25.01.2015 Views

พยาธิวิทยาของเนืองอก (Neoplasia) - มหาวิทยาลัยนเรศวร

พยาธิวิทยาของเนืองอก (Neoplasia) - มหาวิทยาลัยนเรศวร

พยาธิวิทยาของเนืองอก (Neoplasia) - มหาวิทยาลัยนเรศวร

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

14/08/55<br />

<strong>พยาธิวิทยาของเนืองอก</strong><br />

(<strong>Neoplasia</strong>)<br />

ผศ.พญ. จุลินทร สําราญ, พ.บ., ว.ว. (พยาธิวิทยากายวิภาค)<br />

ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์<br />

<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

เนือหา<br />

• ส่วนที 1 (Part I): Terminology<br />

• ส่วนที 2 (Part II): Neoplastic<br />

Classification and Nomenclature<br />

• ส่วนที 3 (Part III):<br />

Pathogenesis of <strong>Neoplasia</strong><br />

• ส่วนที 4 (Part IV): Clinical Features,<br />

Diagnosis of <strong>Neoplasia</strong>, and Treatment.<br />

Non-neoplastic proliferation<br />

Non-neoplastic Proliferation<br />

Versus<br />

Neoplastic Proliferation<br />

• การเพิมจํานวนของเซลล์และเนือเยือ อัน<br />

เนืองจาก<br />

1.การปร ับตัวของเซลล์ หรือทีเรียกว่า<br />

Cellular adaptation เนืองจากสิงกระตุ้น<br />

(Stimulus) และหมดสิงกระตุ้น จํานวน<br />

ของเซลล์ก็จะกล ับสู่สภาวะปกติ<br />

2.การเจริญเติบโตทีผิดปกติ<br />

(Developmental abnormality)<br />

1


14/08/55<br />

Pathological<br />

process<br />

สิงกระตุ้น<br />

(Stimulus)<br />

Physiological<br />

change<br />

Non-neoplastic proliferation<br />

• Hyperplasia<br />

• Hamartomas<br />

• Choristomas<br />

•Hormonal change<br />

•Exercise<br />

Hamartomas<br />

Chondroid hamartoma of Lung<br />

เป็นการเพิมจํานวนของเซลล์หรือเนือเยือ<br />

ซึงพบได้ปกติในอว ัยวะด ังกล่าว จนเกิด<br />

เป็นก้อนขึนมา ซึงความผิดปกติดังกล่าว<br />

จัดเป็นการเจริญเติบโตทีผิดปกติ<br />

(Developmental abnormality) และ ไม่<br />

จัดเป็นเนืองอก (<strong>Neoplasia</strong>)<br />

Picture นํามาจาก pathhsw5m54.ucsf.edu<br />

2


14/08/55<br />

Chondroid hamartoma of Lung<br />

Chondroid hamartoma of Lung<br />

Picture นํามาจาก pathhsw5m54.ucsf.edu<br />

Picture นํามาจาก pathhsw5m54.ucsf.edu<br />

Chondroid hamartoma of Lung<br />

Respiratory epithelium<br />

Choristomas<br />

เป็นการเพิมจํานวนของเซลล์หรือเนือเยือปกติ<br />

จนเกิดเป็นก้อน แต่ไม่จัดเป็นเนืองอก โดย<br />

เซลล์หรือเนือเยือทีเป็นส่วนประกอบของก้อน<br />

นันไม่ใช่เซลล์หรือเนือเยือทีพบปกติใน<br />

อว ัยวะด ังกล่าว ความผิดปกตินีจัดเป็นการ<br />

เจริญเติบโตทีผิดปกติ(Developmental<br />

abnormality) มากกว่าจะเป็นเนืองอก<br />

Cartilage<br />

Picture นํามาจาก http://www.path.utah.edu<br />

3


14/08/55<br />

Adaptation<br />

Preneoplastic<br />

process<br />

Dysplasia<br />

<strong>Neoplasia</strong><br />

Dysplasia<br />

การเจริญของเซลล์ทีผิดปกติ ทังลักษณะ<br />

ของเซลล์ (Cytological features) และ การ<br />

เรียงต ัวทีผิดจากปกติ คล้ายก ับเซลล์มะเร็ง แต่<br />

ยังไม่พบมีการแทรกของเซลล์ทีผิดปกตินันไป<br />

ยังเนือเยือข้างเคียงเหมือนก ับทีพบใน<br />

โรคมะเร็ง สามารถเปลียนกล ับสู่สภาพเดิมถ้า<br />

ขาดสิงกระตุ้น และถ้าผิดปกติรุนแรง อาจ<br />

เปลียนแปลงเป็นมะเร็งได้ หรือเรียกว่า<br />

Premalignancy<br />

Mild cervical<br />

dysplasia with<br />

HPV infection<br />

Severe cervical<br />

dysplasia with<br />

HPV infection<br />

การเรียงต ัวทีผิดปกติของ<br />

เซลล์พบเฉพาะด้านล่าง<br />

ประมาณ 1/3 ของความ<br />

หนาของ Squamous<br />

epithelium<br />

การเรียงต ัวทีผิดปกติ<br />

ของเซลล์พบเกือบ<br />

ตลอดความหนา<br />

(ประมาณ 2/3)ของ<br />

Squamous<br />

epithelium<br />

4


14/08/55<br />

Neoplastic proliferation<br />

• Tumor, Cancer and Neoplasm<br />

• Benign and Malignant<br />

neoplasm/tumor<br />

• Borderline neoplasm/tumor<br />

Neoplastic Proliferation<br />

เป็น การเพิมจํานวนและขนาดของ<br />

เซลล์และเนือเยือทีเกิดขึนตลอด แม้ว่าจะ<br />

ไม่มีสิงกระตุ้นนันแล้ว เนืองจากสิง<br />

กระตุ้นดังกล่าวนัน ทําให้เกิดการ<br />

เปลียนแปลงในระด ับสารพ ันธุกรรมที<br />

ควบคุมการเพิมจํานวนและขนาดของ<br />

เซลล์และเนือเยือ จึงเกิดเป็นการ<br />

เปลียนแปลงอย่างถาวร<br />

Tumor, Cancer and Neoplasm<br />

• Tumor – ภาษาลาติน “ก้อนเนือทีเกิดจากการ<br />

บวมของเนือเยือ (Tissue Swelling)” แต่<br />

โดยท ัวไปหมายถึง ก้อนเนืองอก<br />

• <strong>Neoplasia</strong> หมายถึง ก้อนเนืองอกทีเกิดจาก<br />

การเพิมจํานวนและขนาดของเซลล์และ<br />

เนือเยือตลอดเวลา แม้ว่าสิงกระตุ้นดังกล่าวนัน<br />

จะถูกกําจ ัดไปแล้ว อ ันเป็นผลจากการ<br />

เปลียนแปลงอย่างถาวรของสารพันธุกรรมที<br />

เกียวข้องก ับการควบคุมการเพิมจํานวนของ<br />

เซลล์<br />

• Cancer รากศ ัพท์เดิม “Crab หรือ ปู ”<br />

หมายความว่า ก้อนเนืองอกร้ายแรงหรือ<br />

มะเร็ง เกิดจากการเพิมจํานวนของเซลล์ทีมี<br />

รูปร่างลักษณะผิดปกติแบบไม่สามารถ<br />

ควบคุมได้ เซลล์มีการรุกรานเนือเยือ<br />

ข้างเคียงแบบขาปู และสามารถกระจายไป<br />

อว ัยวะอืนได้<br />

5


14/08/55<br />

Benign Neoplasm/Tumor:<br />

เนืองอกไม่ร้ายแรง ส่วนใหญ่จะมีลักษณะทีคล้ายคลึง<br />

กับเนือเยือปรกติทีเป็นต้นกําเนิด - Well<br />

differentiation ไม่มีการแทรกหรือรุกรานเนือเยือ<br />

ปกติข้างเคียงและเกิดขึนเฉพาะทีโดยไม่มีการ<br />

กระจายไปย ังเนือเยือหรืออว ัยวะอืนๆ<br />

Benign<br />

tumor<br />

Salivary gland<br />

เนืองอกสีขาวขนาด<br />

4x3 cm ขอบเขตแยก<br />

จากเนือเยือต่อมนํ าลาย<br />

ปกติข้างเคียงชัดเจน<br />

Malignant neoplasm/ tumor or Cancer:<br />

เนืองอกร้ายแรงหรือ<br />

มะเร็ง ทีมีการเพิมจํานวน<br />

ของเซลล์อย่างควบคุม<br />

ไม่ได้และพบมีการแทรก<br />

หรือรุกรานไปย ังเนือเยือ<br />

ปกติ (เรียกว่า Invasion)<br />

นอกจากน ันเนืองอก<br />

ร้ายแรงอาจจะ<br />

แพร่กระจายไปเติบโตใน<br />

เนือเยือหรืออว ัยวะอืน<br />

(เรียกว่า Metastasis)<br />

Lung cancer<br />

ความแตกต่างระหว่าง<br />

Benign กับ Malignant tumor<br />

Benign neoplasm<br />

VS<br />

Malignant neoplasm<br />

6


14/08/55<br />

ลักษณะและคุณสมบ ัติของเนืองอก<br />

Benign VS Malignant<br />

• Differentiation<br />

• Anaplasia<br />

• Rate of growth<br />

• Local invasion<br />

• Metastasis<br />

Differentiation<br />

Differentiation คือ ล ักษณะของเนืองอก เมือ<br />

เปรียบเทียบก ับเซลล์หรือเนือเยือปกติทีเป็นเซลล์หรือ<br />

เนือเยือต้นกําเนิดทังในด้าน ลักษณะรูปร่างและการ<br />

ทํางาน (Function)<br />

• Well differentiation - เนืองอกน ันมีลักษณะรูปร่าง<br />

และการทํางานใกล้เคียงก ับเซลล์หรือเนือเยือต้น<br />

กําเนิดมาก แสดงถึงว่า เนืองอกมีการเจริญทีดี<br />

• Poorly differentiation – เมือเนืองอกน ันมีลักษณะ<br />

แตกต่างจากเซลล์หรือเนือเยือปกติมากจนแทบจะ<br />

บอกเซลล์หรือเนือเยือต้นกําเนิดไม่ได้<br />

• Moderately differentiation - เมือเนืองอกน ันมี<br />

การเจริญทีกํากึงระหว่าง 2 ชนิดข้างต้น<br />

เนืองอกชนิดไม่ร้ายแรง<br />

(Benign neoplasm)<br />

เนืองอกชนิดนีมีลักษณะการเจริญทังรูปร่างและการ<br />

ทํางานของเซลล์หรือเนือเยือทีคล้ายก ับเซลล์หรือ<br />

เนือเยือปกติทีเป็นต้นกําเนิดมาก –<br />

“ Well differentiated neoplasm” เช่น<br />

• Leiomyoma ที มดลูก เป็นเนืองอกทีเจริญมาจาก<br />

กล้ามเนือเรียบของมดลูก และจะพบว่าเซลล์เนืองอก<br />

ชนิดนีมีลักษณะคล้ายก ับเซลล์กล้ามเนือเรียบมาก<br />

เพียงแต่ปริมาณเซลล์จะหนาแน่นกว่า<br />

• Adenoma ของ เต้านม เนืองอกประกอบด้วย ต่อม<br />

และท่อนํ านมขนาดเล็กจํานวนมาก โดยมีลักษณะ<br />

เหมือนต่อมและท่อนํ านมปกติ<br />

Leiomyomas<br />

ที มดลูก<br />

7


14/08/55<br />

เนืองอกชนิดร้ายแรง<br />

(Malignant neoplasm)<br />

เนืองอกชนิดร้ายแรง(มะเร็ง) เซลล์มะเร็งมี<br />

ลักษณะรูปร่างหลากหลาย เมือเทียบก ับ<br />

เซลล์หรือ เนือเยือทีเป็นต้นกําเนิด ถ้า<br />

ลักษณะใกล้เคียงก ับเซลล์ต้นกําเนิดมาก<br />

แสดงว่ามี Well differentiation และถ้า<br />

แตกต่างมาก - Poorly differentiation และ<br />

ถ้าไม่สามารถบอกเซลล์ต้นกําเนิดได้เลย จะ<br />

เรียกว่า Lack of differentiation, หรือ<br />

Anaplasia<br />

Mucosa ปกติ<br />

Moderately diff.<br />

Well diff.<br />

Poorly diff.<br />

Anaplasia<br />

Anaplasia หรือ Lack of differentiation:<br />

