17.01.2015 Views

Review Problems

Review Problems

Review Problems

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

EBM: <strong>Review</strong> <strong>Problems</strong> จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์<br />

<strong>Review</strong> <strong>Problems</strong><br />

1. จงตอบคำถามต่อไปนี้<br />

(a) กำหนดให้รากของสมการลักษณะเฉพาะของสมการโคชี-ออย์เลอร์คือ 0, 0, 0,<br />

−3, 1±2i, 1±2i จงเขียนผลเฉลยทั่วไปของสมการโคชี-ออย์เลอร์นี้<br />

(b) จงหาผลเฉลยของปัญหาค่าเริ่มต้นต่อไปนี้<br />

4x 2 y ′′ +8xy ′ +17y = 0, y(1) = 2, y ′ (1) = −3<br />

2. จงใช้วิธีการเทียบสัมประสิทธิ์หาผลเฉลยทั่วไปของสมการ y ′′′ +2y ′′ −y ′ −2y = e x +x 2<br />

คำตอบ y(x) = c 1 e x +c 2 e −x +c 3 e −2x − 1 2 x2 + 1 2 x− 5 4 + 1 6 xex<br />

3. จงใช้วิธีการเทียบสัมประสิทธิ์หาผลเฉลยเฉพาะของสมการ y ′′′ +y ′′ = x+e −x<br />

คำตอบ y p (x) = 1 6 x3 − 1 2 x2 +xe −x<br />

4. จงใช้วิธีการแปรผันพารามิเตอร์หาผลเฉลยเฉพาะของสมการ y ′′′ −y ′′ −y ′ +y = e x<br />

คำตอบ y p (x) = ex 8 − xex<br />

4 + x2 e x<br />

2<br />

5. จงใช้วิธีการแปรผันพารามิเตอร์หาผลเฉลยของสมการ y ′′′ −2y ′′ +y ′ = e 2x<br />

คำตอบ y(x) = c 1 +c 2 e x +c 3 xe x + e2x<br />

2<br />

6. จงหาผลเฉลยของสมการ x 3 y ′′′ −2xy ′ +4y = 0<br />

คำตอบ y(x) = c 1 x −1 +c 2 x 2 +c 3 x 2 lnx<br />

7. จงหาผลเฉลยทั่วไปของสมการ x 3 y ′′′ +5x 2 y ′′ +7xy ′ +8y = 0<br />

คำตอบ y(x) = c 1 x −2 +c 2 cos(2lnx)+c 3 sin(2lnx)<br />

8. จงหาผลเฉลยของสมการ x 3 y ′′′ +2x 2 y ′′ +4xy ′ −4y = 0<br />

คำตอบ y(x) = c 1 x+c 2 cos(2lnx)+c 3 sin(2lnx)<br />

9. จงใช้วิธีการแปรผันพารามิเตอร์หาผลเฉลยของสมการ<br />

x 3 y ′′′ +x 2 y ′′ −2xy ′ +2y = xlnx<br />

คำตอบ y(x) = c 1 x −1 +c 2 x+c 3 x 2 − xlnx<br />

4<br />

− 3x 8 − x(lnx)2<br />

4<br />

10. กำหนดให้ y 1 (x) = x, y 2 (x) = x 2 และ y 3 (x) = x 3 เป็นผลเฉลยที่เป็นอิสระเชิงเส้นของสมการ<br />

เอกพันธ์ที่สมนัยกับสมการ<br />

จงหาผลเฉลยเฉพาะของสมการที่กำหนดให้<br />

x 3 y ′′′ −3x 2 y ′′ +6xy ′ −6y = 2, x > 0<br />

คำตอบ y p (x) = − 1 3<br />

1


2<br />

EBM: <strong>Review</strong> <strong>Problems</strong> จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์<br />

11. จงตอบคำถามต่อไปนี้<br />

(a) จงยกตัวอย่างสมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสองที่มีจุด x = 0 เป็นจุดเอกฐานแบบปกติ<br />

