระโดยภาพรวมเปน 3 ระดับ คือ ความเชื่อมั่น<br />

ระดับสูง (ตั้งแต 30 คะแนนขึ้นไป) ความเชื่อมั่นระดับปานกลาง (ระหวาง 20-29 คะแนน) และความเชื่อ<br />

มั่นระดับต่ํา (ต่ํากวา 20 คะแนนลงมา) ผลปรากฏวา กลุมตัวอยางสวนใหญหรือคิดเปนรอยละ 63.9 มี<br />

ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระโดยภาพรวม ในระดับปานกลาง ขณะที่ประมาณ 1 ใน 4 หรือ รอยละ 25.2<br />

มีความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระโดยภาพรวมในระดับสูง สวนกลุมตัวอยางที่มีความเชื่อมั่นในระดับต่ํามี<br />

เพียงรอยละ 10.9 เทานั้น (ตาราง 4.61)<br />

139


ตารางที่ 4.61 ระดับความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระโดยภาพรวม<br />

ระดับความเชื่อมั่น จํานวน รอยละ<br />

ความเชื่อมั่นระดับสูง 418 25.2<br />

ความเชื่อมั่นระดับปานกลาง 1,061 63.9<br />

ความเชื่อมั่นระดับต่ํา 181 10.9<br />

รวม 1,660 100.0<br />

4.7.4 ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระและปจจัยทางเศรษฐกิจสังคม<br />

การทดสอบความสัมพันธระหวางความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระและปจจัยทางเศรษฐกิจสังคม<br />

ทําใหทราบในเบื้องตนวาความแตกตางทางสภาพเศรษฐกิจสังคมของบุคคลมีผลตอการใหความเชื่อมั่น<br />

ตอองคกรอิสระหรือไม อยางไร และอาจทําใหเขาใจดวยวาคนกลุมใดที่ใหความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ<br />

สําหรับการศึกษานี้ปจจัยทางดานเศรษฐกิจสังคมที่นํามาพิจารณามีหลายปจจัย ไดแก เพศ อายุ อาชีพ<br />

การศึกษา สถานภาพสมรส และเขตที่อยูอาศัย<br />

ตารางที่ 4.62 รอยละของระดับความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ จําแนกตามเพศ อายุ อาชีพ การศึกษา<br />

สถานภาพสมรสและเขตบาน<br />

ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ ต่ํา ปานกลาง สูง รวม<br />

เพศ<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

ชาย 10.0 64.6 25.4 100.0 (853)<br />

หญิง 11.9 63.2 24.9 100.0 (807)<br />

χ 2 = 1.592 df = 2 p = .451 N = 1,660<br />

อายุ รอยละ (จํานวน)<br />

ต่ํากวา 29 7.4 67.2 25.4 100.0 (256)<br />

30 – 39 11.1 66.4 22.5 100.0 (405)<br />

40 – 49 9.6 64.6 25.8 100.0 (426)<br />

50 – 59 12.6 60.2 27.2 100.0 (309)<br />

60 ขึ้นไป 14.0 60.2 25.8 100.0 (264)<br />

χ 2 = 10.551 df = 8 p = .228 N = 1,660<br />

140


ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ ต่ํา ปานกลาง สูง รวม<br />

อาชีพ<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

เกษตรกร 8.8 60.2 31.0 100.0 (852)<br />

คาขายเล็กๆนอยๆ 17.4 64.6 18.0 100.0 (161)<br />

รับจางทั่วไป คนงาน 10.9 69.7 19.5 100.0 (267)<br />

รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ/องคกรของรัฐ 3.1 73.8 23.1 100.0 (65)<br />

ไมไดทํางาน / วางงาน 21.4 65.0 13.6 100.0 (103)<br />

อื่นๆ 11.8 67.5 20.8 100.0 (212)<br />

χ 2 = 53.851 df = 10 p = .000 N = 1,660<br />

การศึกษา<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

ไมเคยเรียนหนังสือ 11.1 63.0 25.9 100.0 (54)<br />

ประถมศึกษา (ป.1-ป.4)/ (ป.6 หรือ ป.7) /เทียบเทา 11.1 62.3 26.6 100.0 (1,126)<br />

มัธยมตน/มัธยมปลาย/ปวช./เทียบเทา 10.9 67.1 22.1 100.0 (340)<br />

อนุปริญญา/ปวส./ปวท./ปริญญาตรี/โท/ เอก 9.3 70.0 20.7 100.0 (140)<br />

χ 2 = 5.601 df = 6 p = .469 N = 1,660<br />

สถานภาพสมรส<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

โสดไมเคยแตงงาน 9.5 66.5 24.0 100.0 (221)<br />

แตงงานอยูดวยกัน/แยกกันอยู/อยูดวยกันโดยไม 11.1 63.7 25.3 100.0 (1,346)<br />

แตงงาน<br />

หยา/มาย 12.0 60.9 27.2 100.0 (92)<br />

χ 2 = 1.180 df = 4 p = .881 N = 1,660<br />

เขตบาน<br />

รอยละ (จํานวน)<br />

เทศบาลนคร/เมือง 14.8 66.7 18.5 100.0 (33)<br />

เทศบาลตําบล 11.0 67.9 21.1 100.0 (473)<br />

องคการบริหารสวนตําบล 10.4 61.3 28.3 100.0 (1,353)<br />

กรุงเทพมหานคร 14.2 72.4 13.4 100.0 (132)<br />

χ 2 = 20.141 df = 6 p = .003 N = 1,660<br />

141


ผลการวิเคราะหพบวา ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระมีความแตกตางตามอาชีพ อยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (χ 2 = 53.851 ที่ระดับ 0.01) โดยกลุมตัวอยางที่เปนเกษตรกร มีความเชื่อมั่นระดับสูงตอองคกร<br />

อิสระในสัดสวนสูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับอาชีพอื่น คิดเปนรอยละ 31.0 รองลงมาไดแกกลุมตัวอยางที่<br />

เปนขาราชการ/พนักงานของรัฐ/รัฐวิสาหกิจ คิดเปนรอยละ 23.1 ในขณะที่กลุมตัวอยางที่ไมไดทํางาน/<br />

วางงาน มีความเชื่อมั่นระดับสูงตอองคกรอิสระในสัดสวนต่ําที่สุด คิดเปนรอยละ 13.6 (ตารางที่ 4.62)<br />

นอกจากนี้ ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระมีความแตกตางตามเขตที่อยูอาศัย อยางมีนัยสําคัญทาง<br />

สถิติ (χ 2 = 20.141 ที่ระดับ 0.01) อีกปจจัยหนึ่งดวยและเปนที่นาสนใจวาคนที่อาศัยอยูในเขตชนบทมี<br />

แนวโนมที่จะใหความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระมากกวากลุมตัวอยางที่อาศัยอยูในเขตพื้นที่ที่มีความเปน<br />

เมือง กลาวคือ มีเพียงรอยละ 10.4 ของผูที่อาศัยอยูในเขตองคการบริหารสวนตําบลเทานั้นที่เชื่อมั่นตอ<br />

องคกรอิสระในระดับต่ํา รองลงมาคือผูอาศัยอยูในเขตเทศบาลตําบล เทศบาลเมือง/นคร และ<br />

กรุงเทพมหานคร คิดเปนรอยละ 11.0 รอยละ 14.8 และรอยละ 14.2 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.62)<br />

4.7.5 ปจจัยที่มีผลตอความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ<br />

การวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ ไดทําการศึกษาในเรื่องของตัวแปร<br />

ตางๆ อาทิ สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม การอาศัยอยูในเขตเมืองหรือชนบท การเปดรับขาวสาร<br />

และความสนใจทางการเมือง ความรูความเขาใจทางการเมือง การสนับสนุนตอระบบการเมือง ประสิทธิ<br />

ภาพทางการเมือง วัฒนธรรมแบบอํานาจนิยม การแบงแยกทางความคิด ความเชื่อมั่นตอระบบรัฐสภา<br />

การตรวจสอบทางการเมือง ความเชื่อมั่นตอวิถีทางประชาธิปไตย คานิยมดั้งเดิม ความพอใจตอการ<br />

ทํางานของรัฐบาล ขาวสารและความสนใจทางการเมือง ความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล และ<br />

ระดับการมีสวนรวมทางการเมือง ผลการวิเคราะหปรากฏในตารางที่ 4.60 พบวา ปจจัยเหลานี้สามารถ<br />

อธิบายความผันแปรของความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระไดรอยละ 18.1 (R 2 = 0.181) และมีความสัมพันธ<br />

กับความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (F = 25.151 ที่ระดับ 0.01)<br />

142


ตารางที่ 4.60 การวิเคราะหถดถอยพหุความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ N = 2,000<br />

ตัวแปร B Std. Error Beta t Sig.<br />

คาคงที่ (Constant) 2.248 .110 20.357 .000<br />

สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม 4.858E-03 .014 .009 .346 .729<br />

การอาศัยอยูในเมือง-ชนบท -.187 .047 -.095 -3.996 .000**<br />

ความรูความเขาใจทางการเมือง -2.028E-02 .022 -.023 -.935 .350<br />

การสนับสนุนตอระบบการเมือง 9.461E-02 .014 .164 6.581 .000**<br />

ประสิทธิภาพทางการเมือง -8.519E-03 .014 -.015 -.603 .547<br />

วัฒนธรรมแบบอํานาจนิยม -1.675E-02 .015 -.029 -1.142 .254<br />

การแบงแยกทางความคิด -1.975E-02 .015 -.034 -1.345 .179<br />

ความเชื่อมั่นตอระบบรัฐสภา -5.916E-03 .016 -.010 -.374 .708<br />

การตรวจสอบทางการเมือง 1.272E-02 .016 .021 .795 .427<br />

ความเชื่อมั่นตอวิถีทางประชาธิปไตย -6.175E-03 .015 -.010 -.423 .672<br />

คานิยมดั้งเดิม 5.422E-02 .015 .086 3.556 .000**<br />

ขาวสารและความสนใจทางการเมือง -3.473E-02 .027 -.031 -1.273 .203<br />

ระดับการมีสวนรวมทางการเมือง 7.481E-02 .026 .071 2.932 .003**<br />

ความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล .256 .021 .295 12.269 .000**<br />

* *Sig = .01 *Sig= .05<br />

R 2 = .181 SE. = .5223 F= 25.151 Sig.= .000<br />

จากตารางขางตนสามารถจัดลําดับความสําคัญของตัวแปรที่มีอิทธิพลตอความเชื่อมั่นตอองคกร<br />

อิสระ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติจากมากไปนอย ไดแก<br />

1) ความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล<br />

2) การสนับสนุนตอระบบการเมือง<br />

3) การอาศัยอยูในเมือง-ชนบท<br />

143


4) คานิยมแบบดั้งเดิม<br />

5) ระดับการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

โดยที่ความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล การสนับสนุนตอระบบการเมือง คานิยมแบบดั้งเดิม<br />

และระดับการมีสวนรวมทางการเมือง มีความสัมพันธเชิงบวกกับความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ ซึ่งผล<br />

การศึกษานี้กลาวไดวา ประชาชนที่มีความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล มีทัศนคติที่สนับสนุนตอ<br />

ระบบการเมืองที่เปนอยู มีคานิยมแบบดั้งเดิม และเขามีสวนรวมทางการเมืองสูงขึ้น จะทําใหมีความเชื่อ<br />

มั่นตอองคกรอิสระมากดวย ดังนั้น องคกรอิสระตางๆ จะตองแสดงบทบาทและทําหนาที่ของตนเองให<br />

ชัด ใหสมกับเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะในแงของการเปนองคกรตรวจสอบการใชอํานาจ<br />

ตลอดจนการเปนองคกรที่มีการประชาสัมพันธ เผยแพร ใหความรูเกี่ยวกับการเมืองใหมภายใตรัฐธรรม<br />

นูญ ใหประชาชนตระหนักถึงความสําคัญและไดรับทราบชองทางที่สามารถเขาถึงระบบการเมืองที่เปด<br />

กวางมากกวาในอดีต ประชาชนก็จะใหความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระทั้งหลายมากขึ้น<br />