หมายถึง เนืองอกทีมีลักษณะรูปร่างและการทํางาน<br />

ของเซลล์หรือเนือเยือแตกต่างจากเซลล์ต้นกําเนิด<br />

และบางคร ังไม่สามารถบอกเซลล์ต้นกําเนิดได้เลย<br />

• ในเนืองอกก้อนเดียวก ัน เซลล์เนืองอกในแต่ละเซลล์<br />

มีความแตกต่างก ันทัง รูปร่าง ขนาดและนิวเคลียส<br />

เรียกว่ามี Pleomorphism<br />

• นิวเคลียสของเซลล์เนืองอกจะมีสีนําเงินเข้มขึน<br />

เนืองจากมีปริมาณของ DNA เพิมมากขึน เรียกว่า<br />

Nuclear hyperchromatism<br />

Malignant melanoma<br />

8


14/08/55<br />

• นิวเคลียสของเซลล์มะเร็งใหญ่ขึน ดังนันสัดส่วนของ<br />

นิวเคลียสต่อCytoplasmของเซลล์ (Nuclear-to-<br />

Cytoplasmic ratio) เกือบหรือเท่ากับ1:1<br />

(ค่าปกติเท่าก ับ1:4 หรือ 1:6) = High N/C ratio<br />

• พบการแบ่งตัวของเซลล์จํานวนมาก (Mitoses) -<br />

Higher proliferative activity และการพบ Atypical,<br />

bizarre mitotic figures ทีมีลักษณะประหลาดไม่<br />

เหมือนปกติ เช่น สามแฉก (tripolar), สีแฉก<br />

(quadripolar) จะเป็นตัวบ่งบอกชัดเจนว่าเป็นมะเร็ง<br />

อัตราการเจริญเติบโต<br />

( Rate of Growth )<br />

• ส่วนใหญ่ของเนืองอกชนิดไม่ร้ายแรงจะโตช้ากว่า<br />

ในขณะทีเนืองอกชนิดร้ายแรงจะโตเร็ว และถ้าเนือ<br />

งอกชนิดร้ายแรงด ังกล่าวมี Poor differentiation ก็<br />

จะมีอัตราการโตทีเร็วมากยิงขึน<br />

• ปัจจ ัยทีมีผลต่ออัตราการเจริญเติบโตของเนืองอก<br />

ได้แก่ หลอดเลือดหรือเลือดทีมาเลียงเนืองอกน ัน หรือ<br />

ฮอร์โมนทีเกียวข้อง เป็นต้น<br />

• อัตราการเจริญเติบโตของเนืองอกก็ไม่จําเป็นที<br />

จะต้องคงทีตลอด ด ังนันอาจพบว่าเนืองอกชนิดไม่<br />

ร้ายแรง บางชนิดมีอัตราการเจริญเติบโตทีเร็วกว่า<br />

เช่น เนืองอกกล้ามเนือเรียบของมดลูก หรือ<br />

Leiomyoma ซึงจะมีขนาดโตขึนเร็วในช่วงต ังครรภ์<br />

และ ขนาดเล็กลงเมือถึงวัยหมดประจําเดือน<br />

เนืองจากอ ัตราการเจริญของเนืองอกด ังกล่าวสัมพันธ์<br />

กับปริมาณของฮอร์โมนเอสโตรเจนในกระแสเลือด<br />

• กรณีเนืองอกร้ายแรงบางชนิดมีขนาดทีเล็กลงเมือ<br />

เกิดการตายเนืองจากเลือดไปเลียงไม่พอ<br />

9


14/08/55<br />

การรุกรานเนือเยือปกติข้างเคียง<br />

( Local Invasion )<br />

โดยปกติแล้ว พฤติกรรมการรุกรานเนือเยือ<br />

ปกติข้างเคียง( Local Invasion ) จะพบแต่<br />

เฉพาะ เนืองอกชนิดร้ายแรง<br />

• Benign tumors ส่วนใหญ่โตช้าและไม่มีการรุกราน<br />

เนือเยือข้างเคียง ส่วนหนึงเป็นเพราะมี Fibrous<br />

capsules หรือ Connective tissue กันแยกออก<br />

จากเนือเยือปกติ ทําให้เนืองอกมีขอบเขตแยกจาก<br />

เนือเยือปกติชัดเจน ยกเว้นบางชนิดเช่น<br />

Hemangioma ซึงเป็นเนืองอกของหลอดเลือดชนิด<br />

ไม่ร้ายแรง เป็นต้น<br />

Leiomyomas<br />

Hemangioma<br />

เนืองอกไม่ร้ายแรงของหลอด<br />

เลือด มีขอบเขตทีไม่ชัดเจน โดย<br />

พบกลุ่มหลอดเลือดสีนําตาลเข้ม<br />

แทรกในเนือเยือไขม ันเป็นหย่อมๆ<br />

บอกขอบเขตได้ไม่ชัดเจน ต่าง<br />

จากก้อนเนืองอกไม่ร้ายแรง สี<br />

ขาวของมดลูก<br />

• Malignant tumor or Cancers มักจะพบมีการ<br />

รุกรานและทําลายเนือเยือข้างเคียง ดังน ันจึงมี<br />

ขอบเขตทีไม่ชัดเจน บางคร ังการรุกรานมีลักษณะไม่<br />

สมําเสมอยืนไปมาคล้ายก ับขาปู ทําให้บอกขอบเขต<br />

ของเนืองอกได้ยาก ดังน ันการผ่าต ัดรักษาให้<br />

หายขาดก็จะยากกว่ากรณีทีบอกขอบเขตของเนือ<br />

งอกได้ชัดเจน และนอกจากน ัน เนืองอกบางชนิด<br />

อาจจะพบมีการรุกรานเส้นเลือด ( Vascular<br />

invasion ) และเส้นประสาท( Neural invasion )<br />

ก่อนการแพร่กระจายด้วย ด ังนันลักษณะการรุกราน<br />

เนือเยือข้างเคียงจึงเป็นหล ักเกณฑ์ทีใช้บอกความ<br />

เป็นเนืองอกชนิดร้ายแรงทีสําค ัญ อย่างไรก็ตาม<br />

มะเร็งบางชนิดทีโตช้า อาจมีFibrous capsules ได้<br />

รุกรานผิวหนัง<br />

Breast carcinoma<br />

รุกรานเนือนมโดยรอบ ทีมี<br />

fat tissue เป็ นส่วนประกอบ<br />

ส่วนใหญ่ ล ักษณะคล้ายขาปู<br />

10


14/08/55<br />

การแพร่กระจายของเนืองอกไปเจริญเติบโต<br />

ในเนือเยือส่วนอืน - Metastasis<br />

• Metastasis หมายถึง การทีเนืองอก<br />

แพร่กระจายจากแหล่งกําเนิดไปเจริญในเนือเยือ<br />

ห่างไกลส่วนอืนๆ ซึงคุณสมบ ัติดังกล่าวจัดเป็น<br />

คุณสมบ ัติเฉพาะทีสําค ัญของเนืองอกชนิด<br />

ร้ายแรง หรือ มะเร็ง<br />

• มะเร็งสามารถแพร่กระจายได้ 3 ทาง (ขึนกับชนิด<br />

และตําแหน่งของมะเร็ง)<br />

1.Body cavities<br />

2.Lymphatic spread<br />

3.Vascular spread<br />

• การแพร่กระจายของมะเร็งร ังไข่ ( Ovary ) จะ<br />

กระจายไปที Peritoneal cavity ทําให้ภายในช่อง<br />

ท้องเต็มไปด้วยเซลล์มะเร็งและสารเมือกทีสร้างจาก<br />

เซลล์มะเร็งด ังกล่าว เรียกว่า Pseudomyxoma<br />

peritonei และ Carcinomatosis peritonei<br />

• การแพร่กระจายตามกระแสนํ าเหลือง ( Lymphatic<br />

Spread ) เป็นการแพร่กระจายของมะเร็งทีพบบ่อย<br />

ทีสุด และตําแหน่งของต่อมนํ าเหลืองทีจะถูก<br />

เซลล์มะเร็งแพร่ไปน ันขึนก ับทิศทางการไหลเวียน<br />

ของกระแสนํ าเหลือง และ Sentinel lymph node<br />

คือต่อมนํ าเหลืองอ ันแรกทีรับนํ าเหลืองจากบริเวณที<br />

เป็นมะเร็ง<br />

• กรณีมะเร็งเต้านมซ้ายที Upper Outer quadrant<br />

ต่อมนํ าเหลืองบริเวณร ักแร้ด้านซ้ายจะเป็นตําแหน่งที<br />

รับการแพร่กระจายตามระบบนํ าเหลืองของ<br />

เซลล์มะเร็งก่อน แต่ถ้ามะเร็งเกิดทีบริเวณ Inner<br />

quadrant ของเต้านมซ้ายก็จะพบการแพร่กระจาย<br />

ของมะเร็งไปย ังต่อมนํ าเหลืองทีอยู่ภายในทรวงอก<br />

รอบๆ Internal mammary arteries แทน<br />

มะเร็งทีลําไส้ใหญ่ ก้อนสีขาวเทาในกรอบสีส้ม ได้กระจาย<br />

ไปทีต่อมนํ าเหลือง 2 ต่อมใน mesentery ตามทีลูกศรชี<br />

11


14/08/55<br />

• การแพร่กระจายไปตามกระแสเลือด<br />

( Hematologic Spread )<br />

พบมากในมะเร็งของ Mesenchymal cells เช่น<br />

เนือเยือเกียวพ ัน และหลอดเลือด ทีเรียกว่า<br />

Sarcoma แต่ก็พบในกลุ่มมะเร็งของเยือบุ เช่น<br />

Glandular epithelium ทีเรียกว่า Carcinoma ได้<br />

เช่นก ันโดยมากแล้วเซลล์มะเร็งจะรุกรานเข้าสู่เส้น<br />

เลือดดํา เนืองจากมีผนังบางกว่าเส้นเลือดแดง และ<br />

จากน ันกลุ่มเซลล์มะเร็งด ังกล่าวสามารถล ัดสู่เส้น<br />

เลือดแดงผ่าน Pulmonary arteriovenous<br />

shunts ทีปอด ล ักษณะทีพบกลุ่มเซลล์มะเร็งลอย<br />

อยู่ในกระแสเลือดจะเรียกว่า Tumor emboli<br />

หล ังจากน ันกลุ่มเซลล์มะเร็งก็อาจจะไปเจริญเติบโต<br />

อยู่ตามอว ัยวะอืน ทีพบบ่อยๆ คือ ปอด ต ับ<br />

กระดูก และ สมอง<br />

การเรียกชือเนืองอก<br />

(Nomenclature of neoplasms)<br />

เนืองอกไม่ว่าจะเป็นชนิดไม่ร้ายแรงหรือชนิดร้ายแรง<br />

จะประกอบด้วยเซลล์หรือเนือเยือ 2 ชนิดหล ักๆ คือ<br />

1. เซลล์ทีเจริญเป็นเนืองอก - Parenchymal cells<br />

2. เนือเยือปกติทีเป็นส่วนประกอบในก้อนเนืองอกน ัน<br />

เช่น หลอดเลือด และ เนือเยือไฟบร ัส เรียกว่า<br />

Supportive stroma<br />

Parenchymal<br />

Stroma<br />

TUMOR = cells +<br />

• Parenchymal cells คือ เซลล์หรือเนือเยือทีมี<br />

การเจริญเติบโตเป็นเนืองอก ซึงอาจจะเป็น เซลล์<br />

เยือบุต่างๆ ( Epithelial cells ) หรือ พวก<br />

Mesenchymal cells เช่น เนือเยือไฟบร ัส<br />

(Fibrous tissue), กล้ามเนือ( muscle ), หลอด<br />

เลือดและหลอดนํ าเหลือง ( vessels) เป็นต้น<br />

• Supportive stroma คือ เป็นเนือเยือที<br />

ประกอบเป็นส่วนหนึงของเนืองอกน ันแต่ ไม่ได้<br />

เจริญเป็นเนืองอก โดยจะเป็นส่วนโครงร่างของ<br />

เนืองอก เช่น เนือเยือเกียวพ ัน และ หลอดเลือด<br />

Parenchymal<br />

cells<br />

Supportive<br />

stroma<br />

12


14/08/55<br />

หล ักการเรียกชือเนืองอก<br />

พิจารณาจาก<br />

• ชนิดของเนืองอก:<br />

Benign Tumors VS Malignant Tumors<br />

• ชนิดของเซลล์หรือเนือเยือทีเป็นต้นกําเนิด<br />

( Cell or Tissue of Origin)<br />

NOTE: เนืองอกบางชนิดทีเรียกชือไม่ตรงก ับ<br />

หล ักการท ัวไปทีได้กล่าวมาแล้ว ต้องจําเป็น<br />

กรณีพิเศษ<br />

เนืองอกชนิดไม่ร้ายแรง<br />

Benign Tumors<br />

• เติมคําว่า“– oma” หล ังต่อชือเซลล์หรือ<br />

เนือเยือทีเป็นต้นกําเนิดของเนืองอกน ัน<br />

• Benign tumor ทีเจริญมาจาก<br />

Mesenchymal cells และทีเจริญมาจาก<br />

Epithelial cells จะมีหลักการหรือวิธีการ<br />

เรียกทีแตกต่างก ัน<br />

เนืองอกชนิดทีไม่ร้ายแรง<br />

ทีเจริญมาจาก Mesenchyme<br />

จะเรียกชือตามหล ักการ คือ ใส่ “– oma” หล ังต่อชือ<br />

เซลล์หรือเนือเยือทีเป็นต้นกําเนิดของเนืองอกน ัน<br />

• Fibroma เมือเจริญมาจาก เซลล์หรือเนือเยือไฟบร ัส<br />

( Fibroblastic cells or tissue )<br />

• Lipoma เมือเจริญมาจาก เซลล์หรือเนือเยือไขม ัน<br />

( Fatty or Adipose cells or tissue)<br />

