12.01.2015 Views

Epoxy resin - กรมควบคุมมลพิษ

Epoxy resin - กรมควบคุมมลพิษ

Epoxy resin - กรมควบคุมมลพิษ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

1. การชี้บงเคมีภัณฑ (Chemical Identification)<br />

ปรับปรุงขอมูลครั้งสุดทายเมื่อ 25/8/2544<br />

รหัส คพ. ที่:คพ/-<br />

ชื่อเคมี IUPAC : -<br />

ชื่อเคมีทั่วไป : <strong>Epoxy</strong> <strong>resin</strong><br />

ชื่อพองอื่นๆ :<br />

<strong>Epoxy</strong> <strong>resin</strong>; Phenol, 4,4'-(1-methylethylidene)bis-, polymer with (chloromethyl)oxirane; Bisphenol A,<br />

(chloromethyl)oxirane polymer; Bisphenol A, epichlorohydrin polymer; (Chloromethyl)oxirane, 4,4'-(1-<br />

methylethylidene)bisphenol copolymer; Der 331; Epon 1009; Phenol,4,4'-(1-methylethylidine)bis-,polymer with<br />

(chloromethyl)oxirane; 4,4'-Isopropylidenediphenol, polymer with 1-chloro-2,3-epoxypropane; Araldite 506;<br />

สูตรโมเลกุล :<br />

สูตรโครง<br />

สราง :<br />

รหัส IMO :<br />

รหัส UN/ID NO. : - รหัส EC NO. : -<br />

รหัส CAS NO. : 25068-38-6 รหัส RTECS : -<br />

รหัส EUEINECS/ELINCS : - ชื่อวงศ : -<br />

2. ชื่อผูผลิต/จําหนาย (Manufacturer and Distributor)<br />

ชื่อผูผลิต/นําเขา : -<br />

แหลงขอมูลอื่นๆ : -<br />

3. การใชประโยชน (Uses)<br />

ใชเคลือบผิวของอุปกรณภายในบานเรือน และทอเก็บกาซ ใชในการเชื่อมสวนประกอบโลหะ แกว และเซรามิก ใชในการหลอ<br />

อุปกรณที่ทําจากโลหะและเคลือบผิวอุปกรณ ใชใสในสวนประกอบของอุปกรณไฟฟา เสนใยของทอ และทอความดัน ใชเคลือบผิว<br />

ของพื้นและผนัง ใชเปนวัสดุของแผนกําบังนิวตรอน ซีเมนต และปูนขาว ใชเคลือบผิวถนน เพื่อกันลื่น ใชทําโฟมแข็ง ใชเปนสารใน<br />

การทําสีของแกว


4. คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity)<br />

LD (มก./กก.) : 50<br />

10,000 - 11,400 ( หนู) LC (มก./ม 3 ) : 50<br />

- / - ชั่วโมง ( -)<br />

IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : -<br />

PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : -<br />

TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : -<br />

พรบ. สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : -<br />

พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3<br />

พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย :<br />

พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :<br />

5. คุณสมบัติทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties)<br />

สถานะ : ของเหลว สี : ใสหรือเหลืองอําพัน กลิ่น : - นน.โมเลกุล : -<br />

จุดเดือด( 0 ซ.) : 260 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง( 0 ซ.) : - ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.17<br />

ความหนืด(mPa.sec) : นอย ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ -<br />

ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) :<br />

ไมละลาย<br />

น้ํา ที่ -<br />

0 ซ. ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 8<br />

0 ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ -<br />

0 ซ.<br />

แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = - มก./ม 3 หรือ 1 มก./ม 3 = - ppm ที่ -<br />

ขอมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :<br />

0 ซ.<br />

6. อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect)<br />

สัมผัสทางหายใจ : - การหายใจเอาไอระเหยของสารนี้เขาไป ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น หรือละอองจะทําใหระคายเคือง<br />

ที่บริเวณจมูก และคอ<br />

สัมผัสทางผิวหนัง : - การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนังเล็กนอย การสัมผัสสารซ้ํา ๆเปนเวลานาน ๆ<br />

จะทําใหไวเกิดภูมิแพ


กินหรือกลืนเขาไป : - การกลืนกินเขาไป จะกอใหเกิดเปนพิษเล็กนอย อาจทําใหเกิดการระคายเคืองตอกระเพาะอาหาร<br />

สัมผัสถูกตา : - การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดระคายเคืองตาเล็กนอยถึงปานกลาง<br />

การกอมะเร็ง :<br />

ความผิดปกติ,อื่น ๆ :<br />

-<br />

7. ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction)<br />

- สารที่เขากันไมได : สารออกซิไดซ<br />

- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน เปลวไฟ ประกายไฟ และสารที่เขากันไมได<br />

8. การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion)<br />

จุดวาบไฟ( 0 ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง( 0 ซ.) : -<br />

คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : -<br />

- สารนี้เปนของเหลวไวไฟ<br />

- การเผาไหมทําใหเกิดออกไซดของคารบอน<br />

- สารดับเพลิง ในกรณีเกิดเพลิงไหมใหใชโฟม กาซคารบอนไดออกไซด หรือผงเคมีแหง<br />

- ใหใชน้ําฉีดหลอเย็นภาชนะบรรจุและทอสงสารที่ถูกเพลิงไหม<br />

- ใชอุปกรณและสารดับเพลิงใหเหมาะสมกับสภาพของเพลิงโดยรอบ<br />

- ปดการรั่วไหลถาทําไดอยางปลอดภัยและเคลื่อนยายแหลงที่จะทําใหจุดติดไฟอีกครั้งออกไป<br />

NFPA Code :<br />

9. การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคลื่อนยาย/ขนสง (Storage and Handling)<br />

- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดสนิทเมื่อไมมีการใช<br />

- สารนี้เปนของเหลวติดไฟได<br />

- เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศที่ดี<br />

- เก็บหางจากแหลงจุดติดไฟ สารออกซิไดซ อาหารและเสื้อผา<br />

- หลีกเลี่ยงการหายใจเขาไป การกลืน การสัมผัสถูกผิวหนัง และเสื้อผา<br />

- ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้<br />

- ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลังทําการเคลื่อนยาย<br />

- ชื่อทางการขนสง : <strong>Epoxy</strong> Resin Liquid


10. การกําจัดกรณีรั่วไหล (Leak and Spill)<br />

- ใหทําความสะอาดบริเวณที่หกรั่วไหลโดยบุคลากรบุคคลที่สวมใสชุดปองกันสารเคมีชนิดปดคลุมเต็มตัวและอุปกรณชวยหายใจ<br />

ชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) ถาจําเปน<br />

- หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารนี้<br />

- ใหดับไฟหรือยายแหลงจุดติดไฟ และหยุดการรั่วไหลถาสามารถทําไดอยางปลอดภัย<br />

- การกําจัดใหติดตอกับหนวยงานในการกําจัดกอนที่จะกําจัด ใหเปนไปตามกฎขอบังคับของทางราชการ<br />

11. อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)<br />

หนากากปองกันการ<br />

หายใจ<br />

ถุงมือ รองเทาบูท แวนตานิรภัย<br />

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) :<br />

- ถุงมือ รองเทาบูท และผากันเปอน ใหใชวัสดุที่ทําจากหนัง<br />

12. การปฐมพยาบาล (First Aid)<br />

หายใจเขาไป : - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถา<br />

หายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย และนําสงไปพบแพทย<br />

กินหรือกลืนเขาไป : - ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน นําสงไปพบแพทยทันที<br />

สัมผัสถูกผิวหนัง : - ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหถอดเสื้อผาที่ปนเปอนสารเคมีออกและลางดวยน้ําและสบูปริมาณมาก ๆ ถาเกิด<br />

อาการระคายเคืองขึ้นใหนําสงไปพบแพทย<br />

สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตาใหลางดวยน้ําปริมาณมาก ๆ ประมาณ 20 นาที ถาเกิดอาการระคายเคืองขึ้นใหนําสงไปพบ<br />

แพทย<br />

อื่น ๆ:<br />

13. ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts)<br />

- หามทิ้งลงสูแหลงน้ํา น้ําเสีย หรือดิน


14. การเก็บตัวอยางและวิเคราะห (Sampling and Analytical)<br />

NMAM NO. : - OSHA NO. : -<br />

วิธีการเก็บตัวอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตัวอยาง อิมพิ้นเจอร<br />

วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น<br />

ขอมูลอื่น ๆ :<br />

15. การปฎิบัติกรณีฉุกเฉิน (Emergency Response)<br />

AVERS Guide : - DOT Guide : -<br />

- กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลข<br />

โทรศัพท 1650<br />

- ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447 ,0 2298<br />

2457<br />

16. เอกสารอางอิง (Reference)<br />

1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา -"<br />

2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา -"<br />

3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา -"<br />

4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา -"<br />

5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 1472"<br />

6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดัชนีวัดทางชีวภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา -"<br />

7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. ,-"<br />

8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา -"<br />

9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and<br />

Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา -"<br />

10. Source of Ignition หนา-"<br />

11. "อื่น ๆ"http://chemtrack.trf.or.th"


พัฒนาโปรแกรมและรวบรวมขอมูลโดย คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ<br />

หากมีขอสงสัยหรือขอเสนอแนะโปรดติดตอ<br />

กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ<br />

โทรศัพท : 0 2298 2447, 0 2298 2457<br />

โทรสาร : 0 2298 2451<br />

E-Mail : dbase_c@pcd.go.th

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!