นอกจากนี้ ปจจัยเกี่ยวกับความแตกตางกันของที่อยูอาศัย กลาวคือ การอาศัยอยูในเขตเมืองหรือ<br />

ชนบทของประชาชน ซึ่งนาสนใจอยางยิ่งวาคนที่อาศัยอยูในชนบทจะมีความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ<br />

มากกวากลุมคนที่อาศัยอยูในเมือง แมวาระดับความรูความเขาใจทางการเมืองของคนที่อาศัยอยูในเมือง<br />

จะสูงกวาก็ตาม ดังนั้น นอกจากการเนนสรางความเขาใจและชี้ใหเห็นถึงความสําคัญขององคกรอิสระ<br />

ตางๆ ผานการประชาสัมพันธใหทั่วถึงซึ่งอาจใชไดดีกับคนในสังคมชนบทแลว การปฏิบัติหนาที่โดยยึด<br />

หลักความถูกตอง และแสดงศักยภาพในการเปนองคกรตรวจสอบทางการเมืองที่มีคุณภาพ ปราศจาก<br />

การครอบงําของอิทธิพลหรือผลประโยชนใดๆ ยอมสามารถชนะใจคนในสังคมเมืองไดในที่สุด<br />

ผลการศึกษานี้ สะทอนถึงการเมืองภายหลังการบังคับใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย<br />

พุทธศักราช 2540 มาไดระยะเวลา 5 ปที่มีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้นมากกวาในอดีต ทั้งใน<br />

เรื่องการมีสวนรวมของประชาชน การสนับสนุนตอระบบการเมืองที่พยายามวางรากฐานใหแกเสถียร<br />

ภาพทางการเมืองของรัฐบาล ควบคูไปกับการมีกลไกตรวจสอบเปนชองทางเขาสูระบบการเมืองที่เปด<br />

กวางและหลากหลาย อยางไรก็ตาม กระบวนการเหลานี้ยังจะตองมีการผลักดันและดําเนินการอยางเอา<br />

จริงเอาจังตอไป ทั้งนี้ คณะผูวิจัยมีขอคนพบและขอสังเกตที่นาสนใจจะนําสรุปรวมไวในบทถัดไป<br />

พรอมไปกับการใหขอเสนอแนะที่คาดวาจะเปนประโยชนบางประการไวดวย<br />

144


บทที่ 5<br />

สรุปและเสนอแนะ<br />

การศึกษาวิจัยเรื่องการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนและความคิดเห็นตอการทํางาน<br />

ของรัฐบาลและองคกรอิสระ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมทาง<br />

การเมืองของประชาชน ตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 และสํารวจ<br />

ความคิดเห็นของประชาชนตอการทํางานของรัฐบาลและองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ตลอดจน<br />

วิเคราะหระดับการมีสวนรวมของประชาชนและความพอใจตอการทํางานของสถาบันดังกลาว เพื่อ<br />

เสนอแนะทางการปรับปรุงแกไขตอไปโดยการศึกษาวิเคราะหเอกสาร และเก็บขอมูลภาคสนาม<br />

ดวยแบบสอบถาม จํานวน 2,000 ตัวอยาง จาก 42 จังหวัดทั่วประเทศ โดยใชการสุมแบบกลุมและ<br />

เปนระบบตามระเบียบวิธีวิจัยที่กําหนดในบทที่ 3 และเสนอผลในบทที่ 4 จึงทําการสรุปและจัดทํา<br />

ขอเสนอแนะ ดังตอไปนี้<br />

5.1 สรุป<br />

จากผลการศึกษาวิจัยที่นําเสนอในบทที่ 4 สามารถสรุปผลโดยแบงแยกออกเปน 4 ประเด็น<br />

หลักๆ คือ ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้ง การสวนรวมทางการเมือง ความคิดเห็น<br />

ของประชาชนตอรัฐบาล และความคิดเห็นของประชาชนตอองคกรอิสระ ดังมีรายละเอียดตอไปนี้<br />

5.1.1 ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้ง<br />

การศึกษานี้พบวาประชาชนที่ตอบแบบสอบถาม ซึ่งเปนชายรอยละ 47.7 หญิงรอยละ 52.3<br />

สวนใหญติดตามขาวสารทางการเมืองทางโทรทัศนทุกวัน โดยที่กวารอยละ 90 ติดตามขาวสารการ<br />

เมืองจากโทรทัศน นอกจากนี้ ประชาชนยังรับทราบขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้งจากปาย<br />

ประชาสัมพันธของรัฐและผูนําทองถิ่น<br />

สําหรับเรื่องของความคิดเห็นในทางการเมืองนั้น พบวาประชาชนกวารอยละ 90 เห็นวา<br />

การปกครองในระบอบประชาธิปไตยดีอยูแลว และไววางใจตอรัฐบาลมาก แตอยางไรก็ตาม<br />

ประชาชนกวารอยละ 80 เห็นวาการเมืองมีความสลับซับซอน ประชาชนยังขาดความรูความเขาใจ<br />

ควรใหความรูแกประชาชน และที่นาเปนหวงคือประชาชนเกือบรอยละ 80 เห็นวาการปกครอง<br />

ประเทศตกเปนของคณะบุคคลซึ่งเปนคนสวนนอย ประชาชนธรรมดาไมสามารถทําอะไรไดมาก<br />

ทั้งๆ ที่ประชาชนถึงรอยละ 83 ตองการตรวจสอบการทํางานของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและ<br />

สมาชิกวุฒิสภา ฉะนั้น จะทําอยางไรใหประชาชนทราบสิทธิตางๆ ของตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

สิทธิที่จะมีสวนรวมในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ โดยการเขาชื่อเสนอกฎหมายหรือขอบัญญัติ<br />

เพื่อใชบังคับในทองถิ่น และสิทธิในการเขาชื่อเสนอใหถอดถอน นักการเมืองทั้งระดับชาติและระดับ<br />

145


ทองถิ่น แตอยางไรก็ตาม ก็เปนสิ่งดีที่ประชาชนคิดวาหากเขาไปใชสิทธิ เลือกตั้งจะทําใหสามารถ<br />

เปลี่ยนแปลงการเมืองได<br />

ประชาชนสวนใหญเห็นวาผูนํารัฐบาลเปรียบเสมือนหัวหนาครอบครัวใหญ ดังนั้นควร<br />

ทําตามการตัดสินใจของเขา เพราะฉะนั้นรัฐบาลควรระมัดระวังในการทํางานใหมาก และที่นา<br />

แปลกใจคือประชาชนยอมใหทหารเขามาควบคุมจัดการในกรณีที่มีการทุจริตคอรัปชั่นมาก<br />

ในประเทศ ซึ่งแสดงใหเห็นวาประชาชนไมมั่นใจวากระบวนการเลือกตั้งจะเปลี่ยนแปลงการปกครอง<br />

ไปในทาง ที่ดีได<br />

ประชาชนประมาณรอยละ 53 เห็นวาไมควรทนฟงความคิดเห็นทางการเมืองที่แตกตางจาก<br />

คนสวนใหญ ซึ่งแสดงใหเห็นวาคนสวนนอยมีโอกาสแสดงความคิดเห็นไดยาก<br />

สําหรับเรื่องนโยบายและการดําเนินกิจกรรมตางๆ ของรัฐบาล พบวาประชาชนกวารอยละ<br />

80 เห็นวารัฐบาลควรรักษาความเปนเจาของรัฐวิสาหกิจ ( เชน การไฟฟา โทรศัพท )ไวเชนเดิม แสดง<br />

วาประชาชนสวนใหญไมตองการใหรัฐบาลแปรรูปรัฐวิสาหกิจ และกวารอยละ 90 เห็นวาเราควร<br />

รักษาวัฒนธรรมของชาติไวแทนที่จะรับวัฒนธรรมตางชาติเขามาแทนที่<br />

ประชาชนเกือบรอยละ 90 เห็นวารัฐบาลควรมีอํานาจในการตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องตางๆของ<br />

ทองถิ่นมากขึ้นกวานี้ สิ่งนี้นับเปนสิ่งที่นาเปนหวงเพราะเปนแนวคิดที่สวนทางกับการกระจายอํานาจ<br />

ที่ตองการใหทองถิ่นดูแลปกครองตนเอง สาเหตุที่เปนเชนนี้ อาจเพราะประชาชนไมเชื่อถือและไมไว<br />

ใจนักการเมืองทองถิ่น แตไวใจรัฐบาลมากกวา<br />

สวนเรื่องของความคิดเห็นอื่นๆ ตอรัฐสภา พบวาประชาชนประมาณรอยละ 80 เห็นวา<br />

ฝายคานในสภาผูแทนราษฎรแมจะมีอํานาจนอยกวา แตจะชวยควบคุมรัฐบาลมิใหใชอํานาจไปในทาง<br />

ที่ผิดได<br />

ประชาชนกวารอยละ 90 เห็นวาควรเปดเผยขอมูลของสมาชิกรัฐสภาใหสาธารณชนทราบ<br />

เพราะจะชวยลดปญหาการคอรัปชั่นได และเห็นวาการทําประชาพิจารณมีความจําเปนตอกระบวน<br />

การตัดสินใจในการกําหนดนโยบายของชาติ<br />

ประชาชนสวนใหญใหความสําคัญกับปากทองมากกวาประชาธิปไตย และกวารอยละ 90<br />

เห็นวาผูหญิงก็มีความสามารถในการเปนผูนําประเทศเชนเดียวกับผูชายและผูที่มีการศึกษานอยหรือ<br />

ไมมีการศึกษาก็สามารถแสดงความคิดเห็นทางการเมืองไดดีเทากับผูที่มีการศึกษาสูง<br />

สําหรับการทราบสิทธิของตนเองตามรัฐธรรมนูญนั้น ประชาชนกวารอยละ 80 ทราบสิทธิ<br />

ในการรักษาพยาบาลที่ดีและทั่วถึง และกวารอยละ 70 ทราบวาผูยากไรมีสิทธิไดรับการรักษาพยาบาล<br />

ฟรี และกวารอยละ 60 ทราบวามีสิทธิรวมดูแล รักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดลอมในทองถิ่น ในการนี้ ประชาชนเคยใชสิทธิรักษาพยาบาลถึงรอยละ 80 และใชสิทธิรวม<br />

ดูแล รักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถิ่น รอยละ 68 ในทาง<br />

ตรงกันขามประชาชนทราบสิทธิทางการเมืองนอยมาก เชน ทราบวามีสิทธิเขาชื่อเสนอเทศบัญญัติ<br />

146


หรือขอบัญญัติเพื่อใชในทองถิ่นเพียงรอยละ 28 ทราบวามีสิทธิเขาชื่อเสนอรางกฎหมาย รอยละ 38<br />

และทราบวามีสิทธิเขาชื่อถอดถอนนักการเมืองรอยละ 47-48 และเคยใชสิทธิทางการเมืองเชนเขาชื่อ<br />

เสนอรางกฎหมายและถอดถอนนักการเมืองไมถึงรอยละ 10 ซึ่งแสดงใหเห็นวาประชาชนสวนใหญ<br />

สนใจเกี่ยวกับสิทธิที่ใกลตัวมากกวาสิทธิในทางการเมือง<br />

เมื่อสอบถามความรูเกี่ยวกับรัฐสภา ประชาชนสวนใหญทราบวารัฐสภาประกอบดวย 2 สภา<br />

คือ สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา และสภาผูแทนราษฎรมีอํานาจตรวจสอบการทํางานของรัฐบาล<br />

โดยเปดอภิปรายไมไววางใจ โดยที่สามารถระบุชื่อสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในจังหวัดได อยางไร<br />

ก็ตาม ประชาชนสวนใหญไมสามารถระบุชื่อสมาชิกวุฒิสภาไดและไมทราบบทบาทอํานาจหนาที่<br />

ของวุฒิสภาวามีอยางไรบาง<br />

ประชาชนสวนใหญไมทราบชื่อประธานรัฐสภาและประธานวุฒิสภาคนปจจุบัน แตทราบชื่อ<br />

ผูนําฝายคาน<br />

ประชาชนมีความพึงพอใจตอบทบาทหนาที่ของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรมากที่สุดคือการ<br />