• Leiomyoma เมือเจริญมาจาก เซลล์หรือเนือเยือ<br />

กล้ามเนือเรียบ ( Smooth muscle )<br />

• Rhabdomyomaเมือเจริญมาจาก เซลล์หรือเนือเยือ<br />

กล้ามเนือลาย ( Striated muscle )<br />

• Chondroma เมือเจริญมาจาก เซลล์หรือเนือเยือ<br />

กระดูกอ่อน ( Chondroblasts or Cartilage )<br />

• Osteoma เมือเจริญมาจาก เซลล์หรือเนือเยือ<br />

กระดูก ( Osteoblasts or Bone )<br />

• Hemangioma or Angioma เมือเจริญมาจาก<br />

หลอดเลือด (Blood vessels)<br />

• Lymphangioma เมือเจริญมาจากหลอดนํ าเหลือง<br />

(Lymphatic vessels)<br />

13


14/08/55<br />

เนืองอกชนิดทีไม่ร้ายแรง<br />

ทีเจริญมาจาก Epithelium<br />

• นอกจากจะเรียกชือตามหล ักการด ังกล่าวแล้ว<br />

ยังพิจารณาจากล ักษณะหรือพยาธิสภาพที<br />

เห็นจากตาเปล่าและจากกล้องจุลทรรศน์ด้วย<br />

ดังเช่น<br />

– Adenoma เป็นเนืองอกทีเจริญมาจาก Epithelial<br />

cells ทีเรียงต ัวเป็น ต่อม หรือ ท่อ( Gland or<br />

Tubule ) ซึงเห็นได้จากกล้องจุลทรรศน์<br />

• Papilloma เป็นเนืองอกทีเจริญมาจาก เซลล์หรือ<br />

เนือเยือในกลุ่มเยือบุ ทีมีลักษณะยืนขึนมาจากพืนผิว<br />

คล้ายก ับนิวมือ (Finger-like or warty<br />

projections from epithelial surfaces) ซึงอาจ<br />

เห็นได้จากท ังตาเปล่าและจากกล้องจุลทรรศน์<br />

• Cystadenoma เป็นเนืองอกทีเจริญมาจากเซลล์หรือ<br />

เนือเยือในกลุ่มเยือบุ ทีมีลักษณะเป็นถุงนํ า (Cystic<br />

mass) ดังเช่น เนืองอกของร ังไข่ Mucinous<br />

cystadenoma หรือ Papillary cystadenoma ใน<br />

รังไข่ ซึงเป็นเนืองอกทีมีลักษณะเป็นถุงนํ าและมีส่วน<br />

ของเนืองอกทีมีลักษณะคล้ายก ับนิวมือยืนเข้ามา<br />

ภายในช่องว่างของถุงนํ า<br />

Mucinous cystadenoma of Ovary<br />

เนืองอกชนิดร้ายแรง<br />

Malignant Tumors or Cancer<br />

• เนืองอกชนิดร้ายแรงทีเจริญมาจากเนือเยือ<br />

Mesenchym จะเรียกชือตามหล ักการ คือ จะ<br />

เติมคําว่า“– sarcoma” หล ังต่อชือ เซลล์หรือ<br />

เนือเยือทีเป็นต้นกําเนิด<br />

• เนืองอกชนิดร้ายแรงทีเจริญมาจาก<br />

Epithelium จะเรียกชือตามหล ักการ คือ จะ<br />

เติมคําว่า“– carcinoma” หล ังต่อชือเซลล์<br />

หรือเนือเยือทีเป็นต้นกําเนิด<br />

14


14/08/55<br />

เนืองอกชนิดร้ายแรง<br />

ทีเจริญมาจาก เนือเยือ Mesenchym<br />

• Fibrosarcoma เมือเจริญมาจาก เซลล์หรือเนือเยือ<br />

ไฟบร ัส( Fibroblastic cells or tissue )<br />

• Liposarcoma เมือเจริญมาจาก เซลล์หรือเนือเยือ<br />

ไขม ัน( Fatty or Adipose cells or tissue)<br />

• Leiomyosarcoma เมือเจริญมาจาก เซลล์หรือ<br />

เนือเยือกล้ามเนือเรียบ ( Smooth muscle )<br />

• Rhabdomyosarcoma เมือเจริญมาจาก เซลล์<br />

หรือเนือเยือกล้ามเนือลาย ( Striated muscle )<br />

• Chondrosarcoma เมือเจริญมาจาก เซลล์หรือ<br />

เนือเยือกระดูกอ่อน ( Chondroblasts or<br />

Cartilage )<br />

• Osteosarcoma เมือเจริญมาจาก เซลล์หรือ<br />

เนือเยือกระดูก ( Osteoblasts or Bone )<br />

• Angiosarcoma เมือเจริญมาจากหลอดเลือด<br />

(Blood vessels)<br />

เนืองอกชนิดร้ายแรง<br />

ทีเจริญมาจาก Epithelium<br />

Chondrosarcoma<br />

เจริญมาจาก Chondroblasts or Cartilage<br />

• Squamous cell carcinoma เจริญมาจาก<br />

Squamous epithelium (Ectoderm) ของ ผิวหน ัง<br />

เยือบุในช่องปากและช่องคลอด จะมีลักษณะทาง<br />

กล้องจุลทรรศน์คล้ายก ับSquamous cell.<br />

• Adenocarcinoma เจริญมาจากเยือบุของทางเดิน<br />

หายใจและทางเดินอาหาร (Endoderm) จะมีลักษณะ<br />

ทางกล้องจุลทรรศน์ของเนืองอกเป็นต่อม หรือ ท่อ<br />

เหมือนก ับเนือเยือต้นกําเนิด<br />

• Renal cell carcinoma เจริญมาจาก Renal<br />

tubules ( Mesoderm)<br />

15


14/08/55<br />

มะเร็ง<br />

ปากมดลูก<br />

Squamous cell carcinoma เจริญมา<br />

จาก Squamous epithelium ที Cervix<br />

มะเร็งลําไส้ใหญ่<br />

Adenocarcinoma<br />

เจริญมาจากเยือบุของทางเดินอาหาร<br />

Keratin pearl<br />

เซลล์มะเร็งเรียงตัวเป็ นต่อม (Gland)<br />

Mixed tumor of Salivary gland<br />

(Pleomorphic adenoma)<br />

• เนืองอกชนิดไม่ร้ายแรงของต่อมนํ าลาย ส่วนของ<br />

Parenchyma ของเนืองอกประกอบด้วยเซลล์2 กลุ่ม<br />

ทีแตกต่างก ันคือ Epithelial sheets หรือ glands<br />

และส่วนทีเป็น Myxoid stroma ทังๆทีเนืองอกชนิดนี<br />

เจริญมาจาก เซลล์ทีเป็นต้นกําเนิดมีเพียงชนิดเดียว<br />

คือ Myoepithelial cells<br />

• เนืองจาก Myoepithelial cells สามารถเจริญเป็นได้<br />

ทังepithelial glands และ stromal cells<br />

Myxoid stroma<br />

Epithelial glands<br />

or sheets<br />

16


14/08/55<br />

Teratoma<br />

• เป็นเนืองอกทีเจริญมาจาก Totipotential cells or<br />

Germ cells ทีสามารถเจริญเป็นเนือเยือได้ทัง 3<br />

germ layers: Ectoderm, Mesoderm and<br />

Endoderm แบ่งเป็น 3 ชนิด<br />

1.Mature cystic teratoma เป็นเนืองอกชนิดไม่<br />

ร้ายแรงม ักเจริญเป็นถุงนํ า เรียกอีกชือเป็น Dermoid<br />

cyst ภายในเนืองอกจะประกอบด้วย เซลล์และ<br />

เนือเยือปกติหลากหลายชนิดทีเจริญมาจาก<br />

Ectoderm, Mesoderm and Endoderm เช่น<br />

ผิวหน ังพร้อมท ังขน และต่อมไขม ันทีผิวหน ังเนือเยือ<br />

ไขม ันเนือเยือสมอง และ เยือบุทางเดินหายใจและ<br />

ทางเดินอาหาร เป็นต้น<br />

Mature teratoma<br />

(Dermoid cyst)<br />

2. Immature teratoma เป็นเนืองอกชนิดร้ายแรง<br />

มักพบในเด็ก ภายในเนืองอกจะประกอบด้วย เซลล์<br />

และเนือเยือทียังเจริญไม่เต็มที (Immature) หลาย<br />

ชนิดทีเจริญมาจาก Ectoderm, Mesoderm and<br />

Endoderm โดยเฉพาะ Neuroectoderm – neural<br />

tube เป็นต้น<br />

3. Malignant teratoma เป็นเนืองอกชนิดร้ายแรง<br />

มักพบในผู้ใหญ่ ภายในเนืองอกจะประกอบด้วย<br />

เซลล์และเนือเยือหลายชนิดทีเจริญมาจาก<br />

Ectoderm, Mesoderm and Endoderm และพบ<br />

เนือเยือบางอย่างเปลียนแปลงเป็นมะเร็ง เช่นพบ<br />

ผิวหน ังกลายเป็น Squamous cell carcinoma เป็น<br />

ต้น<br />

เนืองอกบางชนิดการเรียกชือไม่<br />

เป็นไปตามหล ักการ<br />

ได้แก่<br />

• Melanoma ซึงเป็นเนืองอกชนิดร้ายแรงทีเจริญ<br />

มาจาก Melanocytes ทีผิวหน ังซึงชือของเนือง<br />

อกนี ทีน่าจะสือความหมายตามหล ักการคือ<br />

Carcinoma of melanocytes หรือ<br />

Melanocarcinoma แต่ไม่นิยมเรียก<br />

• Seminoma ซึงเป็นเนืองอกชนิดร้ายแรงทีเจริญ<br />

มาจาก Germ cell ของอ ัณฑะ<br />

• Lymphoma ซึงเป็นเนืองอกชนิดร้ายแรงทีเจริญ<br />

มาจาก Lymphocyte<br />

17


14/08/55<br />

Melanoma เป็นเนืองอกชนิด<br />

ร้ายแรง ทีเจริญมาจาก<br />

Melanocytes ทีผิวหนัง<br />

Seminoma of testis<br />

Lymphoma<br />

เนืองอกชนิดร้ายแรง ทีเจริญมาจาก Lymphocyte<br />

Pathogenesis of <strong>Neoplasia</strong><br />

• ระบาดวิทยาของโรคมะเร็ง<br />

• Molecular basis of cancer<br />

• กลไกและสาเหตุของการเกิดมะเร็ง<br />

18


14/08/55<br />

ระบาดวิทยาของโรคมะเร็ง<br />

• ระบาดวิทยาเป็นศาสตร์ทีศึกษาหรือกล่าวถึงการกระจายของ<br />

โรคในประชากร และปัจจัยทีมีอิทธิพลหรือเป็นสาเหตุทีทําให้<br />

เกิดการกระจายแบบนัน ระบาดวิทยามีรากฐานมาจากความ<br />

จริงทีว่า โรค หรือ การเจ็บป่วย ไม่ได้เกิดขึ นกับคนทุกๆคนด้วย<br />

โอกาสทีเท่าๆกัน และอาจจะมีสัมพันธ์กับลักษณะทาง<br />

พันธุกรรม และการสัมผัสกับปัจจัยบางอย่างในสิงแวดล้อม<br />

อุบ ัติการณ์ของมะเร็ง<br />

(Cancer incidence)<br />

• เพือให้เห็นขนาดของปัญหามะเร็งทีเกิดขึน<br />

ดังน ันอุบ ัติการณ์ของมะเร็งจะถูกรายงาน<br />

เป็น 2 ลักษณะ คือ<br />

1.อุบัติการณ์การเกิดมะเร็งของประชากรทีอาศ ัยอยู่<br />

ภายในประเทศ (National incidence)<br />

2.อัตราการเสียชีวิตอ ันเนืองจากมะเร็ง (Mortality<br />

rate)<br />

ในปี ค.ศ.1994 WHO รายงานว่า มะเร็งเป็น<br />

สาเหตุการตายประมาณ 13 % ของคนตาย<br />

ทังหมดซึงเป็นจํานวนมากกว่า 6 ล้านคน และ<br />

มีจํานวนผู้ป่วยมะเร็งมากกว่า 18 ล้านคน โดย<br />

จะมีผู้ป่วยใหม่ประมาณ 9 ล้านคนในทุกๆ ปี<br />

และ คาดการณ์ไว้ว่า ในปี 2020 จะมีคนตาย<br />

ด้วยมะเร็งมากกว่า 11 ล้านคน<br />

มะเร็งทีพบบ่อย 6 อันด ับแรกของโลก<br />

คือ มะเร็งปอด มะเร็งกระเพาะอาหาร<br />

มะเร็งเต้านม มะเร็งลําไส้ใหญ่ มะเร็ง<br />

ตับ และ มะเร็งปากมดลูก ตามลําด ับ<br />

19


14/08/55<br />

Figure 7-23 Cancer incidence and mortality by site and sex. Excludes basal cell and squamous cell skin cancers and in situ carcinomas, except urinary bladder. (Adapted<br />

from Jemal A, et al: Cancer statistics, 2003. CA Cancer J Clin 53:5, 2003.)<br />