และมีจุด x = 1 เป็นจุดเอกฐานแบบไม่ปกติ<br />

(b) จงเขียนนิพนธ์ต่อไปนี้ในรูปอนุกรมกำลังเพียงอนุกรมเดียวของพจน์ x n<br />

∞∑<br />

∞∑<br />

n(n−1)c n x n−2 + c n x n+1<br />

n=2<br />

n=0<br />

12. จงหารัศมีของการลู่เข้าของอนุกรมกำลัง<br />

และลู่ออก<br />

∞∑ (−1) n n 2 (x+2) n<br />

n=1<br />

3 n พร้อมทั้งหาช่วงของการลู่เข้า<br />

13. จงหาผลเฉลยที่เป็นอนุกรมกำลังรอบจุด x = 0 ของสมการ<br />

y ′′ −(x+1)y ′ −y = 0<br />

โดยให้เขียนแสดงแต่ละอนุกรมในผลเฉลยอย่างน้อย 4 พจน์<br />

(<br />

+···) (<br />

+···)<br />

คำตอบ y(x) = C 0 1+ x2<br />

2 + x3<br />

6 + x4<br />

+C 1 x+ x2<br />

6 2 + x3<br />

2 + x4<br />

4<br />

14. จงหาจุดเอกฐานของสมการ<br />

x(1−x 2 ) 3 y ′′ +(1−x 2 ) 2 y ′ +2(1+x)y = 0<br />

พร้อมทั้งพิจารณาว่าจุดดังกล่าวเป็นจุดเอกฐานแบบปกติหรือจุดเอกฐานแบบไม่ปกติ<br />

คำตอบ x = −1 และ x = 0 เป็นจุดเอกฐานแบบปกติ x = 1 เป็นจุดเอกฐานแบบไม่ปกติ<br />

15. จงหาผลเฉลยอนุกรมของสมการต่อไปนี้รอบจุด x = 0<br />

2xy ′′ −(3+2x)y ′ +y = 0<br />

โดยให้เขียนแสดงแต่ละอนุกรมในผลเฉลยอย่างน้อย 4 พจน์<br />

(<br />

คำตอบ y(x) = C 1 x 5/2 1+ 4x +···) (<br />

7 + 4x2<br />

21 + 32x3 +C 2 1+ x +···)<br />

693 3 − x2<br />

6 − x3<br />

6<br />

16. จงหาผลเฉลยอนุกรมของสมการต่อไปนี้รอบจุด x = 0<br />

2x 2 y ′′ −xy ′ +(1+x)y = 0<br />

โดยให้เขียนแสดงแต่ละอนุกรมในผลเฉลยอย่างน้อย 4 พจน์<br />

คำตอบ y(x) = C 1 x<br />

(1− x +···) ( )<br />

3 + x2<br />

30 − x3<br />

+C 2 x 1/2 1−x+ x2<br />

630 6 − x3<br />

90 +...


3<br />

EBM: <strong>Review</strong> <strong>Problems</strong> จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์<br />