แสดงบทบาทการเปนผูแทนราษฎรเพื่อสะทอนความคิดเห็นและปกปองผลประโยชนใหประชาชน<br />

ในพื้นที่ และการใหความรูความเขาใจทางการเมืองแกประชาชน สวนพอใจนอยที่สุดไดแกการริเริ่ม<br />

เสนอกฎหมายของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร<br />

ประชาชนมีความพึงพอใจตอบทบาทหนาที่ของสมาชิกวุฒิสภามากที่สุดคือการอภิปราย<br />

ทั่วไปเพื่อใหคณะรัฐมนตรีแถลงขอเท็จจริงและชี้แจงปญหาเกี่ยวกับการบริหารราชการแผนดิน<br />

สวนพอใจนอยที่สุดไดแกการใชอํานาจในการถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนง<br />

5.1.2 การมีสวนรวมทางการเมือง<br />

ประชาชนสวนใหญ คือประมาณ 63% ยอมรับวาการประทวงเปนวิธีการที่ดีที่ประชาชน<br />

สามารถแสดงความคิดเห็นได เปนการมีสวนรวมทางการเมืองซึ่งเปนไปตามเจตนารมณรัฐธรรมนูญ<br />

ประชาชนเห็นดวยกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยที่เห็นวาการอภิปรายในสภา<br />

ทําใหการพิจารณาอนุมัติกฎหมายเปนไปดวยความรอบคอบรัดกุม ประชาชนมีสิทธิในการแสดง<br />

ความคิดเห็นไดโดยการชุมนุมหรือประทวง แตเรื่องการกระจายอํานาจนั้นประชาชนยังไมเขาใจ<br />

หลักการกระจายอํานาจอยางแทจริง โดยที่เห็นไดจากการที่ประชาชนคิดวานายกรัฐมนตรีเปน<br />

เสมือน หัวหนาครอบครัวที่จะดูแลปกปองประชาชน ประชาชนจึงตองการใหนายกรัฐมนตรีและ<br />

หรือรัฐบาลเปนผูตัดสินใจในเรื่องเกี่ยวกับทองถิ่น ซึ่งไมเปนไปตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ<br />

ที่ตองการใหกระจายอํานาจใหทองถิ่นปกครองตนเอง ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนขาดความรูความเขา<br />

ใจนั่นเอง ดังนั้น รัฐบาลและหนวยงานที่เกี่ยวของตองใหความรูความเขาใจเจตนารมณของ<br />

การกระจายอํานาจ ประชาชนจะไดรับประโยชนอะไรบาง เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นที่จะใหทองถิ่น<br />

ปกครองตนเอง<br />

147


ชองทางการมีสวนรวมของประชาชนคือ การไปใชสิทธิเลือกตั้ง โดยที่ประชาชนรอยละ<br />

96 ไปใชสิทธิเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาครั้งแรก และรอยละ 97 ไปใชสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทน<br />

ราษฎรครั้งแรก ซึ่งนับวาเปนจํานวนมากที่สุดครั้งหนึ่งเทาที่เคยมีการเลือกตั้งในประเทศไทย<br />

นอกจากนี้ เมื่อมีการเลือกตั้งใหมทั้งเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาและเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร<br />

ประชาชนก็ไปใชสิทธิเลือกตั้งใหมทุกครั้ง ถึงรอยละ 94.2 และหากมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทน<br />

ราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาในอนาคต ประชาชนก็จะไปใชสิทธิเลือกตั้งอีกถึงรอยละ 95.6 สาเหตุที่<br />

เปนที่เชนนี้เนื่องจากมีกฎหมายบังคับใหประชาชนไปใชสิทธิเลือกตั้งนั่นเอง<br />

ชองทางการมีสวนรวมทางการเมืองอื่นๆ ตามที่รัฐธรรมนูญกําหนด ไดแก การเขาชื่อเสนอ<br />

กฎหมายทั้งกฎหมายระดับทองถิ่นและกฎหมายระดับชาติ ประชาชนใชสิทธิดังกลาวนอยมาก<br />

กลาวคือ เคยใชสิทธิเขาชื่อเสนอรางกฎหมายเพียงรอยละ 9.5 เทานั้นทั้งนี้เนื่องจากประชาชนไมทราบ<br />

วามีสิทธิดังกลาว คือทราบวามีสิทธิเขาชื่อเสนอเทศบัญญัติหรือขอบัญญัติที่บังคับใชในทองถิ่น<br />

เพียงรอยละ 28.3 และทราบวามีสิทธิเขาชื่อเสนอรางกฎหมายเพียงรอยละ 38.2<br />

การเขาชื่อรองขอใหถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนง ประชาชนใชสิทธิดังกลาวนอยมาก<br />

กลาวคือ เคยใชสิทธิเขาชื่อรองขอใหถอดถอนเพียงรอยละ 6.3 เทานั้นทั้งนี้เนื่องจากประชาชน<br />

ไมทราบวามีสิทธิดังกลาว คือทราบวามีสิทธิเขาชื่อรองขอใหถอดถอนนักการเมือง รอยละ 48.6<br />

และทราบวามีสิทธิเขาชื่อรองขอใหถอดถอนนักการเมืองทองถิ่น 47.4<br />

จากการรวมคะแนนการสํารวจเรื่องการมีสวนรวม ซึ่งเปนผลจากการดําเนินกิจกรรมและ<br />

ความถี่กิจกรรม และนําคะแนนมาจัดกลุมของการมีสวนรวมและแบงเปน 3 กลุมคือ (1) กลุมที่สนใจ<br />

และมีสวนรวมนอยหรือกลุมผูดู (Onlooker) ไดแกกลุมที่ใหความสนใจตอขาวสาร และการ<br />

เปลี่ยนแปลงทางการเมือง แสดงตนเปนผูสนใจทางการเมืองโดยพูดคุยเรื่องการเมือง ไปลงคะแนนใน<br />

การเลือกตั้งระดับทองถิ่นและระดับชาติ พยายามชักจูงใหผูอื่นเห็นดวยกับจุดยืนทางการเมืองของตน<br />

และรวมประชาสัมพันธทางการเมือง (2) กลุมที่สนใจและมีสวนรวมปานกลางระดับผูมีสวนรวม<br />

(Participants) ไดแกกลุมที่มีการติดตอกับนักการเมือง เคยบริจาคเงินหรือสิ่งของเพื่อสนับสนุน<br />

ผูสมัครหรือพรรคการเมือง รวมชุมนุมฟงการหาเสียง/แนะนําตัว หรือเขารวมในเวทีสาธารณะ มีการ<br />

รวมตัวกับคนอื่นเปนกลุมผลประโยชนหรือเปนสมาชิกกลุม เปนสมาชิกพรรคการเมือง และการชวย<br />

รณรงคหาเสียงเลือกตั้ง (3) กลุมที่สนใจและมีสวนรวมสูงหรือระดับนักกิจกรรม (Activists) ไดแก<br />

การเปนผูนํากลุมผลประโยชน การมีตําแหนงและทํางานเต็มเวลาใหแกพรรคการเมือง การไดรับ<br />

เสนอชื่อใหเขาแขงขันเพื่อชิงตําแหนงทางการเมือง และการไดรับตําแหนงทางการเมือง ผลการศึกษา<br />

พบวาประชาชนผูตอบแบบสอบถามรอยละ 61.2 มีสวนรวมทางการเมืองในระดับสนใจและมีสวน<br />

รวมนอยหรือระดับผูดู รอยละ 50.4 มีสวนรวมทางการเมืองระดับสนใจและมีสวนรวมปานกลางหรือ<br />

ระดับผูมีสวนรวม รอยละ 47.3 และมีเพียงรอยละ 2.3 เทานั้นที่มีสวนรวมทางการเมืองในระดับสนใจ<br />

และมีสวนรวมมากหรือนักกิจกรรม<br />

148


5.1.3 ความคิดเห็นของประชาชนตอรัฐบาล<br />

นโยบายสวนใหญที่ประชาชนพอใจจะเปนนโยบายที่สงผลดีตอประชาชนโดยตรง อาทิ การ<br />

สงเสริมคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของประชาชน ผานนโยบายกูยืมเงินเพื่อการศึกษาการกระตุน<br />

เศรษฐกิจผานนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ กองทุนหมูบาน การสงเสริมการทองเที่ยว<br />

นอกจากนี้นโยบายจัดระเบียบทางสังคมก็ไดรับความพอใจอยางมาก สวนหนึ่งที่ทําใหนโยบายเหลานี้<br />

ไดรับความพอใจสูงเกิดจากผลจากการดําเนินนโยบายมีความเปนรูปธรรมที่เห็นไดชัด ขณะที่<br />

นโยบายที่ไดรับความพอใจรองลงมา เชน กระจายอํานาจ การปฏิรูปการศึกษา การปฏิรูป สาธารณสุข<br />

เปนนโยบายที่มีลักษณะเปนการปรับโครงสราง จึงคอนขางเปนเรื่องที่ไกลตัวประชาชน<br />

นโยบายที่ไดรับความพอใจในระดับรองลงมาหรือกลุมนโยบายที่มีระดับความพอใจต่ํากวา<br />

รอยละ 80 แตไมต่ํากวารอยละ 70 อันไดแก นโยบายธนาคารประชาชน การปราบปรามยาเสพติด<br />

สิ่งแวดลอม 30 บาทรักษาทุกโรค และการแกปญหาความยากจน ในกลุมนี้จะพบวาสวนใหญเปน<br />

นโยบายในดานสงเสริมคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของประชาชน อาทิ นโยบายดานสิ่งแวดลอม<br />

30 บาทรักษาทุกโรค การแกปญหาความยากจน นโยบายกระตุนเศรษฐกิจ ผานธนาคารประชาชน<br />

ปจจัยที่ทําใหความพอใจตอนโยบายเหลานี้รองลงมาอาจเปนเพราะผลจากนโยบายในกลุมนี้<br />

ตอบสนองตอประชาชนบางกลุม เชน นโยบายดานสิ่งแวดลอมเปนการแกปญหาแกผูที่ไดรับผล<br />

กระทบดานสิ่งแวดลอม นโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรค และธนาคารประชาชน ก็เปนนโยบายที่มีผล<br />

ตอคนยากจน แตไมมีผลตอคนกลุมอื่น<br />

นโยบายที่ไดรับความพอใจต่ํากวารอยละ 70 และต่ํากวาเมื่อเปรียบเทียบกับนโยบายดาน<br />

อื่นๆ ไดแก นโยบายปราบปรามคอรัปชั่น ปฏิรูประบบราชการ ปฏิรูปการเมือง แรงงานตางดาว และ<br />

แปรรูปรัฐวิสาหกิจ นโยบายในกลุมนี้เปนนโยบายปรับโครงสราง เชน การปฏิรูปราชการ ปฏิรูปการ<br />

เมือง แปรรูปรัฐวิสาหกิจ และจัดระเบียบและปราบปราม เชน ปราบปรามคอรัปชั่นและแรงงาน<br />

ตางดาว สาเหตุที่นโยบายในกลุมนี้ไดรับความพอใจนอย เกิดจากมีความคิดเห็นประชาชนสวนหนึ่งที่<br />

ไมเห็นดวยกับการดําเนินนโยบายเหลานี้ โดยเฉพาะในประเด็นการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แรงงาน<br />

ตางดาว และการปฏิรูปการเมือง ปฏิรูประบบราชการ<br />

กระทรวงที่ประชาชนพอใจตอการทํางานมากที่สุด 5 อันดับแรก ไดแก กระทรวงมหาดไทย<br />

(รอยละ 81.3) กระทรวงศึกษาธิการ (รอยละ76.6) กระทรวงสาธารณสุข (รอยละ 75.2) กระทรวง<br />

กลาโหม (รอยละ 66.7) และกระทรวงคมนาคม (รอยละ 66.7) จะเห็นไดวากระทรวง ในอันดับ 5 นี้<br />

เปนกระทรวงที่ดูแล รับผิดชอบ ดานบําบัดทุกข บํารุงสุข การศึกษา การสาธารณสุข การขนสง<br />