Downloaded from: Robbins & Cotran Pathologic Basis of Disease (on 26 September 2006 05:27 AM)<br />

© 2005 Elsevier<br />

Figure 7-23 Cancer incidence and mortality by site and sex. Excludes basal cell and squamous cell skin cancers and in situ carcinomas, except urinary bladder. (Adapted<br />

from Jemal A, et al: Cancer statistics, 2003. CA Cancer J Clin 53:5, 2003.)<br />

Downloaded from: Robbins & Cotran Pathologic Basis of Disease (on 26 September 2006 05:27 AM)<br />

© 2005 Elsevier<br />

อุบ ัติการณ์ของมะเร็ง<br />

สถาบ ันมะเร็งแห่งชาติ 2011<br />

ปัจจ ัยทีมีผลต่อ<br />

อุบ ัติการณ์และอ ัตราการเสียชีวิตจากมะเร็ง<br />

• ปัจจ ัยด้านภูมิศาสตร์และสิงแวดล้อม<br />

(Geographic and Environmental Factors)<br />

• ปัจจ ัยเกียวก ับอายุ (Age)<br />

• ปัจจ ัยด้านพ ันธุกรรม (Hereditary)<br />

• ปัจจ ัยทีเกียวก ับการเป็นโรคหรือมีความผิดปกติ<br />

บางอย่างทีเป็นต้นกําเนิดของเนืองอก<br />

(Preneoplastic lesions)<br />

20


14/08/55<br />

ปัจจ ัยด้านภูมิศาสตร์และสิงแวดล้อม<br />

(Geographic and Environmental Factors)<br />

• อุบัติการณ์และอ ัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งกระเพาะ<br />

อาหาร ในประเทศญีปุ ่นสูงกว่าในประเทศอเมริกา<br />

ประมาณ 6 ถึง 7 เท่า ในทางตรงก ันข้ามอุบ ัติการณ์<br />

และอ ัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปอดในประเทศ<br />

อเมริกาสูงกว่าในประเทศญีปุ ่นประมาณสองเท่า<br />

• อุบัติการณ์และอ ัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งผิวหน ัง<br />

ชนิด Melanoma ในประเทศนิวซีแลนด์จะสูงกว่า<br />

ประเทศไอซ์แลนด์ประมาณ 6 เท่า ซึงอาจเป็นเพราะ<br />

ผลจากแสงแดด<br />

• จากการเปรียบเทียบอ ัตราการเสียชีวิตจาก<br />

มะเร็งกระเพาะอาหารในชาวญีปุ ่นทีอพยพ<br />

ไปอเมริกาก ับชนชาติญีปุ ่นทีเกิดและอาศ ัย<br />

อยู่ในอเมริกา พบว่า ชาวญีปุ ่นทีอพยพไป<br />

อเมริกา มีอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็ง<br />

กระเพาะอาหาร กํ ากึงระหว่าง ชาวญีปุ ่นที<br />

อาศ ัยอยู่ในประเทศญีปุ ่น และชนชาติญีปุ ่น<br />

ทีเกิดและอาศ ัยอยู่ในอเมริกา ดังน ันอาจจะ<br />

สรุปได้ว่า ปัจจ ัยสิงแวดล้อมและว ัฒนธรรมมี<br />

ความสําค ัญมากกว่าปัจจ ัยทางพ ันธุกรรม<br />

ปัจจ ัยเกียวก ับอายุ (Age)<br />

• มะเร็งส่วนใหญ่มักเกิดในประชากรทีมีอายุตังแต่<br />

55 ปีขึนไป แต่อย่างไรก็ตามประชากรทีอายุน้อย<br />

ก็สามารถเกิดมะเร็งบางชนิดได้บ่อยกว่า เช่น<br />

มะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia) เป็นต้น<br />

• มะเร็งกระดูก ชนิด Osteosarcoma จะพบมี<br />

อุบัติการณ์สูงในช่วงอายุ 2 ช่วง คือ ช่วงอายุ 10-<br />

20 ปี และ มากกว่า 60 ปีขึนไป<br />

ปัจจ ัยด้านพ ันธุกรรม (Hereditary)<br />

• นอกจากปัจจัยทางสิงแวดล้อมแล้ว ปัจจัย<br />

ด้านพ ันธุกรรมเป็นปัจจ ัยอันหนึงทีมีอิทธิพล<br />

ต่อการเกิดโรคมะเร็งหลายชนิด และ<br />

สามารถแบ่งรูปแบบของการถ่ายทอดทาง<br />

พันธุกรรมของมะเร็งออกเป็น 3 แบบ คือ<br />

1. Inherited Cancer Syndromes<br />

2. Familial Cancers<br />

3. Autosomal Recessive Syndromes of<br />

Defective DNA Repair<br />

21


14/08/55<br />

Inherited Cancer Syndromes<br />

• ผลของความผิดปกติของยีนเดียวทําให้เพิมอ ัตรา<br />

เสียงต่อการเกิดมะเร็งและ โดยมากแล้วยีนเหล่านี<br />

จะถ่ายทอดทางพ ันธุกรรมแบบ Dominant<br />

pattern ได้แก่<br />

– 40% ของผู้ป่วยมะเร็งชนิด Retinoblastoma<br />

จะมีญาติพีน้องเจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็งนีและคน<br />