17. จงตอบคำถามต่อไปนี้<br />

(a) จงหาค่าของ Γ(5)+Γ ( )<br />

9<br />

2<br />

(b) จงหาผลการแปลงลาปลาซของฟังก์ชัน f(t) = sin3tcos3t<br />

(c) จงหาผลการแปลงลาปลาซของฟังก์ชัน f(t) = (1−e 2t ) 2<br />

{ }<br />

−2s+6<br />

18. จงหา L −1 s 2 +4 + s−3<br />

s 2 +4s+6<br />

คำตอบ −2cos2t+3sin2t+e −2t cos √ 2t− 5 √<br />

2<br />

sin √ 2t<br />

{ }<br />

5−2s<br />

19. จงหา L −1 2<br />

3<br />

+<br />

s 4 s 2 −4s+5 + 1<br />

s(s 2 +1)<br />

คำตอบ 5 6 t3 −2t+e 2t sint+1−cost<br />

20. จงหาผลเฉลยของปัญหาค่าเริ่มต้นต่อไปนี้ โดยใช้ผลการแปลงลาปลาซ<br />

คำตอบ 1 2 − 1 2 et cost+ 1 2 et sint<br />

y ′′ −y ′ = e t cost; y(0) = y ′ (0) = 0<br />

21. จงหาผลเฉลยของปัญหาค่าเริ่มต้นต่อไปนี้ โดยใช้การแปลงลาปลาซ<br />

y ′′ +5y ′ +4y = 0; y(0) = 1, y ′ (0) = 0<br />

คำตอบ 4 3 e−t − 1 3 e−4t<br />

22. จงใช้การแปลงลาปลาซหาผลเฉลยของปัญหาค่าเริ่มต้นต่อไปนี้<br />

y ′′ +4y ′ +8y = e −t ; y(0) = 0, y ′ (0) = 0<br />

คำตอบ 1 5 e−t − 2 5 e−2t cos2t+ 1 10 e−2t sin2t<br />

{∫ t<br />

}<br />

23. จงหา L (t−τ) 2 cos2τ dτ<br />

0<br />

2<br />

คำตอบ<br />

s 2 (s 2 +4)<br />

{<br />

24. จงหาผลการแปลงลาปลาซผกผัน L −1<br />

คำตอบ 1 4 (sin2t+2tcos2t)<br />

}<br />

s 2<br />

(s 2 +4) 2<br />

{ }<br />

25. จงหาผลการแปลงลาปลาซผกผัน L −1 1<br />

s 2 (s−1)<br />

คำตอบ e t −t−1<br />

โดยใช้สังวัตนาการ<br />

โดยใช้สังวัตนาการ


4<br />

EBM: <strong>Review</strong> <strong>Problems</strong> จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์<br />

26. จงหาผลการแปลงฟูเรียร์ของฟังก์ชันต่อไปนี้ โดยใช้บทนิยาม<br />

{<br />

e −x ถ้า x > 0<br />

f(x) =<br />

0 ถ้า x < 0<br />

คำตอบ F (f) =<br />

1<br />

√<br />

2π(1+iw)<br />

27. จงหาผลการแปลงฟูเรียร์ของฟังก์ชันต่อไปนี้ โดยใช้บทนิยาม<br />

{<br />

e x ถ้า x ∈ (−1,1)<br />

f(x) =<br />

0 ถ้า x /∈ (−1,1)<br />

คำตอบ F(f) = e(1−iw) −e (−1+iw)<br />

(1−iw) √ 2π<br />

28. จงหาผลการแปลงฟูเรียร์ของฟังก์ชันต่อไปนี้ โดยใช้บทนิยาม<br />

{<br />

e 2ix ถ้า x ∈ (−1,1)<br />

f(x) =<br />

0 ถ้า x /∈ (−1,1)<br />

คำตอบ F(f) = e(2−w)i −e (w−2)i<br />

√<br />

2π(2−w)i<br />

29. จงพิจารณาว่าสมการเชิงอนุพันธ์ย่อยต่อไปนี้เป็นสมการเชิงอนุพันธ์ย่อยเชิงเส้น หรือสมการ<br />

เชิงอนุพันธ์ย่อยไม่เชิงเส้น พร้อมทั้งบอกอันดับของสมการด้วย<br />

(a) x ∂2 u<br />

∂x 2 −3 ∂2 u<br />

∂x∂y +y∂2 u<br />

∂y 2 = 5u<br />

(b) x 4 ∂4 w<br />

∂x 4 − ∂2 w<br />

∂z∂u +u3∂3 w<br />

∂u 3 −x∂w ∂x = 3w<br />

30. จงใช้การแปลงฟูเรียร์หาผลเฉลยของสมการคลื่น<br />

โดยมีเงื่อนไข<br />

u tt (x,t) = c 2 u xx (x,t) (−∞ < x < ∞, t > 0)<br />

u(x,0) = f(x), u t (x,0) = g(x) (−∞ < x < ∞)<br />

เมื่อ f และ g เป็นฟังก์ชันที่มีผลการแปลงฟูเรียร์<br />

คำตอบ u(x,t) = 1 √<br />

2π<br />

∫ ∞<br />

−∞<br />

[<br />

̂f(w)coscwt+ 1<br />

cw ĝ(w)sincwt ]<br />

·e iwx dw

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!