การสื่อ และความมั่นคงของชาติ ปจจัยสําคัญที่นาจะทําใหประชาชนพอใจตอบทบาทหนาที่ของ<br />

แตละกระทรวงขางตน พิจารณาไดจากนโยบายที่แตละกระทรวง ดูแล รับผิดชอบ อาทิ กระทรวง<br />

มหาดไทยที่ดูแลนโยบายจัดระเบียบสังคม ซึ่งนโยบายนี้แมจะกระทบตอผลประโยชนของคน<br />

149


บางกลุมบาง แตถือวาโดยภาพรวมไดรับการตอบรับเปนอยางดีจากประชาชน กระทรวงศึกษาธิการ<br />

ดูแลนโยบายกูยืมเพื่อการศึกษา (หากพิจารณาตารางความพอใจตอนโยบายของรัฐบาลจะพบวา<br />

นโยบายนี้ไดรับความพอใจสูงสุด) เชนเดียวกับกระทรวงสาธารณสุขที่ชูนโยบาย 30 บาทรักษา<br />

ทุกโรคมาตั้งแตเริ่มตั้งรัฐบาล จนเปนหนึ่งในนโยบายที่คุนหูและติดปากประชาชน และเปนที่วิพากษ<br />

วิจารณอยางกวางขวาง นาสังเกตวาสัดสวนความพอใจตอการทํางานของกระทรวงนี้แทบจะไม<br />

แตกตางจากความพอใจตอนโยบายดังกลาวเลย<br />

กระทรวงที่ประชาชนไมพอใจการทํางานมากที่สุด โดยที่มี 3 กระทรวงที่ประชาชนเกินกวา<br />

รอยละ 20 ไมพอใจการทํางาน ไดแก กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ไมพอใจรอยละ 24.5<br />

กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไมพอใจรอยละ 22.8 กระทรวงพาณิชย ไมพอใจรอยละ 22.0<br />

ซึ่งกระทรวงทั้งสามลวนมีความสําคัญตอชีวิตความเปนอยูในของประชาชน โดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

ประชาชนสวนใหญของประเทศซึ่งเปนเกษตรกรและผูใชแรงงาน ในสภาวะที่คนสวนใหญตองการ<br />

หลุดพนจากปญหาความตกต่ําของเศรษฐกิจแนนอนวาความคาดหวังที่มีตอกระทรวงเหลานี้ยอมสูง<br />

และหากไมปรากฏผลงานของกระทรวงที่โดดเดนมากพอโอกาสที่คนสวนใหญจะมีความไมพอใจ<br />

ยอมสูงตามไปดวย ทั้งนี้ สําหรับคณะรัฐมนตรีที่มี พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตรเปนนายกรัฐมนตรี<br />

ที่ผานมา ปรากฏชื่อรัฐมนตรีที่รับผิดชอบในทั้งสามกระทรวงถูกอภิปรายไมไววางใจ และหนึ่งในนั้น<br />

คือ นายประพัฒน ปญญาชาติรักษ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณถูกยื่นถอดถอน<br />

ออกจากตําแหนงดวย นอกจากนี้ ในการปรับคณะรัฐมนตรีครั้งลาสุดเพื่อรองรับการปฏิรูประบบ<br />

ราชการ นายอดิศัย โพธารามิก เปนรัฐมนตรีคนเดียวในสามกระทรวงนี้ที่ยังคงนั่งอยูในตําแหนง<br />

เดิม<br />

ประชาชนพึงพอใจการทํางานของนายกรัฐมนตรี รอยละ 87.4 พอใจการทํางานของรัฐบาล<br />

รอยละ 84.4 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับฝายนิติบัญญัติแลวจะเห็นไดวาประชาชนพึงพอใจการทํางานของ<br />

ฝายบริหารมากกวาฝายนิติบัญญัติ ดังจะเห็นไดจากการที่ประชาชนพึงพอใจการทํางานของรัฐสภา<br />

รอยละ 79.6 พึงพอใจการทํางานของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรรอยละ 76.1 พึงพอใจการทํางานของ<br />

สมาชิกวุฒิสภารอยละ 77.1 และพึงพอใจการทํางานของฝายคานรอยละ 74.3<br />

จากการสํารวจความเชื่อมั่นของประชาชน ปรากฎวานายกรัฐมนตรีและรัฐบาลไดรับความ<br />

เชื่อมั่นจากประชาชนในสัดสวนที่สูง คือรอยละ 88.5 และ 84.7 ตามลําดับ คิดเปนลําดับที่สามและสี่<br />

รองลงมาจากทหาร ซึ่งประชาชนมีความเชื่อมั่นถึงรอยละ 94 และเชื่อมั่นตอโทรทัศน รอยละ 92.3<br />

หากเปรียบเทียบกับฝายนิติบัญญัติแลว ปรากฎวาฝายบริหารไดรับความเชื่อมั่นจากประชาชนมากกวา<br />

ฝายนิติบัญญัติ ไดแก เชื่อมั่นตอสมาชิกรัฐสภาโดยรวม 81.8 เชื่อมั่นตอสมาชิกสภาผูแทนราษฎร<br />

รอยละ 79.7 เชื่อมั่นตอสมาชิกวุฒิสภา รอยละ 79.4 และเชื่อมั่นตอฝายคาน รอยละ 75.4<br />

อาจกลาวไดวา การทํางานของรัฐบาลชุดปจจุบันที่สะทอนผานความคิดเห็นของประชาชน<br />

ตอนโยบายและการทํางานของกระทรวงตางๆ นี้ โดยภาพรวมถือวาเปนที่พอใจของประชาชน<br />

150


โดยเฉพาะนโยบายเรงดวนที่มีการประชาสัมพันธอยางกวางขวางและไดดําเนินการไปบางแลว<br />

ยิ่งไปกวานั้น ประชาชนสวนใหญเห็นวารัฐบาลสามารถแกไขปญหาทางเศรษฐกิจและสังคมได<br />

โดยที่ประชาชนมีความเชื่อมั่นตอตัวนายกรัฐมนตรีและรัฐบาลสูงมาก แตอยางไรก็ตามยังไมสูงเทา<br />

กับทหารและโทรทัศนซึ่งประชาชนมีความเชื่อมั่นถึงกวารอยละ 90 ซึ่งเปนประเด็นที่นาสนใจมาก<br />

วาเหตุใดจึงเปนเชนนี้<br />

5.1.4 ความคิดเห็นของประชาชนตอองคกรอิสระ<br />

ผูวิจัยไดศึกษาถึงความคิดเห็นของประชาชนตอองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญและองคกร<br />

อื่นๆ อาทิ ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง ศาลยุติธรรม คณะกรรมการการเลือกตั้ง คณะกรรมการปอง<br />

กันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ผูตรวจการแผนดินของ<br />

รัฐสภา และสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซึ่งองคกรเหลานี้ถูกจัดตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญ<br />

และมีอํานาจหนาที่แตกตางกันแตลวนเปนไปเพื่อพิทักษสิทธิของประชาชน ตรวจสอบการใชอํานาจ<br />

รัฐ และเสริมสรางเสถียรภาพทางการเมือง อยางไรก็ดี องคกรเหลานี้เพิ่งมีการจัดตั้งมาไดไมนาน และ<br />

เริ่มปฏิบัติหนาที่ไปบางแลว ประชาชนเริ่มรูจักบาง การสํารวจความคิดเห็นของประชาชนตอองคกร<br />

เหลานี้ จึงถือวาเปนการประเมินผลการใชรัฐธรรมนูญไดอยางยิ่ง จากผลการศึกษาพบวา<br />

ประชาชนรูจักคณะกรรมการการเลือกตั้งมากที่สุด คือ รอยละ 74.4 ลําดับรองลงมา คือ ศาล<br />

ยุติธรรม ประชาชนรูจัก รอยละ 63.0 และลําดับที่สามไดแก คณะกรรมการปองกันและปราบปราม<br />

การทุจริตแหงชาติ ประชาชนรูจัก รอยละ 56.4 ลําดับที่สี่ไดแกศาลรัฐธรรมนูญ ประชาชนรูจักรอยละ<br />

56.0 และลําดับที่หาประชาชนรูจักรอยละ 51.6 ไดแก ศาลปกครอง สวนองคกรที่ประชาชนรูจัก<br />

นอยที่สุดสามลําดับสุดทาย ไดแก สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประชาชนรูจักรอยละ<br />

25.1 ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา ประชาชนรูจัก รอยละ 25.3 และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน<br />

แหงชาติ ประชาชนรูจัก รอยละ 26.2 เปนที่นาสังเกตวาองคกรที่ทําหนาที่พิทักษสิทธิของประชาชน<br />

แตประชาชนกลับไมรูจัก<br />

จะเห็นไดวา องคกรอิสระสวนใหญยังไมคอยเปนที่รูจักของประชาชนเทาที่ควร แตก็ไมอาจ<br />

สรุปไดในทันทีวาหาปแหงการมีรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันที่ผานมาลมเหลวในการมีองคกรอิสระ<br />

เนื่องจากตองเขาใจในประการหนึ่งวา องคกรอิสระทั้งหลายมิไดกําเนิดและทําหนาที่ไดทันทีเมื่อมี<br />

การประกาศใชรัฐธรรมนูญ หากแตองคกรอิสระตางๆ ลวนมีอายุการปฏิบัติงานที่คอนขางสั้น สามป<br />

บางสองปบางและบางองคกรเพิ่งจัดตั้งแลวเสร็จไมถึงหนึ่งป<br />

องคกรอิสระที่ประชาชนพึงพอใจในการทํางานมากที่สุด คือ คณะกรรมการการเลือกตั้ง<br />

โดยที่ประชาชนพอใจในการทํางานรอยละ 52.3 รองลงไปประชาชนพอใจการทํางานของศาล<br />

ยุติธรรม รอยละ 46.1 ศาลปกครองรอยละ 40.1 ศาลรัฐธรรมนูญรอยละ 38.6 และคณะกรรมการ<br />

ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) รอยละ 38.4 ซึ่งจะเห็นไดวาองคกรที่ประชาชนมี<br />

151


ความพึงพอใจในการทํางานมากกวารอยละ 50 มีเพียงองคกรเดียวคือ คณะกรรมการการเลือกตั้ง แตมี<br />

ผูมีความพึงพอใจเพียงรอยละ 52.3 เทานั้น<br />

องคกรอิสระที่ประชาชนพึงพอใจในการทํางานนอยที่สุด คือ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและ<br />

สังคมแหงชาติ ประชาชนพอใจการทํางานเพียงรอยละ 18.3 รองลงไปคือ ผูตรวจการแผนดินของ<br />

รัฐสภา ประชาชนพอใจการทํางานรอยละ 19.9 คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน (ค.ต.ง.) ประชาชน<br />

พอใจการทํางานรอยละ 21.1 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติประชาชนพอใจการทํางานรอยละ<br />

22.1 และคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ป.ป.ง.) ประชาชนพอใจการทํางาน<br />

รอยละ 24.9 ซึ่งจะเห็นไดวาประชาชนพึงพอใจตอองคกรเหลานี้นอยมาก คือไมถึงรอยละ 30 สาเหตุ<br />

ที่เปนเชนนี้เนื่องจากประชาชนสวนใหญไมรูจักองคกรอิสระตางๆ นั่นเอง อนึ่งผูวิจัยถามเฉพาะผูที่<br />

ตอบวารูจักองคกรเหลานั้นกอน แลวจึงถามความพึงพอใจ ผูที่ไมรูจักจะไมทําการตอบตอ<br />

เมื่อถามถึงความเชื่อมั่นของประชาชนตอองคกรอิสระตางๆ ปรากฎวา ประชาชนที่รูจักองค<br />

กรอิสระมีความเชื่อมั่นตอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติถึงรอยละ 85.3 เชื่อมั่นตอผูตรวจการ<br />

แผนดินของรัฐสภา รอยละ 80.0 เชื่อมั่นตอศาลปกครองรอยละ 79.7 เชื่อมั่นตอศาลยุติธรรมรอยละ<br />