ทีมียีนทีผิดปกติมีความเสียงต่อการเกิดโรค<br />

มากกว่าคนปกติประมาณ 10,000 เท่า<br />

– Familial adenomatous polyposis (FAP)<br />

เกือบ 100% ของผู้ป่วยเป็นโรคนีจะเป็นมะเร็ง<br />

ลําไส้ใหญ่เมืออายุ 50 ปี<br />

Familial Cancers<br />

• มะเร็งทีจัดอยู่ในกลุ่มนี (มะเร็งลําไส้ใหญ่ มะเร็งเต้า<br />

นม มะเร็งร ังไข่ และมะเร็งสมอง)ไม่สามารถบอก<br />

รูปแบบการถ่ายทอดทางพ ันธุกรรมได้ชัดเจน<br />

เหมือนก ับกลุ่มแรก เพียงแต่พบว่า ในบางครอบคร ัว<br />

มีการเจ็บป่วยเนืองจาก มะเร็งบางชนิดได้บ่อย<br />

โดยเฉพาะ พีกับน้อง รุ่นพ่อหรือแม่กับรุ่นลูกเป็นต้น<br />

• โดยมากจะเกิดขึนตังแต่อายุน้อยๆ และ ม ักจะเป็นทัง<br />

สองข้าง การเกิดโรคม ักจะส ัมพันธ์กับหลายปัจจ ัย<br />

(Multifactors) และพบว่าสัมพ ันธ์กับความผิดปกติ<br />

ของยีนบางชนิดแต่ไม่ชัดเจน เช่น BRCA 1 และ<br />

BRCA 2 กับการเกิดมะเร็งเต้านม<br />

Autosomal Recessive Syndromes<br />

of Defective DNA Repair<br />

• โรคทีจัดอยู่ในกลุ่มนีมีน้อย การถ่ายทอดทาง<br />

พันธุกรรมจะเป็นแบบ Recessive pattern ยีนที<br />

ผิดปกตินันเกียวข้องก ับขบวนการซ่อมแซม DNA<br />

(DNA repair) เช่น Xeroderma<br />

pigmentosum<br />

ปัจจ ัยทีเกียวก ับการเป็นโรคหรือมีความผิดปกติ<br />

บางอย่างทีเป็นต้นกําเนิดของเนืองอก<br />

(Preneoplastic lesions)<br />

• การเป็นโรคหรือมีความผิดปกติบางอย่างทีเกียวข้อง<br />

กับ การเพิมจํานวนของเซลล์ ทังในกรณี ทีมีการ<br />

เปลียนแปลงของเซลล์จนกลายเป็นมะเร็ง<br />

(Cancerous transformation)<br />

– กรณีทีการเพิมจํานวนของเซลล์เพือการทดแทน<br />

ส่วนทีถูกทําลายไป (Regeneration)<br />

– การเพิมจํานวนของเซลล์เนืองจากสิงกระตุ้นเพือ<br />

การปร ับตัวของเซลล์ (Hyperplastic<br />

proliferation)<br />

– การเพิมจํานวนของเซลล์แบบทีผิดปกติ<br />

(Dysplastic proliferation)<br />

22


14/08/55<br />

Molecular basis of cancer<br />

• Endometrial hyperplasia สัมพ ันธ์กับ<br />

Endometrial carcinoma<br />

• Cervical dysplasia สัมพ ันธ์กับ Cervical<br />

carcinoma<br />

• Squamous metaplasia and dysplasia<br />

ใน หลอดลมซึงจะพบในคนสูบบุหรีนานๆ<br />

สัมพ ันธ์กับ Bronchogenic carcinoma<br />

• Nonlethal genetic damage<br />

• Clonal expansion of a single precursor<br />

cells ทีมี genetic damage<br />

• Four classes of normal regulatory genes<br />

• Multistep of carcinogenesis<br />

ปัจจ ัยทีจําเป็นสําหร ับ<br />

Malignant transformation<br />

• Self-sufficiency in growth signals<br />

(oncogenes)<br />

• Insensitivity to growth-inhibitory signals<br />

(tumor suppressor genes)<br />

• Evasion of apoptosis<br />

• Defects in DNA repair (mutator phenotype)<br />

• Limitless replicative potential<br />

• Sustained angiogenesis<br />

• Ability of invade and metastasis<br />

• Escape from immune attack<br />

Molecular basis of cancer<br />

• Oncogenes หมายถึง ยีนทีเป็นสาเหตุของมะเร็ง<br />

ซึงจะเปลียนแปลงมาจาก Protooncogenes ซึง<br />

เป็นยีนทีทําหน้าทีควบคุมการเจริญเติบโตของ<br />

เซลล์ปกติ<br />

สารเคมี<br />

Protooncogenes<br />

รังสี<br />

เชือโรค:เชือไวร ัส<br />

Oncogenes<br />

23


14/08/55<br />

กลไกหล ักทีทําให้เกิด<br />

การกระตุ้น Oncogenes<br />

(การเปลียนจาก Protooncogenes ไปเป็น Oncogenes)<br />

บทสรุปเกียวกับ Oncogenes<br />

• Activation by Mutation<br />

(การผ่าเหล่าของยีน)<br />

• Activation by Chromosomal<br />

Translocation<br />

• Activation by Gene Amplification<br />

Activation by Mutation<br />

(การผ่าเหล่าของยีน)<br />

• การผ่าเหล่าของยีนเพียงบางจุด หรือที<br />

เรียกว่า Point mutation ทําให้โปรตีนทีสร้าง<br />

จากยีนทีผ่าเหล่านันมีการทํางานผิดปกติและ<br />

เป็นสาเหตุของมะเร็ง เช่น<br />

– ras protooncogene ซึงจะพบความผิดปกติของ<br />

ยีนด ังกล่าวในมะเร็งลําไส้ใหญ่ หรือ มะเร็งปอด<br />

ชนิด Adenocarcinoma<br />

Activation by Chromosomal<br />

Translocation<br />

• การย้ายบางส่วนของโครโมโซม จากตําแหน่ง<br />

ปกติ ไปอีกตําแหน่งซึงอยู่บนโครโมโซมอืนๆ ทํา<br />

ให้มีการกระตุ้น Oncogenes ตามมา<br />

มะเร็งต่อมนํ าเหลืองชนิด<br />

Burkitt lymphoma<br />

• พบการย้ายตําแหน่งของยีน<br />

c-myc จากโครโมโซมที 8 มา<br />

อยู่บนโครโมโซมที 14 ซึงติดก ับ<br />

Immunoglobulin heavy<br />

chain (CH)<br />

•Fusion gene คือ c-myc/ CH<br />

ทําให้การเจริญทีผิดปกติของ<br />

เซลล์<br />

24


14/08/55<br />

Chronic myeloid leukemia<br />

• พบการย้ายตําแหน่งของยีน<br />

c-abl จากโครโมโซมที 9 มา<br />

อยู่บนโครโมโซมที 22 ซึงติด<br />

กับ bcr หรือ Breakpoint<br />

cluster region<br />

• bcr/abl fusion gene ทํา<br />

ให้สร้างโปรตีนทีผิดปกติไป<br />

กระตุ้นขบวนการเพิมจํานวน<br />

ของเซลล์ตามมา<br />

• ส่วนของโครโมโซมทีมี<br />

fusion gene อยู่ เรียก<br />

โครโมโซมด ังกล่าวว่า<br />

Philadephia chromosome<br />

Activation by<br />

Gene Amplification<br />

คือ การเพิมจํานวนของยีนเป็นเท่าตัว ทําให้<br />

มีการกระตุ้น Oncogenes ตามมา เช่น<br />

– การเพิมจํานวนของ N-myc protooncogenes<br />

ประมาณ 700 เท่า ในเนืองอกร้ายแรงชนิด<br />

Neuroblastoma และการพบความผิดปกติของยีน<br />

ดังกล่าวบ่งบอกถึงมีพยากรณ์โรคไม่ดี<br />

กลไกการทํางานของ Oncogenes<br />

กลไกการทํางานของ Oncogenes จะแบ่งตาม<br />

หน้าทีของยีนปกติทีเป็นต้นแบบ หรือ<br />

Protooncogenes ซึงควบคุมการเจริญเติบโตและ<br />

เพิมจํานวนของเซลล์ โดยการสร้างโปรตีนชนิดต่างๆ<br />

ออกเป็น 4 กลุ่ม คือ<br />

1. The growth-promoting protooncogenes<br />

2. The growth-inhibiting cancer-suppressor<br />

genes<br />

3. Genes that regulate programmed cell<br />

death, or apoptosis<br />

4. Genes that regulate repair of damaged DNA<br />

The growth-promoting<br />

protooncogenes<br />

เป็นยีนทีเกียวข้องก ับการเจริญและเพิม<br />

จํานวนของเซลล์ เมือมีความผิดปกติเกิด<br />

ขึนกับยีนดังกล่าว ส่งผลให้เกิดการเพิมจํานวน<br />

ของเซลล์จนกลายเป็นเนืองอกในทีสุด แม้ว่า<br />

ยังคงมี The growth-promoting<br />

protooncogenes ทีปกติอยู่ในอีกสายหนึง<br />

ของ DNA ก็ตาม ด ังนันยีนในกลุ่มนีจัดเป็น<br />

Dominant oncogenes<br />

25


14/08/55<br />

• c- sis เป็น Protooncogene ทีสร้าง Growth<br />

factors คือ Beta chain of platelet-derived<br />

growth factor (PDGF) เมือ Overexpression<br />

ของ c- sis ทําให้มีปริมาณ PDGFจับก ับPDGF<br />

receptor มาก เกิดเนืองอกของสมองชนิด<br />

Astrocytomas และ เนืองอกของกระดูก ชนิด<br />

Osteosarcomas<br />

• c- erb B2 เป็น protooncogene (also<br />

called c- neu) สร้าง Growth factor<br />

receptor คือ Epithelial growth factor<br />

receptor (EGF receptor) ชนิดหนึง และ<br />

Overexpression ของยีนนี พบในมะเร็งเต้านม<br />

มีผลต่อพยากรณ์โรคทีไม่ดี<br />

• ras protooncogene ซึงสร้าง ras protein เป็น<br />

ส่วนหนึงของ guanine triphosphate (GTP)-<br />

binding proteins นําส ัญญาณการกระตุ้นเพือ<br />

เพิมจํานวนของเซลล์ไปย ังนิวเคลียส และพบ<br />

mutation ของ ras gene ในเนืองอกหลายชนิด<br />

เช่น มะเร็งลําไส้ใหญ่ มะเร็งตับอ่อน และ มะเร็งของ<br />

ต่อมไทรอยด์ เป็นต้น<br />

• c- myc protooncogene เป็นโปรตีนทําหน้าที<br />

กระตุ้นให้เซลล์แบ่งต ัวเพิมจํานวนโดยกระตุ้น DNA<br />

transcription และ พบว่าถ้ามีความผิดปกติในการ<br />

ควบคุมc- myc สัมพ ันธ์ต่อการเกิด Burkitt<br />

lymphoma หรือ Amplification ของ c- myc<br />

gene จะส ัมพันธ์ต่อการเกิด มะเร็งเต้านม และ<br />

มะเร็งปอด<br />

The growth-inhibiting<br />

cancer-suppressor genes<br />

The growth-inhibiting cancer-suppressor<br />

genes หรือ Tumor – suppressor genes เป็นยีนที<br />

ทํางานตรงก ันข้ามก ับ The growth-promoting<br />

protooncogenes คือ เป็นยีนทีทําหน้าทียับยังการ<br />

เพิมจํานวนของเซลล์ หรือ ย ับยังการเกิดมะเร็ง ซึงต้อง<br />

มีความผิดปกติของยีน ดังกล่าวทัง 2 สาย DNA จึงจะ<br />

เกิดมะเร็ง ดังน ันจึงจัดยีนกลุ่มนีเป็น Recessive<br />

oncogenes<br />

26


14/08/55<br />

• Rb Gene สร้าง pRb ซึงเป็นโปรตีนชนิดหนึงทํา<br />

หน้าทียับยังขบวนการแบ่งตัวเพิมจํานวน<br />

– Rb ยับย ังไม่ให้เซลล์ผ่านจาก G1 phase ไปย ังS<br />

phase ของ cell cycle โดย การจ ับของ<br />

activate Rb กับ E2F ทําให้สร้าง Cyclin E ไม่ได้<br />

– Rb gene อยู่ที Chromosome 13q14 สัมพ ันธ์<br />

กับการเป็นมะเร็งชนิด Retinoblastoma ทีจอตา<br />

ทังแบบทีถ่ายทอดทางพ ันธุกรรม และเนืองอกที<br />

เกิดขึนเอง<br />

– มะเร็งเกือบทุกชนิดมีความผิดปกติของ G 1<br />

checkpoint เนืองจาก mutation ของ RB<br />

genes หรือยีนทีควบคุม RB function ได้แก่<br />

cyclin D, CDK4, and CDKIs.<br />

• Familial Retinoblastoma : ผู้ป่วยมีRb<br />

gene ทีผิดปกติบน Chromosome ข้างใดข้าง<br />

หนึงซึงมาจากบิดาหรือมารดาทีมียีนผิดปกติ<br />

ดังน ันเซลล์ทุกเซลล์ในร่างกายของผู้ป่วยจะมียีน<br />

ทีผิดปกติอยู่แล้วแต่ยังไม่มีการเปลียนแปลง<br />

เนืองจาก Rb gene เป็น Recessive oncogenes<br />

ต่อมามีการผ่าเหล่าของ Rb gene บน<br />

Chromosome ข้างทีเหลือภายในเซลล์เยือบุจอ<br />

ตา จึงเกิดการเปลียนแปลงเป็นมะเร็งทีจอตา<br />

• Sporadic Retinoblastoma: การผ่าเหล่า<br />

ของ Rb gene บนChromosome ทัง2 ข้างจะ<br />

เกิดขึนกับเซลล์เยือบุจอตาเอง<br />

27


14/08/55<br />

• p53 gene มีหน้าทีเปรียบเหมือน หน้าด่าน<br />

ป้องก ันการเกิดมะเร็ง โดยจะคอยป้ องก ันไม่ให้มี<br />

การบาดเจ็บ(สารพ ันธุกรรม)ของเซลล์นันรุนแรง<br />

มากขึน โดย The p53 protein จะอยู่ใน<br />

นิวเคลียส จะทําหน้าทีคอยย ับยังความผิดปกติที<br />

เกิดขึน เช่น ดังน ันเมือมีความผิดปกติเกิดขึนที<br />

DNA ในเซลล์ เนืองด้วย สารร ังสี สารเคมี หรือ<br />

แสงอุลตราไวโอเลต จะมีผลเพิม ระด ับของ p53<br />

protein ซึงจะไปจ ับกับ DNA ทําให้หยุดวงจรการ<br />

แบ่งตัวเพิมจํานวนน ัน ดังน ันการผ่าเหล่าของ p53<br />

gene บน Chromosomeทัง2ข้างจะส ัมพันธ์กับ<br />

การเกิดเนืองอก และมีผลต่อการตอบสนองต่อ<br />

การร ักษาด้วย<br />

• BRCA-1 and BRCA-2 Genes เป็น tumorsuppressor<br />

genes ทีสัมพันธ์ต่อการเกิดมะเร็ง<br />

โดยเฉพาะ มะเร็งเต้านม นอกจากน ันย ังสัมพ ันธ์<br />

ต่อการเกิดมะเร็งอีกหลายชนิด เช่น มะเร็งร ังไข่<br />

มะเร็งต่อมลูกหมาก และ มะเร็งลําไส้ใหญ่ การ<br />

ผ่าเหล่าของ BRCA-1 and BRCA-2 จะพบเป็น<br />

ส่วนใหญ่ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ทีมีประว ัติสมาชิก<br />

