05.01.2015 Views

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

•<br />

•<br />

•<br />

•<br />

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 93<br />

รูปที่ 6.1 แสดงกราฟของ f ที่มีจุด ( b,f(b) ) เป็นจุดสูงสุดบนกราฟ และมีจุด ( e,f(e) ) เป็น<br />

จุดต่ำสุด ดังนั้น f มีค่าสูงสุดสัมบูรณ์ที่ b และมีค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ที่ e<br />

y ( )<br />

b,f(b)<br />

(<br />

e,f(e)<br />

)<br />

a b c d e x<br />

รูปที่ 6.1: ค่าสูงสุด f(b), ค่าต่ำสุด f(e)<br />

คำถาม ฟังก์ชันทุกฟังก์ชันมีค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์หรือไม่<br />

คำตอบ ไม่ ซึ่งพิจารณาได้จากกราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้<br />

y<br />

y<br />

y = f(x)<br />

f(c)<br />

y = f(x)<br />

c<br />

x<br />

c<br />

x<br />

f(c)<br />

(a)<br />

(b)<br />

รูปที่ 6.2: (a) ค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ (b) ค่าสูงสุดสัมบูรณ์<br />

จากรูปที่ 6.2(a) พบว่าฟังก์ชัน f ไม่มีค่าสูงสุดสัมบูรณ์แต่มีค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ที่ c สำหรับรูป<br />

ที่ 6.2(b) เป็นกราฟของฟังก์ชัน f ที่ไม่มีค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ แต่มีค่าสูงสุดสัมบูรณ์ที่ c<br />

คำถาม เมื่อใดฟังก์ชันที่เราพิจารณาจะมีค่าสูงสุดสัมบูรณ์ และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์<br />

ทฤษฎีบทต่อไปนี้จะตอบคำถามดังกล่าว<br />

ทฤษฎีบท 6.1 ทฤษฎีบทค่าสุดขีด (Extreme Value Theorem) ถ้าฟังก์ชัน f ต่อเนื่อง<br />

บนช่วงปิด [a,b] แล้ว f จะมีค่าสูงสุดสัมบูรณ์ f(c) และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ f(d) ที่จุด c และ d<br />

บางจุดในช่วง [a,b]

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!