75.0 และเชื่อมั่นตอศาลรัฐธรรมนูญรอยละ 74.3 สวนองคกรที่ประชาชนเชื่อมั่นนอยที่สุดสามลําดับ<br />

สุดทาย ไดแก คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ป.ป.ง.) ประชาชนเชื่อมั่นรอยละ<br />

66.8 คณะกรรมการการเลือกตั้ง ประชาชนเชื่อมั่นรอยละ 72.4 และคณะกรรมการปองกันและ<br />

ปราบปรามการทุจริต (ป.ป.ช.) ประชาชนเชื่อมั่นรอยละ 72.5<br />

กลาวโดยสรุป ประชาชนยังไมคอยรูจักองคกรอิสระมากนัก องคกรอิสระที่ประชาชนรูจัก<br />

มากสวนใหญเปนองคกรอิสระที่มีชื่อปรากฎผานสื่อตางๆ บอยครั้ง สาเหตุที่เปนเชนนี้ก็เปนไปตาม<br />

ผลการวิจัยที่วาประชาชนสวนใหญไดรับทราบขอมูลขาวสารดานการเมืองผานทางสื่อมวลชน<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งโทรทัศน ดังนั้น การที่องคกรอิสระจะทําประชาสัมพันธใหไดผลดี ควรทําการ<br />

ประชาสัมพันธทางโทรทัศน นอกจากนี้ ผลการสํารวจความพึงพอใจเปนที่นาสนใจอยางยิ่งและควร<br />

นําพิจารณาหาเหตุผล เนื่องจากองคกรอิสระที่ประชาชนพึงพอใจในการทํางานมากที่สุดไดแก<br />

คณะกรรมการการเลือกตั้ง ประชาชนพึงพอใจในการทํางานเพียงรอยละ 52.3 เทานั้น ดังนั้น องคกร<br />

อิสระมีภารกิจที่จําเปนรีบดวนในการประชาสัมพันธองคกรและผลงานประจําป ทั้งนี้ เพื่อให<br />

ประชาชนรูจักและพึงพอใจในการทํางานขององคกรอิสระ อันจะนํามาซึ่งความเชื่อมั่นตอองคกร<br />

อิสระตอไป<br />

5.1.5 ความสัมพันธของปจจัยตางๆ และความเชื่อมโยงกับเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ<br />

ผลการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมทางการเมือง ความพึงพอใจตอการทํางานของ<br />

รัฐบาล และความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ อันจะไดนําไปสูการทดสอบผลการศึกษาตามกรอบแนวคิด<br />

152


ของการศึกษาการบรรลุเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ สามารถสรุปความสัมพันธของปจจัยตางๆ ดัง<br />

แผนภาพตอไปนี้<br />

ภาพที่ 5.1<br />

ปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

ปจจัยทางเศรษฐกิจ - สังคม (+. 138 )<br />

การอาศัยอยูในเมือง - ชนบท (-. 161 )<br />

ความรูความเขาใจทางการเมือง (+. 198)<br />

การสนับสนุนตอระบบการเมือง<br />

ประสิทธิภาพทางการเมือง ( + . 073 )<br />

วัฒนธรรมแบบอํานาจนิยม<br />

การแบงแยกทางความคิด<br />

ความเชื่อมั่นตอระบบรัฐสภา<br />

การตรวจสอบทางการเมือง<br />

ความเชื่อมั่นในวิถีทางประชาธิปไตย<br />

คานิยมดั้งเดิม<br />

ความสนใจทางการเมือง (+. 121 )<br />

ความพอใจตอการทํา งานของรัฐบาล<br />

ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ (+. 076)<br />

การมีสวนรวม<br />

ทางการเมือง<br />

*( ) standardized coefficient<br />

จากการศึกษาปจจัยตางๆ และปจจัยที่คาดวาจะมีผลตอการมีสวนรวมทางการเมือง พบวา<br />

ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการมีสวนรวมทางการเมือง เรียงตามลําดับความสําคัญ ไดแก ความรูความเขาใจ<br />

ทางการเมือง การอาศัยอยูในเขตเมือง-ชนบท สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ขาวสารและความ<br />

สนใจทางการเมือง ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ และประสิทธิภาพทางการเมือง โดยที่ความรูเขาใจ<br />

ทางการเมือง สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม การไดรับขาวสารและความสนใจทางการเมือง<br />

ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ และประสิทธิภาพทางการเมืองมีความสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวน<br />

รวมทางการเมือง กลาวไดวา ประชาชนที่ไดรับขาวสาร สนใจ มีความรูความเขาใจทางการเมือง มี<br />

ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ และคิดวาพวกเขาสามารถมีอิทธิพลในทางการเมืองได จะทําใหมีสวน<br />

รวมทางการเมืองมากดวย<br />

153


ในขณะที่ปจจัยเกี่ยวกับความแตกตางกันของที่อยูอาศัยมีความสัมพันธเชิงลบกับการมีสวน<br />

รวมทางการเมือง แมวาระดับความรูความเขาใจทางการเมืองของคนเมืองจะสูงกวาก็ตาม กลาวคือ<br />

คนที่อาศัยอยูในชนบทจะมีสวนรวมทางการเมืองมากกวากลุมคนในเมือง<br />

ภาพที่ 5.2<br />

ปจจัยที่มีผลตอความพึงพอใจตอการทํางานของรัฐบาล<br />

ปจจัยทางเศรษฐกิจ - สังคม (+. 059 )<br />

การอาศัยอยูในเมือง - ชนบท<br />

ความรูความเขาใจทางการเมือง<br />

การสนับสนุนตอระบบการเมือง (+.165)<br />

ประสิทธิภาพทางการเมือง ( + . 053 )<br />

วัฒนธรรมแบบอํานาจนิยม (+. 052 )<br />

การแบงแยกทางความคิด<br />

ความเชื่อมั่นตอระบบรัฐสภา (+. 128)<br />

การตรวจสอบทางการเมือง<br />

ความเชื่อมั่นในวิถีทางประชาธิปไตย<br />

คานิยมดั้งเดิม<br />

ความสนใจทางการเมือง<br />

คว ามเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ (+. 293)<br />

ระดับการมีสวนรวมทางการเมือง<br />

ความพึงพอใจตอการ<br />

ทํางานของรัฐบาล<br />

*( ) standardized coefficient<br />

เมื่อศึกษาถึงที่มีอิทธิพลตอความพึงพอใจตอการทํางานของรัฐบาล พบวามีปจจัยที่มีอิทธิพล<br />

เรียงตามลําดับความสําคัญ ไดแก ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ การสนับสนุนตอระบบการเมือง<br />

สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ประสิทธิภาพทางการเมือง และการมีวัฒนธรรมแบบอํานาจนิยม<br />

โดยที่ความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ การสนับสนุนตอระบบการเมือง สถานภาพทางเศรษฐกิจและ<br />

สังคม ประสิทธิภาพทางการเมือง และการมีวัฒนธรรมแบบอํานาจนิยม มีความสัมพันธเชิงบวกกับ<br />

ความพึงพอใจตอการทํางานของรัฐบาล ซึ่งผลการศึกษานี้กลาวไดวา ประชาชนที่มีความเชื่อมั่นตอ<br />

การทํางานขององคกรอิสระ มีทัศนคติที่สนับสนุนตอระบบการเมือง มีความเชื่อมั่นตอระบบรัฐสภา<br />

มีสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมดี เห็นวาตนเองสามารถมีอิทธิพลทางการเมืองได รวมทั้งการมี<br />

154


วัฒนธรรมแบบอํานาจนิยม จะทําใหมีความพึงพอใจตอการทํางานของรัฐบาลมากดวย นอกจากนี้<br />

การที่ประชาชนที่เชื่อมั่นองคกรอิสระมากขึ้นเทาใดจะทําใหพวกเขามีความพอใจตอการทํางานของ<br />

รัฐบาลมากขึ้นนั้น เนื่องมาจากหากองคกรอิสระทํางานมีประสิทธิภาพโดยทําหนาที่คุมครองสิทธิของ<br />

ประชาชน ตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ จะทําใหรัฐบาลทํางานอยูในกรอบของรัฐธรรมนูญและมี<br />

ธรรมาภิบาลมากขึ้น จนเปนเหตุใหประชาชนพึงพอใจตอการทํางานของรัฐ<br />

ภาพที่ 5.3<br />

ปจจัยที่มีผลตอความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ<br />

ปจจัยทางเศรษฐกิจ -สังคม<br />

การอาศัยอยูในเมือง -ชนบท ( - . 095 )<br />

ความรูความเขาใจทางการเมือง<br />

การสนับสนุนตอระบบการเมือง (+. 164)<br />

ประสิทธิภาพทางการเมือง<br />

วัฒนธรรมแบบอํานาจนิยม<br />

การแบงแยกทางความคิด<br />

ความเชื่อมั่นตอระบบรัฐสภา<br />

การตรวจสอบทางการเมือง<br />

ความเชื่อมั่นในวิถีทางประชาธิปไตย<br />

คานิยมดั้งเดิม (+. 086 )<br />

ความสนใจทางการเมือง<br />

ระดับการมีสวนรวมทางการเมือง (+. 071)<br />

ความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล ( +.295)<br />

ความ เชื่อมั่นตอ<br />

องคกรอิสระ<br />

*( ) standardized coefficient<br />

ป ัจจัยที่มีอิทธิพลตอความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระเรียงตามลําดับความสําคัญ ไดแก ความพอ<br />

ใจตอการทํางานของรัฐบาล การสนับสนุนตอระบบการเมือง การอาศัยอยูในเมือง-ชนบท การมีคา<br />

นิยมแบบดั้งเดิม และระดับการมีสวนรวมทางการเมืองโดยที่ความพอใจตอการทํางานของรัฐบาล<br />

การสนับสนุนตอระบบการเมือง คานิยมแบบดั้งเดิม และระดับการมีสวนรวมทางการเมือง มีความ<br />

สัมพันธเชิงบวกกับความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ ซึ่งกลาวไดวา ประชาชนที่มีความพอใจตอการ<br />

155


ทํางานของรัฐบาล มีทัศนคติที่สนับสนุนตอระบบการเมืองที่เปนอยู มีคานิยมแบบดั้งเดิม และเขามี<br />

สวนรวมทางการเมืองสูงขึ้น จะทําใหมีความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระมากดวย<br />

นอกจากนี้ ปจจัยเกี่ยวกับความแตกตางกันของที่อยูอาศัยมีความสัมพันธเชิงลบกับความเชื่อ<br />

มั่นตอองคกรอิสระ กลาวคือ คนที่อาศัยอยูในชนบทจะมีความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระมากกวากลุมคน<br />

ที่อาศัยอยูในเมือง<br />

จากผลการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมทางการเมือง ความพึงพอใจตอการทํางาน<br />

ของรัฐบาล และความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระ สามารถบูรณาการความสัมพันธของปจจัยตางๆ เชื่อม<br />

โยงกับเจตนารมณของรัฐธรรมนูญไดดังแผนภาพตอไปนี้<br />

ภาพที่ 5.4<br />

บูรณาการความสัมพันธของปจจัยตางๆ และความเชื่อมโยงกับเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ<br />

ประสิทธิภาพ<br />

ทางการเมือง<br />

วัฒนธรรม<br />

อํานาจนิยม<br />

ปจจัยทางสังคม<br />

และเศรษฐกิจ<br />

(+. 053)<br />

(+ . 073)<br />

(+ .138)<br />

ขาวสารและ<br />

การรับรู<br />

(+ .052)<br />

(+ .059)<br />

ความเชื่อมั่นตอ<br />

ระบบรัฐสภา<br />

ความพอใจตอการ<br />

ทํางานของรัฐบาล<br />

(+ .121)<br />

(+ .128)<br />

การมีสวนรวม<br />

ทางการเมือง<br />

ความรูความเขาใจ<br />

ทางการเมือง<br />

(+ .071)<br />

การสนับสนุนตอ<br />

ระบบการเมือง<br />

(+ .165)<br />

(+ .164)<br />

(+ .295)<br />

(+ .076)<br />

(+ .198)<br />

(- .161)<br />

ความเชื่อมั่นตอ<br />

องคกรอิสระ<br />

การอาศัยอยูใน<br />

เมือง-ชนบท<br />

(+ .086)<br />

(- .095)<br />

คานิยมดั้งเดิม<br />

*( ) standardized coefficient<br />

156


ผลจากการบูรณาการปจจัยตางๆ เชื่อมโยงกับเจตนารมณของรัฐธรรมนูญสะทอนใหเห็นถึง<br />

สิ่งที่ควรใหความสําคัญเพื่อการบรรลุเจตนารมณของรัฐธรรมนูญหลายประการ โดยเฉพาะการให<br />