ในครอบคร ัวเป็นมะเร็งเต้านมมาก่อน ซึงแสดงถึง<br />

ว่ามีการถ่ายทอดทางพ ันธุกรรมของยีนดังกล่าว<br />

อย่างไรก็ตามปัจจุบ ันยังไม่ทราบหน้าทีของยีนทัง<br />

สอง แต่มีสมมุติฐานว่าน่าจะมีหน้าทีเกียวก ับการ<br />

ซ่อมแซมของ DNA<br />

Genes that regulate<br />

programmed cell death<br />

• คือยีนทีเกียวข้องก ับการควบคุมการตายของ<br />

เซลล์ ดังเช่น Bcl-2 gene ซึงจะย ับยัง<br />

ขบวนการตายของเซลล์ทีเรียกว่า Apoptosis<br />

ทําให้เซลล์ไม่ตาย ด ังนันจึงพบยีนดังกล่าว<br />

ประมาณ 85% ของ มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด<br />

B cell หรือ B cell lymphoma, Follicular<br />

type<br />

28


14/08/55<br />

Genes that regulate repair of<br />

damaged DNA<br />

• การทําลาย DNA จาก สารร ังสี แสงแดด และ<br />

อาหาร เกิดได้ตลอดเวลา อันเป็นสาเหตุของมะเร็ง<br />

หลายชนิด อย่างไรก็ตามเซลล์ของร่างกายมี<br />

ความสามารถในการซ่อมแซมสารพ ันธุกรรมและ<br />

สามารถป้ องก ันการผ่าเหล่าได้<br />

• ความผิดปกติของยีนทีควบคุมขบวนการ<br />

ซ่อมแซม DNA ตังแต่ระยะแรกๆ ทําให้มี<br />

โอกาสเกิดมะเร็งมากขึน<br />

– Hereditary non polyposis colon cancer<br />

(HNPCC) or Lynch syndrome จะพบมะเร็งที<br />

ลําไส้ใหญ่ส่วนต้นๆ และสามารถถ่ายทอดทาง<br />

พันธุกรรมได้ โดย 30% ของผู้ป่วยจะพบมีการ<br />

ผ่าเหล่าที hMLH1 gene ซึงเป็นยีนทีเกียวข้อง<br />

กับการซ่อมแซมสารพ ันธุกรรม<br />

– Xeroderma pigmentosum ซึงเป็นโรคที<br />

ผิวหน ังสัมพ ันธ์กับการเกิดมะเร็งทีผิวหนัง<br />

เนืองจากมีการผ่าเหล่าของยีนทีควบคุม<br />

ขบวนการซ่อมแซมสารพ ันธุกรรม<br />

ปัจจ ัยทีจําเป็นสําหร ับ<br />

Malignant transformation<br />

• Self-sufficiency in growth signals<br />

(oncogenes)<br />

• Insensitivity to growth-inhibitory signals<br />

(tumor suppressor genes)<br />

• Evasion of apoptosis<br />

• Defects in DNA repair (mutator phenotype)<br />

• Limitless replicative potential<br />

• Sustained angiogenesis<br />

• Ability of invade and metastasis<br />

• Escape from immune attack<br />

29


14/08/55<br />

ความสามารถในการแบ่งตัวแบบไม่จํากัด<br />

Limitless Replicative Potential<br />

• เซลล์ปกติซึงไม่มี telomerase เมือมีการแบ่งตัว<br />

จะทําให้ส่วนของ telomere สันลงไปเรือยๆ จนไม่<br />

เหลือและจะกระตุ้น cell cycle checkpoints ทํา<br />

ให้เกิด senescence เซลล์จะหยุดแบ่งตัวอีก<br />

• ในเซลล์มะเร็งที disabled checkpoints,<br />

ขบวนการ DNA repair pathways ทีเกิดจากผล<br />

telomere ทีสันลง ทําให้เกิด chromosomal<br />

instability และ mitotic crisis.<br />

• แต่ถ้ามะเร็งมีการสร้าง telomerase จะไม่เกิด<br />

mitotic catastrophe และเซลล์สามารถแบ่งตัว<br />

ไปได้เรือยๆ<br />

Development of<br />

Sustained Angiogenesis<br />

• เซลล์มะเร็งหรือ stromal cells ในเนืองอก สามารถ<br />

ควบคุมการเจริญของเส้นเลือดได้โดยสร้าง<br />

angiogenic และ anti-angiogenic factors<br />

• Hypoxia สามารถกระตุ้น angiogenesis ผ่าน<br />

กลไกของ HIF1α<br />

• VHL สามารถย ับยังการทํางานของ HIF1α ได้ จึง<br />

จัดเป็น tumor suppressor gene.<br />

• p53 ทําให้มี angiogenesis ได้โดยย ับยัง<br />

thrombospondin-1.<br />

30


14/08/55<br />

Ability to<br />

Invade and Metastasize<br />

การลุกลามของเซลล์มะเร็ง (Invasion)<br />

มี 4 ขันตอน:<br />

1. Loosening of cell-cell contacts โดยลดการ<br />

สร้าง E-cadherin<br />

2. Degradation of ECM – Proteolytic enzymes<br />

จาก tumor cellsย่อย basment membrane<br />

and interstitial matrix เช่น MMPs และ<br />

cathepsins<br />

3. Attachment to novel ECM components<br />

4. Migration of tumor cells.<br />

• เซลล์มะเร็งทีหลุดไปในกระแสเลือดจะหยุดตรง<br />

บริเวณ capillary bed ในอว ัยวะแรกทีเลือดไหลมา -<br />

lung and liver เกิด metastasis บ่อยทีสุด<br />

• มะเร็งบางชนิดมีแนวโน้มทีจะแพร่กระจายไปอว ัยวะ<br />

ใดอว ัยวะหนึงได้มากกว่าปกติ เรียกว่า organ<br />

tropism เนืองจากบนผิวเซลล์มะเร็งมี chemokine<br />

receptors ซึงจะจ ับกับ ligands ทีมีปริมาณมากใน<br />

อว ัยวะน ัน<br />

31


14/08/55<br />

The Clonal Origin of Cancer<br />

มะเร็งส่วนมากจะมีต้นกําเนิดมาจากเซลล์ทีมีความ<br />

ผิดปกติเพียงเซลล์เดียว จากน ันก็มีการเพิมจํานวน<br />

เซลล์จนกลายเป็นก้อนมะเร็ง<br />

• มะเร็งเม็ดเลือด ชนิด Multiple myeloma เป็นมะเร็ง<br />

ของ Plasma cell ซึงมีหน้าทีในการสร้าง<br />

Immunoglobulin และ Immunoglobulin ทีสร้าง<br />

จาก Plasma cell แต่ละเซลล์จะมีความแตกต่างก ัน<br />

ผลการตรวจ Immunoglobulin ใน Serum ของ<br />

ผู้ป่วยโรค Multiple myeloma พบมีการเพิมปริมาณ<br />

ของ Immunoglobulin เพียงชนิดเดียว เห็นเป็น<br />

Monoclonal spike จากการทํา Serum<br />

electrophoresis แสดงถึง Monoclonal origin<br />

Molecular Basis of<br />

Multistep Carcinogenesis<br />

• การเกิดมะเร็งนันประกอบด้วยความผิดปกติ<br />

หลายข ันตอน เช่น การเกิดมะเร็งลําไส้ ซึง<br />

การเปลียนแปลงจะเริมต้นจากการทีมีการผ่า<br />

เหล่าของ APC gene ซึงเป็น Tumor<br />

suppressor gene และต่อมาก็มีการกระตุ้น<br />

ของ ras oncogene ตามมา ปัจจุบันยังไม่<br />

พบว่ามียีนใดยีนหนึงทีสามารถก่อมะเร็งได้ใน<br />

ขันตอนเดียว<br />

32


14/08/55<br />

สาเหตุของมะเร็ง<br />

• ปัจจ ัยทีสามารถทําให้เกิดการบาดเจ็บหรือทํา<br />

ให้เกิดการผ่าเหล่าของยีน จนเกิดเป็นมะเร็ง<br />

ได้ ซึงจะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ<br />

1.กลุ่มสารเคมีก่อมะเร็ง - Chemical<br />

carcinogens<br />

2.กลุ่มร ังสีก่อมะเร็ง - Radiant energy<br />

3.กลุ่มเชือโรคทีสามารถก่อมะเร็ง - Oncogenic<br />

microbes ซึงส่วนใหญ่จะเป็นเชือไวร ัสก่อ<br />

มะเร็ง หรือ Viral carcinogenesis<br />

สารเคมีก่อมะเร็ง<br />

(Chemical Carcinogens)<br />

ขันตอนการเกิดมะเร็งเนืองจากสารเคมีก่อมะเร็ง มี<br />

หลายข ันตอน และสามารถแบ่งออกเป็นขันตอนหล ักๆ<br />

(The initiation-promotion sequence) คือ<br />

• ขันตอน Initiation: การส ัมผัสก ับสารเคมีก่อมะเร็ง<br />

ทําให้มีการทําลายสารพ ันธุกรรมอย่างถาวร<br />

• ขันตอน Promotion เป็นขันตอนทีจะกระตุ้นเซลล์ทีมี<br />

ความผิดปกติของสารพ ันธุกรรม ให้กลายเป็นมะเร็ง<br />

ดังน ันสิงทีเป็น Promoter นันจะไม่ใช่สารก่อมะเร็ง<br />

และไม่สามารถทําให้เซลล์ปกติกลายเป็นมะเร็งได้<br />

จากการทดลองพบว่า ถ้ามีแต่ Initiation โดย<br />

Promotion ตามมา ก็จะไม่เกิดมะเร็งในทีสุด<br />

สารเคมีก่อมะเร็งมีทังทีเป็น สารเคมีในธรรมชาติ<br />

และ สารเคมีทีสังเคราะห์ขึนมาเอง สามารถแบ่งตาม<br />

การออกฤทธิเป็น 2 กลุ่มคือ<br />

• สารเคมีทีสามารถออกฤทธิก่อมะเร็งได้เลย หรือ<br />

Direct-acting compound<br />

• สารเคมีทีผ่านขบวนการเมตาบอลิซึมก่อนจึงจะมี<br />

ฤทธิก่อมะเร็งได้ หรือ Indirect-acting<br />

compound (Procarcinogen) และ ส่วนใหญ่ของ<br />

สารเคมีก่อมะเร็งจะเป็นกลุ่มหล ัง คือ ต้องผ่าน<br />

ขบวนการเมตาบอลิซึมก่อนจึงจะมีฤทธิก่อมะเร็ง<br />

การก่อมะเร็งของสารเคมีนันย ังขึนกับ<br />

• ขบวนการทําลายพิษสารเคมี (Detoxification)<br />

และการข ับสารเคมีออกจากร่างกาย<br />

• เพศ ภาวะฮอร์โมน และ อาหาร<br />

33


14/08/55<br />

• Polycyclic aromatic hydrocarbons จากการสูบ<br />

บุหรี ส ัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งปอดและกระเพาะ<br />

ปัสสาวะ นอกจากน ันการส ัมผัสก ับสารเคมีในกลุ่มนี<br />

benzopyrene หรือ 3-methylcholanthrene หรือ<br />

dibenzanthracene ทีอวัยวะใดก็สามารถก่อมะเร็ง<br />

ทีอวัยวะน ันได้<br />

• Aflatoxin โดยเฉพาะ Aflatoxin B1 จาก เชือรา<br />

Aspergillus flavus มักพบปนเปื อนอยู่กับอาหาร<br />

จําพวกถ ัว สัมพ ันธ์กับการเป็นมะเร็งตับ<br />

• Aromatic Amines และ Azo Dyes การส ัมผัสก ับ<br />

สารเคมีดังกล่าวในสถานทีทํางาน หรือ จากการ<br />

ทํางานส ัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งตับและกระเพาะ<br />

