17.01.2015 Views

พยาธิวิทยาของระบบประสาท (Pathology of the ... - มหาวิทยาลัยนเรศวร

พยาธิวิทยาของระบบประสาท (Pathology of the ... - มหาวิทยาลัยนเรศวร

พยาธิวิทยาของระบบประสาท (Pathology of the ... - มหาวิทยาลัยนเรศวร

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

• Lissencephaly (Agyria) สมองมีผิวเรียบ เกิดจากความผิดปกติของ migration ของเซลลประสาทในระหวางที่มี<br />

การพัฒนา ทําใหลักษณะรอยหยักของสมอง (gyrus) และการเรียงตัวของเซลลประสาทใน neocortex ผิดปกติ<br />

ชั้นของcortex หนาแตไมเรียงตัวเปน 6 ชั้นตามปกติมักพบการเรียงตัวของเซลลประสาทเพียง 4 ชั้น<br />

• Pachygyria สมองมีลักษณะผิวเรียบบางสวน เนื่องจากปริมาณ gyri ลดลง และมีขนาดกวางขึ้น<br />

• Polymicrogyria สมองมีรอยหยักเพิ่มขึ้น อาจเปนเพียงบางสวนหรือทั้งสมอง<br />

• Holoprosencephaly สมองไมมีโครงสรางที่อยูตรงกลาง ในรายที่เปนไมมากอาจมี olfactory bulb และ<br />

olfactory bulbs (rhinencephalon) หายไป (Arrhinencephaly) ในรายที่เปนมากสมองมีลักษณะเปนกอนเดียว<br />

ไมมีการแบงซายขวามีลักษณะคลายเกือกมา (horse shoe-shaped cerebral hemispheres) มีการเชื่อมกัน<br />

ของ frontal lobes และ ventricles รวมกันเปนชองเดียว (common ventricle) อาจสัมพันธกับภาวะ midline<br />

defect เชน cyclopia<br />

• Heterotopia เปนความผิดปกติเนื่องจากการ migration ของ neuron และ glia ไปผิดที่มักพบใน white matter<br />

เห็นเปนกอน ผูปวยมักมีปญญาออนและชัก<br />

PERINATAL BRAIN INJURY ความผิดปกติที่เกิดจากการบาดเจ็บของสมองทารกในระยะแรกของการตั้งครรภ อาจ<br />

ตรวจไมพบลักษณะการตอบสนองของเซลลในเนื้อสมอง (reactive changes) ทําใหไมสามารถแยกไดจากความผิดปกติ<br />

จากสาเหตุอื่น (malformation) ความผิดปกติในชวงปริกําเนิด เปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดความผิดปกติของพัฒนาการ<br />

ระบบประสาทในเด็ก<br />

• Cerebral palsy ใชเรียกภาวะความผิดปกติของ motor system ที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงเปนมากขึ้น เกิดจากการ<br />

บาดเจ็บในระวางตั้งครรภหรือชวงปริกําเนิด ประกอบดวยอาการ spasticity, dystonia, ataxia/a<strong>the</strong>tosis และ<br />

paresis<br />

• การบาดเจ็บของสมองในชวงปริกําเนิดแบงออกเปน 2 ชนิดใหญๆคือ 1) เลือดออก 2) ขาดเลือด ในเด็กที่<br />

คลอดกอนกําหนดมักพบ intraparenchymal hemorrhage ที่ germinal matrix ซึ่งอยูบริเวณรอยตอของ<br />

thalamus และ caudate nucleus และเลือดที่ออกอาจทะลักเขาสู ventricular system ที่อยูใกลเคียงและเขาสู<br />

subarachnoid spaces และอาจทําใหเกิด hydrocephalus เปนลําดับตอไป ภาวะขาดเลือดมักเกิดในเด็ก<br />

คลอดกอนกําหนดในบริเวณ supratentorial periventricular white matter (periventricular leukomalacia)<br />

เมื่อเวลาผานไปจะเห็นเปน chalky yellow plaque ใน white matter ซึ่งเปนบริเวณที่เกิด necrosis และ<br />

mineralization ถาเปนมากอาจลุกลามไปถึง gray matter และทําใหเกิดเปนถุงน้ําในเนื้อสมอง เรียกภาวะนี้วา<br />

multicystic encephalopathy<br />

CERBROVASCULAR DISEASES หมายรวมถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้นในสมองเนื่องจากหลอดเลือดที่ผิดปกติ โดยมี<br />

กลไกใหญๆ 3 ชนิดไดแก 1. thrombotic occlusion <strong>of</strong> <strong>the</strong> vessels 2. embolic occlusion <strong>of</strong> vessels 3. vascular<br />

rupture โดย thrombus และ emboli จะสงผลตอสมองเหมือนๆกันคือทําใหสมองขาดออกซิเจนและสารอาหารทําใหเกิด<br />

ischemic injury หรือ brain infarction ในที่สุด สวนการฉีกขาดของหลอดเลือดทําใหเกิดเลือดออก (hemorrhage) ใน<br />

บริเวณนั้นๆ<br />

อาการขึ้นกับตําแหนงของสมองที่เลี้ยงดวยหลอดเลือดที่เกิดความผิดปกติ<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

6

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!