ความรูความเขาใจทางการเมืองแกประชาชน โดยอาศัยชองทางผานสื่อที่มีประสิทธิภาพ ดวยขอมูลที่<br />

แมนยําและเปนกลางซึ่งมีผลโดยตรงตอการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนใหกวางขวางขึ้น<br />

และเมื่อประชาชนมีระดับการมีสวนรวมทางการเมืองที่สูงก็มีแนวโนมที่จะใหความเชื่อมั่นตอองคกร<br />

อิสระ ทําใหองคกรอิสระมีความเขมแข็งและสามารถทําหนาที่เปนกลไกเพื่อสรางความสุจริตโปรง<br />

ใสใหกับระบบการเมืองไดอยางแทจริง ในขณะเดียวกันองคกรอิสระตางๆ จะตองแสดงบทบาทและ<br />

ทําหนาที่ของตนเองใหชัด ใหสมกับเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะในแงของการเปนองคกร<br />

ตรวจสอบการใชอํานาจ ตลอดจนการเปนองคกรที่มีการประชาสัมพันธ เผยแพร ใหความรูเกี่ยวกับ<br />

การเมืองใหมภายใตรัฐธรรมนูญ ใหประชาชนตระหนักถึงความสําคัญและไดรับทราบชองทางที่<br />

สามารถเขาถึงระบบการเมืองที่เปดกวางมากกวาในอดีต ประชาชนก็จะใหความเชื่อมั่นตอองคกร<br />

อิสระทั้งหลายมากขึ้น และเปนการสงเสริมระบบการเมืองแบบมีสวนรวมในทางกลับกันดวย<br />

สําหรับความพึงพอใจตอการทํางานของรัฐบาลนั้น หากรัฐสภาปฏิบัติหนาที่ไดอยางมีประ<br />

สิทธิภาพ ประชาชนมีความเชื่อมั่นในการทํางานในหนาที่ฝานิติบัญญัติที่คอยตรวจสอบรัฐบาลแลว<br />

รัฐบาลก็จะไดรับความพอใจจากประชาชนมากดวย<br />

นอกจากนี้ การมีสวนรวมในทางการเมืองจัดเปนปจจัยสําคัญ แตการที่ประชาชนมีระดับการ<br />

มีสวนรวมทางการเมืองที่สูงมิไดสะทอนภาพดานดีเพียงอยางเดียว หากแตมีสิ่งพึงระวังที่อาจติดตาม<br />

มาดวย ซึ่งผลการวิจัยนี้พบวา การที่คนตัดสินใจเขามีสวนรวมทางการเมืองมากขึ้น อาจมีสาเหตุจาก<br />

ความไมเชื่อมั่นในประสิทธิภาพทางการเมือง อันเปนประสบการณที่มีใหเห็นในอดีต โดยเปนการจัด<br />

การปญหาดวยพลังของประชาชนที่ออกมาชุมนุมเรียกรอง ซึ่งถือเปนดานดีที่สะทอนใหเห็นความ<br />

ตระหนักในสิทธิเสรีภาพ และการมีสวนรวมของประชาชน หากทวาการแสดงออกเพื่อแกปญหานี้<br />

ขาดซึ่งความเขาใจระหวางกันก็อาจนําไปสูความรุนแรง และความเสียหายได เจตนารมณที่มุงสราง<br />

การเมืองแบบมีสวนรวมอาจถูกบิดเบือนและมิใชสิ่งที่พึงปรารถนา ดังนั้น ในการสงเสริมใหประชา<br />

ชนมีสวนรวมทางการเมืองเพิ่มมากขึ้นนั้น ผูเกี่ยวของทุกฝายตองรวมกันผลักดันการเมืองที่สงเสริม<br />

การมีสวนรวม โดยเนนระบบการเมืองที่กระจางชัด โปรงใสไมปดบังอําพราง สามารถตอบคําถาม<br />

สาธารณะไดทุกเรื่อง เปนการเมืองที่ไมเห็นแกพวกพองและไมผูกขาดอํานาจไวที่คนกลุมใดกลุมหนึ่ง<br />

ทั้งนี้ ตองแสดงใหเปนที่มั่นใจไดวาเปนระบบการเมืองของประชาชนทุกคน และการเลือกตั้งตามวิถี<br />

ทางของการปกครองระบอบประชาธิปไตยจะนําไปสูการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นได<br />

นอกจากนี้ แมวาวัฒนธรรมแบบอํานาจนิยมจะเปนวัฒนธรรมที่สวนทางกับวัฒนธรรมแบบ<br />

ประชาธิปไตย แตตองยอมรับวาวัฒนธรรมแบบนี้เปนลักษณะเฉพาะของสังคมไทย ที่ใหความสําคัญ<br />

กับผูนํา การจัดการปญหาแบบเด็ดขาด รวดเร็ว ทันใจ รวมทั้งไมตองการใหมีความคิดเห็นที่แตกตาง<br />

จากคนสวนใหญ ดังนั้น ผูเขามาดํารงตําแหนงสําคัญๆ ในรัฐบาลจะตองตระหนักถึงลักษณะเฉพาะ<br />

157


ทางวัฒนธรรมอันนี้ โดยสรางความเปนมืออาชีพดวยการคิด ตัดสินใจและลงมือปฏิบัติงานดวยความ<br />

เฉียบขาด รวดเร็ว และคํานึงถึงความตองการของคนสวนใหญเปนหลัก ซึ่งความรวดเร็ว เฉียบขาดนี้<br />

มิใชการกระทําดวยความรวบรัดตัดตอนหรือทําตามอําเภอใจ แตจะตองเปนไปตามครรลองที่ถูกตอง<br />

ตามหลักการ มิฉะนั้น ประชาชนก็อาจจะยินดีใหอํานาจเด็ดขาดอื่นเขามาจัดการกับความไมชอบ<br />

ธรรมที่เกิดขึ้นนั้นก็ได (จากการศึกษาของสถาบันพระปกเกลา) ซึ่งไมเปนผลดีตอเจตนารมณของ<br />

รัฐธรรมนูญที่มุงสงเสริมเสถียรภาพของรัฐบาล<br />

สําหรับปจจัยเกี่ยวกับความเชื่อมั่นตอประสิทธิภาพทางการเมืองนั้น พบวามีความสัมพันธ<br />

เชิงลบกับความพึงพอใจตอการทํางานของรัฐบาล กลาวคือคนที่เห็นวาระบบการเมืองเปนเรื่องซับ<br />

ซอนยากแกการเขาใจ รวมทั้งเปนเรื่องเฉพาะของคนบางกลุมที่คนธรรมดาเขาไปมีอิทธิพลไดนอยจะ<br />

พอใจตอการทํางานของรัฐบาลมาก อาจกลาวไดวาเปนความพอใจที่เกิดขึ้นในสภาวะที่ประชาชนรอ<br />

รับประโยชนโดยยอมใหคนอื่นคือรัฐบาลคิดแทนตน มากกวาเปนความพอใจที่เกิดขึ้นจากการเขาใจ<br />

สภาพปญหาและความตองการของตนและทองถิ่น แลวพยายามผลักดันใหเกิดการสนองตอบ รัฐบาล<br />

จึงเปนที่ซึ่งประชาชนที่มีทัศนคติทางการเมืองเชนนี้ฝากความหวังใหเปนผูจัดการปญหาตางๆ แทน<br />

ดังนั้น แมวารัฐบาลจะทํางานไดเปนที่พอใจของประชาชน แตก็ยังคอนขางนาเปนหวง และเกิดขึ้น<br />

จากพื้นฐานทางความคิดที่ไมเกื้อหนุนตอกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตย<br />

5.2 ขอเสนอแนะ<br />

จากบทสรุปดังกลาวขางตน คณะผูวิจัยพิจารณาและมีขอเสนอแนะเพื่อใหบรรลุเจตนารมณ<br />

ของรัฐธรรมนูญ ในเรื่องของการสรางการมีสวนรวมของประชาชน และการทําใหการเมืองมีเสถียร<br />

ภาพ ดังตอไปนี้<br />

เนื่องจากความรูความเขาใจทางการเมืองเปนปจจัยสําคัญของการเสริมสรางการมีสวนรวม<br />

ในทางการเมือง และจากการศึกษาพบวาประชาชนยังขาดความรูความเขาใจทางการเมืองอยู ดังนั้น<br />

ควรมีแนวทางในการเสริมสรางความรูและทัศนคติที่ดีตอประชาชน ดังนี้<br />

(1) ใหความรูและเสริมสรางทัศนคติที่ดีแกประชาชนและผูบริหารทองถิ่น และปลูกฝงคา<br />

นิยมแบบประชาธิปไตย<br />

(1.1) รัฐบาลและหนวยงาน/สถาบันทางวิชาการตางๆ ควรใหความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ<br />

การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย เจตนารมณของรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะเรื่อง<br />

การกระจายอํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น และสิทธิและหนาที่ของประชาชนซึ่งเปนประเด็น<br />

ที่ประชาชนมีความรูนอยที่สุด<br />

(1.2) รัฐบาลและหนวยงาน/สถาบันทางวิชาการตางๆ ควรจัดหลักสูตรเกี่ยวกับสิทธิและ<br />

หนาที่ของชนชาวไทย โดยเนนในเรื่องสิทธิทางการเมืองและการมีสวนรวมของประชาชนตาม<br />

158


รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ผลดีและผลเสียของการใชสิทธิและไมใชสิทธิทางการเมือง ทั้งนี้เพื่อให<br />

ตระหนักถึงสิทธิหนาที่ของตนเองและเขามาใชสิทธิของตนเองใหมากยิ่งขึ้น<br />

(1.3) การใหขอมูลขาวสารทางการเมือง ฝายสื่อตางๆ สถาบันการศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยว<br />

ของควรปลูกฝงคานิยมแบบประชาธิปไตยแกประชาชน เยาวชน กลุมตางๆ อยางทั่วถึง<br />

ขอสังเกตในการดําเนินการใหความรูและจัดหลักสูตรเพื่อการศึกษาทั้งในระบบและนอก<br />

ระบบมีดังนี้<br />

- แบงการดําเนินการเปน 2 ระยะ โดยที่ระยะเริ่มแรกควรกําหนดกลุมเปาหมายเปนผูบริหาร<br />

ทองถิ่น ผูนําทองถิ่น และปราชญชาวบาน เพื่อใหบุคคลเหลานี้นําความรูไปเผยแพรตอไป ทั้งนี้เนื่อง<br />

จากผลการศึกษาวิจัยพบวาประชาชนรับทราบขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้งจากผูนําทองถิ่น และ<br />

ประชาชนมักจะเชื่อถือใหไววางใจในบุคคลดังกลาว<br />

ระยะที่สอง ขยายกลุมเปาหมายใหกวางขวางยิ่งขึ้น โดยดําเนินการรวมกับผูบริหารทองถิ่น<br />

ผูนําทองถิ่น และปราชญชาวบาน<br />

- การดําเนินการตองรวมมือกันระหวางรัฐบาลและหนวยงาน/สถาบันทางวิชาการตางๆ เพื่อ<br />

ใหมีพลังและเปนไปในแนวทางเดียวกัน โดยใหรัฐบาลเปนเจาภาพ<br />

- ควรมีการประเมินผลการดําเนินโครงการทั้งกอนและหลังการดําเนินโครงการ และทําสรุป<br />

ปญหาอุปสรรคตางๆ เพื่อใชเปนแนวทางการดําเนินโครงการตอๆ ไป<br />

- เนื่องจากประชาชนติดตามขาวสารทางการเมืองทางโทรทัศนมากที่สุด ขอมูลขาวสารที่<br />