ปัสสาวะ<br />

• Nitrosamines เป็นสารก่อมะเร็งทีสําค ัญ ซึงจะ<br />

ปนเปื อนในอาหาร และเกียวข้องก ับการเกิดมะเร็ง<br />

ของอว ัยวะในทางเดินอาหาร อันได้แก่ มะเร็ง<br />

กระเพาะอาหาร และ มะเร็งหลอดอาหาร<br />

• สารโลหะชนิดต่างๆ เช่น นิกเกิล สารตะก ัว แคดเมียม<br />

โคลบอล สามารถทําลายสารพ ันธุกรรม ทําให้เกิด<br />

การผ่าเหล่าของยีน และเกิดเป็นมะเร็งได้<br />

• สารเคมีอืนๆ เช่น Asbestos จะส ัมพันธ์กับการเกิด<br />

มะเร็งปอด ชนิด Bronchogenic carcinoma,<br />

Mesothelioma และมะเร็งทีทางเดินอาหาร สาร<br />

Vinyl chloride ซึงเกียวข้องก ับการเกิดมะเร็งทีตับ<br />

ชนิด Angiosarcoma และ สาร Arsenic กับการเกิด<br />

มะเร็งทีผิวหน ัง<br />

รังสีก่อมะเร็ง ( Radiant energy)<br />

• รังสีอุลตราไวโอเลต (Ultraviolet Radiation)<br />

คือ สารร ังสีก่อมะเร็งทีสําค ัญในสิงแวดล้อม ซึง<br />

เกียวข้องก ับมะเร็งทีผิวหน ัง โดยเฉพาะ ส่วนที<br />

สัมผ ัสกับแสงแดด อ ันได้แก่ มะเร็งชนิด Basal<br />

cell carcinoma, Squamous cell carcinoma<br />

และ Melanoma และส ังเกตว่า อุบัติการณ์ของ<br />

มะเร็ง ชนิด Melanoma จะลดลงในประชากรผิว<br />

ดํา เนืองจากทีผิวหน ังมีเม็ดสีผิวมากทําให้สามารถ<br />

ดูดซึมรังสีอุลตราไวโอเลต ไม่ให้ไปทําลายเซลล์<br />

ผิวหน ังได้มาก<br />

รังสีก่อมะเร็ง ( Radiant energy)<br />

• สารก ัมมันตภาพร ังสี (Ionizing radiation)<br />

สามารถก่อมะเร็งได้ ดังเห็นได้จากภายหล ังการ<br />

ทิงระเบิดทีฮิโรชิมาและนางาซากิ ผู้ทีรอดชีวิต<br />

จากเหตุการณ์ด ังกล่าว มีอุบัติการณ์การเกิด<br />

มะเร็งเม็ดเลือด ชนิด Leukemia ทีสูงมาก และ<br />

แม้กระท ังร ังสีทีใช้รักษาโรคก็สามารถก่อมะเร็งได้<br />

เช่น พบอุบ ัติการณ์การเกิดมะเร็งต่อมไทรอยด์<br />

ชนิด Papillary carcinoma ทีสูงกว่าปกติ ใน<br />

ผู้ป่วยซึงเคยได้รับการร ักษาด้วยร ังสีในบริเวณ<br />

ศรีษะและลําคอมาก่อน<br />

34


14/08/55<br />

เชือโรคทีก่อมะเร็ง<br />

(Oncogenic microbes)<br />

• เชือโรคทีก่อมะเร็ง ซึงส่วนใหญ่จะเป็นเชือไวร ัสก่อ<br />

มะเร็ง หรือ Viral carcinogenesis เชือโรคส่วนน้อย<br />

ทีก่อมะเร็งและไม่ใช่ไวร ัส อันได้แก่ เชือแบคทีเรีย<br />

Helicobacter pylori ซึงก่อมะเร็งทีกระเพาะอาหาร<br />

ทังชนิด Lymphoma และ Carcinoma<br />

• เชือไวร ัสก่อมะเร็ง มีทังทีเป็น ไวร ัสทีมี DNA เป็นสาร<br />

พันธุกรรม เรียกว่า DNA virus และ ไวร ัสทีมี RNA<br />

เป็นสารพ ันธุกรรม เรียกว่า RNA virus<br />

DNA virus ทีก่อมะเร็ง<br />

Human papilloma virus (HPV)<br />

ทีค้นพบแล้วมีประมาณ มากกว่า 70 ชนิด<br />

• HPV type 1, 2, 4 และ 7 จะเป็นสาเหตุของเนือ<br />

งอกไม่ร้ายแรง ชนิด Squamous papilloma<br />

หรือ Wart<br />

• HPV type 16, 18, 31, 33, 35 และ 51 จะ<br />

เกียวข้องก ับมะเร็งชนิด Squamous cell<br />

carcinoma โดยเฉพาะทีปากมดลูก<br />

• HPV type 6 และ 11 จะเกียวข้องก ับSquamous<br />

dysplasia<br />

Epstein-Barr virus (EBV)<br />

ไวร ัสชนิดนีจะเกียวข้องก ับ การเกิดมะเร็งชนิด<br />

Burkitt lymphoma โดยเฉพาะชาวแอฟริกา ซึง<br />

เป็นมะเร็งของเซลล์เม็ดเลือดขาวลิมโฟซัย ชนิด<br />

B (หรือมะเร็งต่อมนํ าเหลือง) นอกจากน ันจะพบ<br />

สัมพ ันธ์กับการเกิดมะเร็งที Nasopharynx ชนิด<br />

Squamous cell carcinoma โดยเฉพาะชาว<br />

แอฟริกา และ ชาวเอเชีย<br />

Hepatitis B virus (HBV)<br />

การติดเชือไวร ัสชนิดนีทีตับแบบเรือร ังจะ<br />

เกียวข้องก ับการเกิดมะเร็งต ับ ชนิด<br />

Hepatocellular carcinoma<br />

RNA virus ทีก่อมะเร็ง<br />

Human T-Cell Leukemia Viruses I (HTLV I)<br />

ซึงจะติดเชือทีเซลล์เม็ดเลือดขาวลิมโฟซัย ชนิด T<br />

ทําให้มีการเพิมจํานวนของเซลล์ดังกล่าว ร่วมก ับการ<br />

ผ่าเหล่าของยีน จึงเกิดมะเร็งของ เม็ดเลือดขาวลิม<br />

โฟซัย ชนิด T ทังทีเป็นชนิด T cell leukemia และ<br />

lymphoma<br />

35


14/08/55<br />

Host defense against tumors<br />

• Tumor antigens<br />

– Tumor-specific antigens: พบใน tumor<br />

cells เท่านัน<br />

– Tumor-associated antigens: พบได้ทังใน<br />

tumor และ normal cells<br />

Host defense against tumors<br />

• Main classes of tumor antigens:<br />

1. Products ของ mutated oncogenes และ<br />

tumor suppressor genes<br />

2. Products ของ mutated genes อืนๆ<br />

3. Overexpressed หรือ aberrantly<br />

expressed cellular proteins<br />

4. Tumor antigens จาก oncogenic viruses<br />

5. Oncofetal antigens: CEA, alphafetoprotein<br />

6. Altered cell surface glycolipids และ<br />

glycoproteins: CA-125, CA19-9<br />

Immune surveillance<br />

• Tumor cells สามารถตรวจจ ับและร ับรู้ได้โดย<br />

immune system ว่าเป็นสิงแปลกปลอม (nonself)<br />

และถูกทําลาย<br />

• การทําลายเซลล์มะเร็งส่วนมากเป็น cellmediated<br />

mechanisms.<br />

• Tumor antigens ทีแสดงบนผิวเซลล์โดย MHC<br />

class I molecules สามารถถูกตรวจจ ับโดย<br />

CD8+ CTLs.<br />

36


14/08/55<br />

• Immunosuppressed patients มีโอกาส<br />

เป็นมะเร็งได้มากกว่าคนปกติ<br />

• มะเร็งทีเกิดในคนทีอิมมูนปกติ ซึงแสดงว่า<br />

เซลล์มะเร็งสามารถหล ักเลียงการถูกตรวจจ ับ<br />

โดย immune system<br />

– มีการค ัดเลือกเซลล์มะเร็งทีเป็น antigennegative<br />

variants<br />

– มีสูญเสียการแสดงของ histocompatibility<br />

antigens<br />

– มีการสร้าง immunosuppression factors<br />

(e.g., TGF-β) โดยเซลล์มะเร็ง<br />

Cell Type-Specific<br />

Differentiation antigens<br />

• มีความจําเพาะก ับlineages or differentiation<br />

ของเซลล์มะเร็งแต่ละชนิด<br />

• สามารถเอามาประยุกต์ใช้ในการร ักษามะเร็ง<br />

(immunotherapy) เช่น CD10 และ CD20 เป็น<br />

surface markers ของ B-cell-derived tumors,<br />

ดังน ัน antibodies ทีจับกับ CD20 สามารถนํามาใช้<br />

รักษา B-cell lymphoma ได้<br />

• การวินิจฉัยหาเซลล์ต้นกําเนิดของมะเร็ง<br />

(immunohistochemistry) เช่น CD3 (T-cell),<br />

CD20 (B-cell), cytokeratin (carcinoma), HMB-<br />

45 (melanoma), CD31 (endothelium) etc.<br />

ลักษณะทางคลินิกของเนืองอก<br />

CLINICAL FEATURES OF TUMORS<br />

เนืองอกบางชนิดอาจทําให้มีอาการเพียง<br />

เล็กน้อย หรือบางชนิดทําให้มีอาการรุนแรงจนเป็น<br />

สาเหตุให้เสียชีวิตได้เช่นก ัน เนืองอกทุกชนิดไม่<br />

ว่าจะเป็นชนิดร้ายแรง หรือไม่ร้ายแรงอาจทําให้<br />

เกิดการเจ็บป่วยหรือตายได้<br />

37


14/08/55<br />

ผลกระทบของผู้ป่วยอ ันเนืองจากเนืองอก<br />

Effects of Tumor on Host<br />

• ตําแหน่งของเนืองอก และผลกระทบต่อ<br />

เนือเยือ หรือ อว ัยวะข้างเคียง<br />

• การสร้างฮอร์โมนโดยเนืองอก<br />

• การติดเชือแทรกซ้อน หรือ ภาวะเลือดออก<br />

ซึงเป็นผลจากเนืองอก<br />

• ผลจากการทีมีเนือเยือตายเนืองจากการ<br />

ขาดเลือด และ การปริแยกของอว ัยวะ<br />

ตําแหน่งของเนืองอก และผลกระทบต่อ<br />

เนือเยือ หรือ อว ัยวะข้างเคียง<br />

Pituitary adenoma<br />

เป็นเนืองอกไม่ร้ายแรงทีต่อมใต้สมอง ซึงเนืองอก<br />

นีอาจจะมีการสร้างฮอร์โมน หรือไม่ก็ได้ แต่การ<br />

ขยายขนาดของก้อนเนืองอกจะทําให้มีการกด<br />

เบียดและทําลายต่อมใต้สมองส่วนอืน อันเป็นผล<br />

ทําให้เกิดความผิดปกติของการหล ังฮอร์โมน<br />

ตามมาได้ และ เช่นเดียวก ันถ้ามะเร็งจากทีอืน<br />

แพร่กระจายมาทีต่อมใต้สมองก็จะมีผลทําให้เกิด<br />

ความผิดปกติขอการหล ังฮอร์โมนตามมาได้<br />

เช่นก ัน<br />

ตําแหน่งของเนืองอก และผลกระทบต่อ<br />

เนือเยือ หรือ อว ัยวะข้างเคียง<br />

• Colonic tumor<br />

เนืองอกทีลําไส้ใหญ่ไม่ว่าจะเป็นเนืองอกไม่<br />

ร้ายแรง หรือ มะเร็ง ถ้ามีขนาดใหญ่ก็อาจจะทําให้<br />

เกิดการอุดต ันของลําไส้ตามมาได้ หรือ บางคร ัง<br />

การมีก้อนทีลําไส้มีผลทําให้การเคลือนต ัวของ<br />

ลําไส้ผิดปกติและเกิดลําไส้กลืนก ันหรือทีเรียกว่า<br />

Intussusception ได้<br />

มะเร็งลําไส้ใหญ่<br />

ขนาดใหญ่ทําให้เกิด<br />

การอุดต ันของลําไส้<br />

ตามมาได้<br />

38


14/08/55<br />

การสร้างฮอร์โมนโดยเนืองอก<br />

เนืองอกทีกําเนิดจากเซลล์ของต่อมไร้ท่ออาจจะ<br />

สร้างฮอร์โมนและทําให้เกิดอาการทางคลินิกต่างๆ<br />

Beta-cell adenoma<br />

เนืองอกไม่ร้ายแรงของต ับอ่อน และ กําเนิดมาจาก<br />

เซลล์ Beta (ทีมีหน้าทีสร้างฮอร์โมนอินซูลิน) แล้วมี<br />

การสร้างฮอร์โมนอินซูลิน เกิดภาวะฮอร์โมนอินซูลิน<br />

ในเลือดมากและทําให้มีการนํากลูโคสเข้าเซลล์<br />

จนกระท ังปริมาณกลูโคสในเลือดตํามากๆ เป็นผลให้<br />

เสียชีวิตได้<br />

การติดเชือแทรกซ้อน หรือ ภาวะเลือดออก<br />

ซึงเป็นผลจากเนืองอก<br />

การกดเบียดเนือเยือข้างเคียงของเนืองอกไม่ร้ายแรง<br />

หรือ การรุกรานเนือเยือข้างเคียงโดยเซลล์มะเร็งมีผล<br />

ทําให้เกิดแผลทีเยือบุหรือผิวหน ัง เลือดออก และ มี<br />

โอกาสติดเชือแทรกซ้อนตามมา<br />

Gastric mass<br />

ทําให้มีเลือดออกและมีอุจจาระสีดําเหมือนยางมะตอย<br />

เรียกว่า Melena แต่ถ้ามีเลือดออกจํานวนมากแล้วมี<br />

อาการอาเจียรออกมาเป็นเลือด เรียกว่า<br />

Hematemesis<br />

Mass at urinary tract<br />

• ทําให้มีบาดแผลและมีเลือดออก ก็จะพบมีเลือดปนมา<br />

กับนํ าปัสสาวะ (Hematuria)<br />

ผลจากการทีมีเนือเยือตาย<br />

จากการขาดเลือด และ การปริแยกของอว ัยวะ<br />

การเจริญเติบโตของมะเร็งทีรวดเร็วทําให้เลือด<br />

ไปเลียงไม่พอ อาจทําให้เนืองอกบางส่วนทีไกลจาก<br />

เส้นเลือดเกิดการขาดเลือดและตายได้ หรือ การปริ<br />

แยกของ Hepatic capsule เนืองจากการ<br />

เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของมะเร็งต ับ ทําให้มี<br />

