17.01.2015 Views

พยาธิวิทยาของระบบประสาท (Pathology of the ... - มหาวิทยาลัยนเรศวร

พยาธิวิทยาของระบบประสาท (Pathology of the ... - มหาวิทยาลัยนเรศวร

พยาธิวิทยาของระบบประสาท (Pathology of the ... - มหาวิทยาลัยนเรศวร

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

กระสุนหรือตามรอยที่ถูกกะโหลกบาด แมไมโดนตําแหนงที่สําคัญทันทีปริมาณเลือดที่เลือดออกในสมองจะมีผลตอโอกาส<br />

การเสียชีวิต เนื่องจากสมองอยูในกะโหลกศีรษะเหมือนกับภาชนะปดและมีพื้นที่จํากัด เลือดที่ออกจึงเหมือนกับ spaceoccupying<br />

lesion อาจทําใหเกิด herniation ตามมา ถาถูกยิงดวยกระสุนความเร็วสูงสมองตามแนวกระสุนจะฉีกขาด<br />

และความเร็วและแรงของกระสุนที่ผานจะทําใหเนื้อสมองตามแนววิถีกระสุนขยายออกทันที (blast effect) ทําใหความดัน<br />

ในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นฉับพลันและผูบาดเจ็บจะเสียชีวิตทันทีเนื่องจาก herniation แตในรายที่ถูกยิงดวยกระสุน<br />

ความเร็วต่ําจะเสียชีวิตชากวา<br />

TRAUMATIC VASCULAR INJURY ตําแหนงของเลือดที่ออกขึ้นกับหลอดเลือดที่ไดรับการบาดเจ็บ และในบางครั้ง<br />

อาจพบมีเลือดออกหลายตําแหนงพรอมกันได<br />

Epidural hematoma dura เปนเยื่อหุมสมองชั้นนอกสุด โดยปกติจะติดแนนอยูกับ periosteum ของกะโหลก เสนเลือดที่<br />

สําคัญบริเวณ dura ที่มักไดรับการบาดเจ็บเมื่อมีการแตกของกระโหลกศีรษะคือ middle meningeal artery ในเด็กซึ่ง<br />

กะโหลกศีรษะยังมีความยืดหยุน การผิดรูปของกะโหลกศีรษะเพียงชั่วครูอาจทําใหเกิดการฉีกขาดของหลอดเลือดนี้โดยไม<br />

มีกะโหลกศีรษะแตกก็ได เลือดที่ออกจะเซาะแยกเยื่อหุมสมองชั้น dura ออกจาก periosteum เห็นเปนรูปเลนสจาก CT<br />

หรือ MRI ในชวงแรกผูบาดเจ็บมักไมมีอาการผิดปกติ (lucid interval) เนื่องจากชั้นระหวาง dura กับ periosteum แยก<br />

ออกจากกันไดยาก และ ผลของ Cushiing reflex ซึ่งทําใหหัวใจเตนชาลงเพื่อใหมี ventricular filling นานขึ้น และหัวใจ<br />

บีบตัวแรงขึ้น ทําให systolic blood pressure เพิ่มขึ้น เลือดและออกซิเจนจะไปเลี้ยงสมองไดมากขึ้น จนกระทั่งเวลาผาน<br />

ไป 4-8 ชั่วโมงหรือปริมาณเลือดที่ออกอยูที่ 30-50 ml เมื่อกลไกดังกลาวไมสามารถตานทานความรุนแรงของเลือดที่ออก<br />

ตอไปไดจึงเริ่มแสดงอาการ หรือในบางราย epidural hematoma อาจขยายตัวอยางรวดเร็วและตองไดรับการรักษาอยาง<br />

ทันทวงที ผูปวยมักเสียชีวิตภายใน 24 – 48 ชั่วโมง<br />

Subdural hematoma สมองแมจะลอยอยูใน CSF แตยังถูกยึดอยูอยางหลวมๆโดยเสนเลือดและเสนประสาทสมอง<br />

bridging vein เปนหลอดเลือดที่สงเลือดผาน cerebral hemisphere ผาน subarachnoid และ subdural space ไปยัง<br />

dural sinus เมื่อมีการฉีกขาดของ bridging vein จะทําใหเกิดเลือดออกใน subdural space ในผูสูงอายุซึ่งมี brain<br />

atrophy เสนเลือดเหลานี้จะถูกทําใหตึงมากขึ้นเนื่งอจากเนื้อสมองที่หดเล็กลงทําใหเกิดการฉีกขาดไดงาย ในเด็กเล็กซึ่ง<br />

เสนเลือดยังเปราะบางก็สามารถเกิดเลือดออกใน subarachnoid space ไดงายเชนเดียวกัน แมวา subdural space จะ<br />

สามารถขยายไดงายกวา epidural space แตเนื่องจากเลือดที่ออกเปนหลอดเลือดดําจึงมักหยุดไหลเองเมื่อมีปริมาณ<br />

ประมาณ 25-50 ml จาก local temponade effect จะตรวจพบ subdural hematoma ภายใน 48 ชั่วโมงหลังจากการ<br />

บาดเจ็บโดยตําแหนงที่เลือดออกมักเปนที่ดานขางของ cerebral hemisphere และ พบวาเกิดขึ้นทั้งสองขางในคราวเดียว<br />

(bilateral) ไดรอยละ 10 อาการที่ตรวจพบทางระบบประสาทมักจะคอยๆเปนคอยๆไป มีบางรายที่อาการดําเนินไปอยาง<br />

รวดเร็วแตกรณีดังกลาวพบไดนอย จากการตรวจทางพยาธิวิทยาในระยะเริ่มแรกจะพบมีเลือดสดอยูบนผิวของสมองโดย<br />

ไมซึมลึกลงไปในบริเวณ sulci สมองสวนที่ถูกกดดวยกอน hematoma จะ แบนลง และ subarachnoid space จะ ใส เมื่อ<br />

เลือดหยุดไหล subdural hematoma จะเริ่มมีการ organization โดยที่ระยะเวลา 1 สัปดาหจะมีการสลายลิ่มเลือด (lysis<br />

<strong>of</strong> clot) ที่ 2 สัปดาหจะมี fibroblast เขาไปอยูในกอน hematoma และเริ่มมี hyalinized connective tissue เมื่อเวลาผาน<br />

ไป 1-3 เดือน โดยกอน organized hematoma จะเกาะติดกับ ดานในของ dura แตไมเกาะกับ arachnoid เมื่อระยะเวลา<br />

ผานไปรอยโรคอาจหดเล็กลง และเหลือเพียงเนื่อเยื่อบางๆคลุมบริเวณดังกลาวไวเรียกวา subdural membrane มักมี<br />

เลือดออกใน subdural hematoma เดิมซ้ําอีกเนื่องจากหลอดเลือดที่สรางใน granulation tissue ยังไมแข็งแรง เรียกวา<br />

chronic subdural hematoma<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

12

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!