เสนอทางโทรทัศนจึงควรถูกตอง เปนกลาง และพอเพียงที่จะทําใหประชาชนมีความรูความเขาใจใน<br />

ทางการเมือง นอกจากนี้ ประชาชนจํานวนมากรับทราบขอมูลจากปายประชาสัมพันธและผูนําทอง<br />

ถิ่น ขอมูลที่ผูนําทองถิ่นมีจึงมีความสําคัญเพื่อใหสื่อสารแกประชาชนไดถูกตอง<br />

(2) เสริมสรางความสามารถในการเขามีสวนรวมในทางการเมืองของประชาชนโดยปรับปรุง<br />

แกไขหลักเกณฑและชองทางในการเขามีสวนรวมของประชาชนใหงาย สะดวก รวดเร็ว ประหยัด<br />

ตลอดจนการสรางชองทางในการรวมรับรูขอมูลขาวสารทางการเมือง การสนับสนุนใหประชาชนเขา<br />

รวมกิจกรรมทางการเมืองไมวาจะเปนการรวมกิจกรรมกับหนวยงานตางๆ ของรัฐ เอกชนหรือพรรค<br />

การเมือง โดยที่รัฐตองมีงบประมาณในสวนนี้และใหการสนับสนุนงบประมาณอยางพอเพียงตอการ<br />

ทํางานดานนี้ขององคกรตางๆ ที่เกี่ยวของ อีกทั้งพยายามขจัดปญหาอุปสรรคตอการมีสวนรวมของ<br />

ประชาชน เชน<br />

- การเขาชื่อเสนอรางกฎหมาย และการเขาชื่อเสนอใหถอดถอนนักการเมืองและผูบริหาร<br />

ระดับสูง ประชาชนที่ริเริ่มจะตองรับภาระคาใชจายทั้งหมดเปนจํานวนมาก ตองแกไขใหลดนอยลง<br />

หรือใหรัฐรับภาระคาใชจายดังกลาว<br />

159


- การไปใชสิทธิเลือกตั้ง รัฐบาลและคณะกรรมการการเลือกตั้งตองอํานวยความสะดวก<br />

ในการไปใชสิทธิเลือกตั้ง เชน จัดใหมีหนวยเลือกตั้งกลางสําหรับประชาชนซึ่งอยูนอกภูมิลําเนาไดใช<br />

สิทธิเลือกตั้ง ณ ที่อยูอาศัย<br />

- การติดตอกับองคกรอิสระ อาทิ การใชสิทธิฟองรองตอศาลปกครอง ควรปรับปรุงให<br />

ประชาชนสามารถใชสิทธิไดโดยสะดวก ไมมีขั้นตอนที่ยุงยากซับซอนมาก<br />

ทั้งนี้ ในการปรับปรุงแกไขหลักเกณฑ วิธีการในการเขามีสวนรวมของประชาชนดังกลาว<br />

ขางตน จําเปนจะตองมีการศึกษาวิจัยอยางละเอียดรอบคอบ และตองดําเนินการอยางเปนระบบ สิ่งใด<br />

ที่กอใหเกิดปญหาตองแกไขไมวาจะเปนกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับตางๆ ก็ตาม ซึ่งใน<br />

รายละเอียดนั้น โปรดศึกษาจากรายงานวิจัยในชุดโครงการวิจัยติดตามและประเมินผลบังคับใช<br />

รัฐธรรมนูญของสถาบันพระปกเกลา<br />

(3) การสนับสนุนกิจกรรมที่เสริมสรางการมีสวนรวมในทางการเมือง อาทิ รัฐบาลโดย<br />

กระทรวง ทบวง กรม และหนวยงานที่เกี่ยวของ ควรจัดใหมีรางวัลทองถิ่นดีเดน โดยที่ประเมินผล<br />

จากการมีสวนรวมดานตางๆ ของประชาชนในแตละทองถิ่น เพื่อใหประชาชนตระหนักและตื่นตัวที่<br />

จะเขามีสวนรวมดานตางๆ ซึ่งอาจเปนการเพิ่มงบประมาณใหกับทองถิ่นที่มีระดับการมีสวนรวมของ<br />

ประชาชนสูงหรือผานเกณฑ<br />

(4) รัฐบาลจะตองมีการรวบรวม สํารวจและวิเคราะหความตองการของประชาชนอยางเปน<br />

ระบบ เพื่อจะไดจัดทํานโยบายและใหบริการสาธารณะไดอยางมีประสิทธิภาพ เหมาะสมและสอด<br />

คลองกับความตองการของประชาชน ทั้งนี้เพราะรัฐบาลที่เหมาะกับสภาพการณปจจุบัน คือรัฐบาลที่<br />

มุงนําพาประเทศไปในทิศทางแบบประชาธิปไตย เปนรัฐบาลที่สงเสริมใหระบบการเมืองเปนระบบ<br />

แบบเปดที่ประชาชนสามารถเขามีอิทธิพล/บทบาทในระบบการเมืองได โดยเฉพาะนโยบายตางๆ<br />

ของรัฐบาลจะตองอยูบนพื้นฐานความตองการของประชาชน มิใชนโยบายที่รัฐคิดแทนแลวจัดใหดัง<br />

เชนในอดีต นอกจากนี้ นโยบายตางๆ ตองทําใหเปนจริงและเกิดผลเปนรูปธรรม เพราะจากการศึกษา<br />

พบวานโยบายของรัฐบาล ยังมีนโยบายที่ประชาชนมีความพอใจนอยเพราะยังไมเห็นรูปธรรม เชน<br />

นโยบายดานการปฏิรูประบบการศึกษา ราชการ และการเมือง ตลอดจนนโยบายการจัดการกับความ<br />

ยากจน สวนนโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจนั้นควรผานความเห็นชอบของประชาชนดวย<br />

(5) เนื่องจากประชาชนยังรูจักองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญนอยมาก องคกรอิสระจึงควรเรง<br />

ดําเนินการดังตอไปนี้<br />

160


(5.1) ประชาสัมพันธองคกรในทุกรูปแบบในเชิงรุก โดยที่เนนเรื่องประโยชนที่ประชาชนจะ<br />

ไดรับจากองคกรอิสระ โครงสรางองคกร อํานาจหนาที่ ชองทางการติดตอองคกร ตลอดจนผลการ<br />

ดําเนินงานในแตละป ซึ่งอาจดําเนินกิจกรรมโดยจัดทําโครงการตางๆ ในเชิงรุก เชน<br />

- จัดโครงการองคกรอิสระพบประชาชนโดยที่ใหมีองคกรอิสระตางๆ เขารวมโครงการ<br />

เพื่อแนะนําองคกรและรับเรื่องจากประชาชนในพื้นที่<br />

- จัดโครงการรวมระหวางองคกรอิสระกับประชาชน โดยที่ใหประชาชนเขามีสวนรวมใน<br />

ภารกิจขององคกรอิสระดวย<br />

องคกรอิสระที่จําเปนจะตองดําเนินกิจกรรมในลักษณะดังกลาวขางตน ไดแก องคกรอิสระ<br />

ที่มีอํานาจหนาที่ในการปกปองคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน และองคกรอิสระที่มีอํานาจ<br />

หนาที่ในการสะทอนความคิดเห็นความตองการของประชาชน เพราะการดําเนินงานขององคกร<br />

อิสระดังกลาวจะประสบความสําเร็จและบรรลุเจตนารมณรัฐธรรมนูญได ประชาชนมีสวนสําคัญเปน<br />

อยางยิ่ง<br />

องคกรอิสระที่มีอํานาจหนาที่ในการปกปองคุมครองสิทธิเสรีภาพและสะทอนความคิดเห็น<br />

ความตองการของประชาชนซึ่งตองเรงดําเนินโครงการดังกลาวขางตนไดแก คณะกรรมการสิทธิ<br />

มนุษยชนแหงชาติ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ<br />

ทั้งนี้เนื่องจากผลการศึกษาวิจัยพบวาประชาชนรูจักองคกรดังกลาวเพียงไมถึงรอยละ 30 ซึ่งนับวา<br />

เปนสัดสวนที่นอยมาก<br />

(5.2) องคกรอิสระตองปฏิบัติหนาที่อยางโปรงใสมีธรรมาภิบาลเพื่อใหประชาชนเชื่อมั่นใน<br />

การทํางาน โดยเฉพาะองคกรอิสระที่ทําหนาที่ตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ เพราะตราบใดที่องคกร<br />

อิสระทําหนาที่ไดดีประชาชนจะเชื่อมั่น และความเชื่อมั่นตอองคกรอิสระมีความสัมพันธเชิงบวกกับ<br />

การมีสวนรวมในทางการเมือง ซึ่งทั้งสองปจจัยนี้เสริมสรางความเขมแข็งใหกันและกัน<br />

สิ่งที่องคกรอิสระทั้งหลายพึงดําเนินการโดยเรงดวนก็คือการประชาสัมพันธองคกร ใหเปนที่<br />

รูจักของประชาชน ใหทราบถึงบทบาทอํานาจหนาที่ ความสําคัญตอระบบการเมือง และประโยชนตอ<br />

ประชาชน รวมถึงการประชาสัมพันธเกี่ยวกับชองทางที่ประชาชนจะสามารถเขาถึงองคกรอิสระนั้นๆ<br />

ไดสะดวก รวดเร็วและไดรับการสนองตอบอยางทั่วถึงและเปนธรรม ทั้งนี้ ผลการศึกษาในเรื่องความ<br />

เชื่อมั่นไดแสดงใหเห็นชัดเจนแลววา ประชาชนสวนใหญที่รูจักองคกรอิสระนั้นๆ จะมีความเชื่อมั่น<br />

ตอองคกรดังกลาวในระดับที่นาพอใจ โดยเฉพาะองคกรอิสระที่มีบทบาทในการสงเสริมสิทธิเสรีภาพ<br />

และสรางความเปนธรรมใหแกประชาชนโดยรวมที่ประชาชนดูจะฝากความหวังไวมากที่สุด<br />

(6) สื่อมวลชนตองมีธรรมาภิบาลในการทําหนาที่อยางจริงจัง โดยเฉพาะโทรทัศนควรนํา<br />

เสนอขอมูลขาวสารที่ถูกตองและเปนกลาง เนื่องจากผลการศึกษาวิจัยพบวาประชาชนรับทราบขอมูล<br />

ขาวสารทางการเมืองจากโทรทัศน<br />

161


บรรณานุกรม<br />

ภาษาไทย<br />

โคทม อารียา. “การมีสวนรวมของประชาคมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร,” ใน คูมือ<br />

บอ. และ อสร. เลือกตั้ง สมาชิกสภาผูแทนราษฎร. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการ<br />

การเลือกตั้ง, 2543.<br />

จรูญ สุขภาพ. หลักรัฐศาสตร ฉบับพิสดาร: แนวคิดทฤษฎีประยุกต. กรุงเทพฯ: บริษัทสํานักพิมพ<br />

ไทยวัฒนาพาณิช, 2515.<br />

เจมส แอล เครตัน. คูมือการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการตัดสินใจของชุมชน. แปลโดย<br />

ศ.นพ.วันชัย วัฒนศัพท. นนทบุรี: ศูนยสันติวิธีเพื่อการพัฒนาประชาธิปไตย, 2543.<br />

เดโช สวนานนท. จดหมายเหตุฉบับยอ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. ใน<br />

รวมสาระรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน. กรุงเทพฯ : บริษัทพิฆเณศ พริ้นติ้งเซ็นเตอร จํากัด<br />

, 2541.<br />

ดํารง ดีสกุล. “การสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมทางการเมือง: ศึกษากรณีการใหรางวัลในการมา<br />

ใชสิทธิเลือกตั้ง” วิทยานิพนธมหาบัณฑิต ภาควิชาการปกครอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

,2522.<br />

แถมสุข นุมนนท. สภารางรัฐธรรมนูญ : เสนทางการปฏิรูปการเมืองไทย. กรุงเทพฯ : บริษัท<br />