เลือดออกในช่องท้อง<br />

สภาพร่างกายทีไม่แข็งแรงเนืองจากมะเร็ง<br />

CANCER CACHEXIA<br />

สภาพร่างกายทีไม่แข็งแรงเนืองจากมะเร็ง นันจะ<br />

มีลักษณะด ังนี คือ ร่างกายจะผ่ายผอมลง เนืองจาก มี<br />

การลดลงของปริมาณไขม ันและขนาดของกล้ามเนือ<br />

ในร่างกาย มีอาการอ่อนแรง เบืออาหาร และ มีภาวะ<br />

โลหิตจางร่วมด้วย จากหล ักฐานการแพทย์ปัจจุบัน<br />

คาดว่าอาการนีเป็นผลเนืองจากการหล ังสารจําพวก<br />

Cytokines ของเซลล์มะเร็ง หรือผลจากการ<br />

ตอบสนองของร่างกายต่อมะเร็ง<br />

39


14/08/55<br />

PARANEOPLASTIC SYNDROMES<br />

กลุ่มอาการอ ันเป็นผลกระทบจากปฏิกิริยาของ<br />

เนืองอกอาจจะเกิดเนืองจากการกระจายของเนืองอก<br />

ไปย ังเนือเยือข้างเคียง หรือ อว ัยวะทีห่างไกล หรือ<br />

เป็นผลจากการทีร่างกายตอบสนองต่อฮอร์โมนที<br />

สร้างโดยเนืองอก( โดยเซลล์ต้นกําเนิดของเนืองอก<br />

ดังกล่าวไม่ใช่เซลล์ทีมีหน้าทีสร้างฮอร์โมนมาก่อน)<br />

ซึงพบว่า เพียง 10% ของผู้ป่วยมะเร็งทีจะพบมี<br />

Paraneoplastic syndrome<br />

PARANEOPLASTIC SYNDROMES<br />

ความสําค ัญของกลุ่มอาการนี คือ<br />

1. กลุ่มอาการด ังกล่าว อาจจะเป็นอาการเริมต้นของ<br />

เนืองอกทีมีขนาดเล็ก ดังน ันจะทําให้สามารถตรวจ<br />

พบมะเร็งต ังแต่ระยะเริมต้น<br />

2. กลุ่มอาการด ังกล่าวอาจจะรุนแรงและเป็นเหตุให้<br />

ผู้ป่วยเสียชีวิตได้<br />

3. กลุ่มอาการด ังกล่าวมีลักษณะคล้ายคลึงกับอาการที<br />

มีการแพร่กระจายของมะเร็ง อาจจะทําให้สับสนใน<br />

การร ักษาได้<br />

Endocrinopathies<br />

อาการผิดปกติเนืองจากร่างกายตอบสนองต่อ<br />

ฮอร์โมนทีสร้างโดยเนืองอกจะเป็นกลุ่มอาการ<br />

อันเป็นผลกระทบจากปฏิกิริยาของเนืองอก หรือ<br />

Paraneoplastic syndromes ทีพบบ่อยทีสุด<br />

– เนืองจากเนืองอกทีสร้างฮอร์โมนนันมิใช่เนือ<br />

งอกทีกําเนิดมาจากเซลล์ของต่อมไร้ท่อซึงมี<br />

หน้าทีสร้างฮอร์โมน ดังน ันฮอร์โมนทีสร้าง<br />

โดย เนืองอก จัดเป็น การสร้างฮอร์โมนแบบ<br />

ผิดทีหรือผิดตําแหน่ง (Ectopic hormone<br />

production)<br />

Cushing syndrome<br />

เป็นความผิดปกติทีพบบ่อย เกิดจากการสร้าง<br />

Adrenocorticotropic hormone (ACTH) หรือ<br />

สารทีออกฤทธิคล้ายก ับACTHมากกว่าปกติ และ<br />

50% ของผู้ป่วยทีมีอาการ Cushing syndrome<br />

จะเป็นมะเร็งทีปอด โดยเฉพาะชนิด Small cell<br />

carcinoma<br />

40


14/08/55<br />

ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง (Hypercalcemia)<br />

อาจจะเป็นความผิดปกติทีพบบ่อยทีสุด จากการทีเนือ<br />

งอกทีอยู่นอกกระดูกมีการผลิต Calcium humeral<br />

substances - Parathyroid hormone-related<br />

protein มะเร็งทีสัมพ ันธ์ Paraneoplastic<br />

syndromes นี ได้แก่ มะเร็งเต้านม มะเร็งปอด มะเร็ง<br />

ของไต และ มะเร็งร ังไข่ แต่ถ้าเป็นชนิดของมะเร็ง<br />

ปอดทีพบว่าสัมพ ันธ์กับภาวะด ังกล่าวมากทีสุด คือ<br />

Squamous cell carcinoma<br />

ถ้าภาวะแคลเซียมในเลือดสูงเกิดจากการสลายเนือ<br />

กระดูกของเนืองอกบางชนิดซึงเกิดทีกระดูกเช่น<br />

Multiple myeloma หรือ เกิดจากมะเร็ง<br />

แพร่กระจายมาทีกระดูกจะไม่จัดเป็น<br />

Paraneoplastic syndrome<br />

Neuromyopathic paraneoplastic<br />

syndromes<br />

เป็นอาการผิดปกติทีหลากหลายของระบบประสาท<br />

และกล้ามเนือ เช่น Myasthenic syndrome ทีคล้าย<br />

กับ Myasthenia gravis มักจะพบในผู้ป่วยมะเร็ง<br />

ปอด สาเหตุทีทําให้เกิดอาการด ังกล่าวย ังไม่เป็นทีแน่<br />

ชัด แต่คาดว่าจะเป็นผลเนืองจากระบบภูมิคุ้มก ันต่อ<br />

เนืองอก<br />

Dermatologic Disorder<br />

• Acanthosis nigricans คือ การหนาต ัวของ<br />

ผิวหน ังมีลักษณะเป็นหย่อมๆสีเทา-ดํา (Grayblack<br />

patches of verrucous hyperkeratosis)<br />

มักจะส ัมพันธ์กับมะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็ง<br />

ปอด<br />

Osseous, Articular,<br />

and Soft Tissue Change<br />

• Hypertrophic osteoarthropathy<br />

เป็นเปลียนแปลงที Distal ends of long bones,<br />

Metatarsals, Metacarpals และ Proximal<br />

phalanges โดยจะพบมีการสร้างเนือกระดูกเพิมเติม<br />

แถว Periosteum มีการอ ักเสบของข้อต่อ และ มีการ<br />

โตขึนของปลายนิวทีเรียกว่า Clubbing of Fingers<br />

อาการด ังกล่าวมักจะพบในผู้ป่วยมะเร็งปอด<br />

41


14/08/55<br />

Vascular and Hematologic Changes<br />

• Migratory thrombophlebitis (Trousseau<br />

syndrome)<br />

มักจะพบในผู้ป่วยมะเร็งต ับอ่อน และมะเร็งปอด ทําให้<br />

มีการแข็งต ัวของเลือด กลายเป็น Thrombi อยู่ใน<br />

เส้นเลือดดํา<br />

• Disseminated intravascular coagulation<br />

มักจะพบในผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาว ชนิด Acute<br />

promyelocytic leukemia และมะเร็งต่อมลูกหมาก<br />

Grading and Staging<br />

Grade และ Stage ของเนืองอกแสดงถึง<br />

พฤติกรรมของเนืองอกน ันๆ และบ่งบอกถึงพยากรณ์<br />

โรคและแนวทางการร ักษา<br />

Histologic Grading of tumor<br />

• อาศ ัยระด ับDifferentiation ของเนืองอก<br />

และ จํานวนของการแบ่งตัวหรือ Mitoses<br />

เพือบอกพฤติกรรมของเนืองอกน ันๆ<br />

โดยท ัวไปแบ่งออกเป็น 4 Grades หรือ 3<br />

Grades<br />

• ถ้าเนืองอกมีระด ับDifferentiation ทีใกล้เคียง<br />

กับ ในเซลล์หรือเนือเยือต้นกําเนิดทังในด้าน<br />

ลักษณะรูปร่างและการทํางาน (Function) แสดง<br />

ถึงว่า เนืองอกชนิดดังกล่าวมีการเจริญทีดี หรือที<br />

เรียกว่ามี Well differentiation ร่วมก ับมี<br />

Mitoses น้อย ก็จะจ ัดอยู่ใน Grade I<br />

• แต่ในทางตรงก ันข้ามล ักษณะการเจริญของเนือ<br />

งอกมีลักษณะแตกต่างจากเซลล์หรือเนือเยือปกติ<br />

ทีเป็นต้นกําเนิดมากจนแทบจะบอกเซลล์หรือ<br />

เนือเยือต้นกําเนิดไม่ได้ ร่วมก ับมี Mitoses มาก ก็<br />

อาจจะจ ัดอยู่ใน Grade IV ในทางคลินิกแล้ว การ<br />

Grading ของเนืองอก มีความสําค ัญน้อยกว่า การ<br />

Staging ของเนืองอก<br />

42


14/08/55<br />

การ Staging ของเนืองอก<br />

• อาศ ัยคุณล ักษณะของเนืองอก 3 ประการ คือ<br />

– ขนาดของเนืองอก (T)<br />

– การแพร่กระจายของเนืองอกไปตามต่อม<br />

นํ าเหลืองบริเวณเนืองอก (N)<br />

– การมีการแพร่กระจายของเนืองอกไปตาม<br />

กระแสเลือด (M)<br />

The Union International<br />

Centre Cancer (UICC)<br />

1. แบ่งขนาดของเนืองอก เป็น 4 หรือ 5 ระด ับ<br />

(T0-T3 or 4) โดย T0 คือ เนืองอกทียังไม่มี<br />

การรุกรานเนือเยือข้างเคียงมีขนาดเล็ก<br />

2. การแพร่กระจายของเนืองอกไปตามต่อม<br />

นํ าเหลือง แบ่งเป็น 3-4 ระด ับขึนกับตําแหน่งและ<br />

จํานวนของต่อมนํ าเหลืองทีมีการกระจายของเนือ<br />

งอก (N0-N2 or 3)โดย N0 คือไม่มีการกระจาย<br />

ของเนืองอกไปทีต่อมนํ าเหลือง<br />

3. การแพร่กระจายของเนืองอกไปตามกระแสเลือด<br />

แบ่งเป็น 3 ระด ับ(M0-M2) โดย M0 คือไม่มีการ<br />

กระจายของเนืองอกไปตามกระแสเลือด<br />

43


14/08/55<br />

Laboratory Diagnosis<br />

of Cancer<br />

การซักประว ัติและตรวจร่างกายก็เป็น<br />

วิธีการหนึงจะช่วยวินิจฉัยเนืองอก แต่ถ้าไม่<br />

แน่ใจว่า เป็น เนืองอกไม่ร้ายแรง หรือ มะเร็ง<br />

ก็ต้องทําการตรวจวินิจฉัยเพิมเติม<br />

• Histologic and Cytologic Methods คือ<br />

การตรวจระด ับเซลล์และเนือเยือเพือการ<br />

วินิจฉัยโรค<br />

• Molecular Diagnosis คือ การตรวจระด ับ<br />

โครโมโซม ยีน และโปรตีนเพือยืนยันความ<br />

ผิดปกติและช่วยวินิจฉัยโรค<br />

• Flow Cytometry คือ การตรวจหาปริมาณ<br />

ของ DNA จากแต่ละเซลล์ ช่วยบอก<br />

พยากรณ์โรคได้<br />

• Tumor Markers.คือ การตรวจหาโมเลกุล<br />

ทีปรากฏอยู่ในเนืองอกน ันๆ โดยการตรวจ<br />

ในเลือดและสารนํ าในช่องต่างๆของร่างกาย<br />

Tumor Markers.<br />

การตรวจหา Tumor markers มักจะไม่ใช่เพือการ<br />

วินิจฉัย แต่จะใช้ในการติดตามการร ักษา การบอก<br />

พยากรณ์โรค แบ่งออกเป็น กลุ่ม cell surface<br />

antigens กลุ่ม cytoplasmic proteins กลุ่ม<br />

enzymes กลุ่ม hormones.<br />

กลุ่ม hormones<br />

• Human chorionic gonadotropin พบใน<br />

Trophoblastic tumors และ nonseminomatous<br />

testicular tumors<br />

• Calcitonin พบใน Medullary carcinoma of<br />

thyroid<br />

• Catecholamine and metabolites พบใน<br />

Pheochromocytoma<br />

44


14/08/55<br />

กลุ่ม cell surface antigens<br />

• alpha-fetoprotein พบใน Liver cell cancer และ<br />

nonseminomatous germ cell tumors of testis<br />

• Carcinoembryonic antigen พบใน Carcinomas<br />

of the colon, pancreas, lung, stomach, and<br />

breast<br />

กลุ่ม cytoplasmic proteins<br />

• Immunoglobulins พบใน Multiple myeloma<br />

• Prostate-specific antigen พบใน Prostate<br />

cancer<br />

• CA-125 พบใน Ovarian cancer<br />

• CA-19-9 พบใน Colon cancer, pancreatic<br />

cancer<br />

• CA-15-3 พบใน Breast cancer<br />

กลุ่ม enzymes<br />

• Prostatic acid phosphatase พบใน Prostate<br />

cancer<br />

• Neuron-specific enolase พบใน Small cell<br />

cancer of lung และ Neuroblastoma<br />

Principles of cancer therapy<br />

• การผ่าตัด Surgery<br />

• การให้ยา Chemotherapy<br />

(cytotoxic drugs & small molecule)<br />

• การฉายแสง Radiotherapy<br />

• Supportive and palliative care<br />

จบการบรรยาย<br />

45

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!