ธรรมดาเพรส จํากัด, 2545.<br />

ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร. “ประชาสังคมและสิทธในการไมเชื่อฟงรัฐของประชาชน,” ใน จุดจบรัฐ<br />

ชาติสูชุมชนาธิปไตย, พิทยา วองกุล (บก.), โครงการวิถีทรรศน ชุดโลกาภิวัตน ลําดับที่ 2,<br />

กรุงเทพฯ : อมรินทร พริ้นติ้ง แอนด พลับลิชชิ่ง, 2540 :67-81.<br />

เชาวนะ ไตรมาศ. ขอมูลพื้นฐาน 66 ป ประชาธิปไตย. กรุงเทพมหานคร: บ.สุขุมและบุตร จํากัด,<br />

2542.<br />

162


นคร พจนวรพงษ และอุกฤษ พจนวรพงษ. ขอมูลประวัติศาสตรการเมืองไทย, พิมพครั้งที่ 2.<br />

กรุงเทพฯ : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช, 2543.<br />

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. ภาพรวมของรัฐธรรมนูญฉบับใหม ใน รวมสาระรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน.<br />

กรุงเทพฯ : บริษัทพิฆเณศ พริ้นติ้งเซ็นเตอร จํากัด, 2541.<br />

และคณะ. “รายงานการศึกษาวิจัยเรื่องบทเรียนจากการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเพื่อปรับปรุง<br />

ระบบการเลือกตั้งใหดีขึ้น.” สถาบันพระปกเกลา สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุน<br />

สนับสนุนการวิจัย, 2543.<br />

และปทมา สูบกําปง. บทบาทและอํานาจหนาที่ของวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญแหงราช<br />

อาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540.พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกลา, 2543.<br />

บุญเลิศ คธายุทธเดช (ชางใหญ) และประยงค คงเมือง, บรรณาธิการ. รวมสาระรัฐธรรมนูญ<br />

ฉบับประชาชน, พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมติชน,2541.<br />

ปรัชญา เวสารัชช. รายงานการวิจัยการมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมเพื่อพัฒนาชนบท.<br />

กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2528.<br />

ประชัน รักพงษ และ รักฎา บรรเทาสุข. “รายงานการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2543 จังหวัด<br />

เชียงใหม.” โครงการวิจัยเรื่องพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2543. สถาบัน<br />

พระปกเกลา, 2543.<br />

ถวิลวดี บุรีกุล และ โรเบิรต บี อัลบริททัน. “ความตอเนื่องของประชาธิปไตยในประเทศไทย:<br />

การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา 2543,” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการสมาคมรัฐศาสตร<br />

และรัฐประศาสนศาสตรแหงประเทศไทย. 8-10 ธันวาคม 2543, สถาบันพระปกเกลา.<br />

2543.<br />

ธีรพล เกษมสุวรรณ. “ความรูสึกเมินหางทางการเมืองกับการมีสวนรวมทางการเมืองใน<br />

กรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาปกครอง จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย, 2528.<br />

163


ธงชัย วงศชัยสุวรรณ และเทียนชัยวงศชัยสุวรรณ. “รายงานการวิจัย เรื่อง การมีสวนรวมทางการ<br />

เมืองของประชาชนชั้นกลาง.” กรุงเทพฯ: กองการพิมพ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทน<br />

ราษฎร, 2543.<br />

พงศเทพ เทพกาญจนา. ศาลตามรัฐธรรมนูญฉบับปจุบัน ใน รวมสาระรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน.<br />

กรุงเทพฯ : บริษัทพิฆเณศ พริ้นติ้งเซ็นเตอร จํากัด, 2541.<br />

วิษณุ วรัญู. รายงานการวิจัยเรื่ององคกรของรัฐที่เปนอิสระ. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุน<br />

สนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2538.<br />

สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. 4 ป กกต. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สามเจริญพาณิชย<br />

(กรุงเทพ) จํากัด, 2545.<br />

สถาบันพระปกเกลา. บทเรียนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เพื่อปรับปรุงระบบเลือกตั้ง<br />

ใหดีขึ้น. กรุงเทพฯ : บริษัทอักษรโสภณ จํากัด, 2544.<br />

สถาบันกฎหมายอาญา. รัฐธรรมนูญของเรา. พิมพครั้งที่ 3 . กรุงเทพฯ : บริษัทโรงพิมพเดือนตุลา<br />

จํากัด, 2541.<br />

สถาบันกฎหมายอาญา . รัฐธรรมนูญใหมมีอะไรใหม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัทโรงพิมพ<br />

เดือนตุลา จํากัด, 2541.<br />

เอนก เหลาธรรมทัศน และคณะ. วิพากษสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สมาคมสังคมศาสตรแหง<br />

ประเทศไทยและสํานักพิมพอมรินทร, 2538.<br />

เอนก เหลาธรรมทัศน. การเมืองของพลเมืองสูสหัสวรรษใหม. กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพ<br />

คบไฟ, 2543.<br />

อมร รักษาสัตย, บรรณาธิการ. การเมืองการปกครองไทยตามรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน.<br />

กรุงเทพมหานคร : วี เจ ปริ้นติ้ง, 2544.<br />

164


ภาษาตางประเทศ<br />

Almond, Gabriel, and Sidney Verba. The Civic Culture. Princeton: Princeton University Press,<br />

1963.<br />

Almond, Gabriel and Sidney Verba. The Civic Culture : Political Attitudes and Democracy in<br />

Five Nation. Boston: Little, Brown and Company, 1965.<br />

Arterton, Christopher F. and Harlan Hahn. Political Participation. Washington D.C.: The<br />

American Political Science Association, 1975.<br />

Ball R., Alan. Modern Politics & Government, sixth edition. London : Macmillan Press Ltd,<br />

2000.<br />

Boutros-Ghali, Boutros. “An Agenda for Democratization,” In Global Democracy, Barry Holden<br />

(ed), New York: Routledage, 2000.<br />

Bullock, Alan and Oliver Stattybrass. The Harper Dictionary of Modern Thought. New York:<br />

Harper and Row Publisher, 1977.<br />

Conway M.M. Political Participation in the United States. Washington D.C.: CQ Press, 2000.<br />

Dahl, Robert A. Polyarchy: Participation and Opposition. New Haven: Yale University<br />

Press, 1971.<br />

Diamond, Larry and Marc F.Plattner. Democracy in East Asia. Baltimore and London:<br />

The Johns Hopkins University Press, 1998.<br />

Diamond, Larry. “Introduction: In Search of Consolidation,” In Consolidating the Third<br />

Wave Democracies: Regional Challenges, Larry Diamond, Marc Plattner, Yun-han<br />

165


Cohen, J.M. and Uphoff, N. Rural Development Participation: Concept and Measure for<br />

Project Design Implementation and Evaluation. New York: Cornell University, 1977.<br />

Chu, and Hung-mao Tien (eds), Baltimore and London: The John Hopkins University<br />

Press, 1997.<br />

Erwin, William. Participation Management: Concept, Theory and Implementation. Atlanta:<br />

Ga. Georgia State University Press, 1976.<br />

Etzioni-Halevy, Eva. Class and Elites in Democracy and Democratization: A Collection of<br />

Readings. New York & London: Garland Publishing, Inc.,1997.<br />

Feinland, Gary. “Citizen Participation in the Context of Solid Waste Management Decision<br />

Making.” Master’s thesis, Faculty of Environmental Science&Forestry, State University<br />

of New York Col, 1997.<br />

Fishkin, James S. The Voice of the People: Public Opinion and Democracy. New Haven and<br />

London: Yale University Press, 1995.<br />

Fraenkel R. Jack and Wallen E. Norman. How to Design and Evaluate in Education.2 nd ed. USA,<br />

McGraw-Hill, 1993.<br />

Gorsuch, Richard L. Factor Analysis. New Jersey : Lawrence Erlbaum Associates<br />

Publishers, 1983.<br />

Krongkaew, Medhi. Governance Issues and the 8 th Plan, Paper prepared for the<br />

Development Evaluation Division. NESDB, May 1977.<br />

Hague, Rod. et al. Comparative Government and Politics : An Introduction. Basing<br />

Stoke: Macmillan, 1992.<br />

166


Held, David. Models of Democracy. Cambridge: Polity Press, 1987.<br />

Held, David. Democracy and the Global Order. Stamford, California: Stamford<br />

University Press, 1995.<br />

Heywood, Andrew. Politics. London: Macmillan Press Ltd, 1997.<br />

Huntington, Samuel and Joan Nelson, No Essay Choice. Cambridge Massachusetts: Harvard<br />

University Press,1967.<br />

Huntington, Samuel P. The Third Wave: Democratization in the Late Twentieth Century.<br />

Norman and London: University of Oklahoma Press, 1993.<br />

Laothamatas, Anek. “A Tale of Two Democracies: Conflicting Perception of Elections and<br />

Democracy in Thailand,” In The Politics of Elections in Southeast Asia, R.H. Taylor<br />

(ed), New York: Cambridge University Press, 1996.<br />

Laothamatas, Anek. “Development and Democratization: A Theoretical Introduction Reference to<br />

the Southeast Asian and East Asian Cases,” In Democratization in Southeast and East<br />

Asia, Anek Laothamatas (ed), Chiang Mai: Silkworm Books and Singapore: The Institute<br />

of Southeast Asian Studies ISEAS, 1997 :1-20.<br />

Lipset, Seymour Martin. “Some Social Requisites of Democracy,” In Class and Elites in<br />

Democracy and Democratization: A Collection of Reading, Eva Etzioni-Halevy (ed),<br />

New York & London: Garland Publishing, Inc. 1997 :37-42.<br />

Maisrikrod Surin. “The Making of Thai Democracy,” In Democratization in Southeast and<br />

East Asia, Anek Laothamatas (ed), Chiang Mai: Silkworm Books and Singapore: The<br />

Institute of Southeast Asian Studies ISEAS, 1997 :159-165.<br />

167


McClosky, Herbert. “Political Participation,” Internation Encyclopedia of the Social Science 12,<br />

1968.<br />

Mclean, Iain. Concise Dictionary of Politics. Oxford, New York: Oxford University Press, 1996.<br />

Milbrath, Lester W. Political Participation: How and Why Do People Get Involved in<br />

Politics Chicago: Rand Mc.Nally & Company, 1965.<br />

Milbrath, Lester and M.L.Goel. Political Participation : How and Why do People get<br />

Involved in Politics. Chicago: Rand Macnally, 1965: 18-26.<br />

Nie, Norman H. and Sidney Verba. “Political Participation,” In Handbook of Political Science,<br />

Fred I. Greenstein and Nelson Polsby (eds.), Readings, Mass: Addison Wesley, 1975.<br />

Nie, Norman, Sydney Verba, and Jae-On Kim. "Participation and the Life-Cycle,"<br />

Comparative Politics, 6 (April): 319-40.<br />

Rose, Nikolas. Powers of Freedom: Reframing Political Thought. Cambridge: Cambridge<br />

University Press.<br />

Roth , David F. and Frank L. Wilson. The Comparative Study of Politics. Eaglewood Cliffs,<br />

N.J.: Prentice-Hall, 1980.<br />

Samudavanija, Chai-Anan and Parichart Chotiya. “Beyond Transition in Thailand,” In<br />

Democracy in East Asia, Larry Diamond and Marc F. Platter (eds), Maryland USA.:<br />

The John Hopkins University Press and The National Endowment for Democracy, 1998<br />

:147-170.<br />

Sherrill, K.S. and David J.Vogler. Power, Policy and Participation : An Introduction to<br />

American Government. New York : Harper&Row Publishers, 1982.<br />

168


Sorensen, George. Democracy and Democratization: Process and Prospects in a<br />

Changing World. Boulder, Colorado: Westview Press, 1998.<br />

Verba, Sydney, Norman Nie, and Jae-On Kim. Participation and Political Equality : A Seven -<br />

Nation Comparison. London, New York, Melbourne: Cambridge University Press,<br />

1978.<br />

Weiner, Myron. “Political Participation : Crisis of the Political Process," In Crises and<br />

Sequence in Political Development, Leonard Binder et al (eds), Princeton: Princeton<br />

University Press, 1971 :160-163.<br />

169

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!