05.01.2015 Views

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 88<br />

การหาอนุพันธ์โดยใช้ลอการิทึม<br />

ลำดับต่อไปเราจะศึกษาวิธีการหาอนุพันธ์ที่เรียกว่า การหาอนุพันธ์โดยใช้ลอการิทึม (logarithmic<br />

differentiation) จากตัวอย่างต่อไปนี้ วิธีการนี้มีประโยชน์สำหรับการหาอนุพันธ์ของ<br />

ฟังก์ชันประกอบของผลคูณ ผลหาร หรือเลขชี้กำลัง<br />

ตัวอย่าง 5.32 จงหาอนุพันธ์ของ y = x3/4√ x 2 +1<br />

(3x+2) 5<br />

วิธีทำ .........<br />

จากตัวอย่าง 5.32 จะได้ขั้นตอนการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันโดยใช้ลอการิทึมได้ดังนี้<br />

ขั้นตอนการหาอนุพันธ์โดยใช้ลอการิทึม<br />

1. ใส่ลอการิทึมฐาน e เข้าไปทั้งสองข้างของสมการ y = f(x) และใช้คุณสมบัติ<br />

ของลอการิทึมจัดสมการให้ง่ายขึ้น<br />

2. ใช้วิธีการหาอนุพันธ์โดยปริยาย หาอนุพันธ์เทียบกับ x<br />

3. แก้สมการหา y ′<br />

ตัวอย่าง 5.33 จงหาอนุพันธ์ของ y = (lnx) cosx<br />

วิธีทำ .........<br />

ตัวอย่าง 5.34 กำหนดให้ y x = siny จงหา dy<br />

dx<br />

วิธีทำ .........<br />

1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้<br />

แบบฝึกหัด 5.9<br />

(a) f(x) = ln(2x) (b) f(x) = ln(x 3 )<br />

(c) f(θ) = ln(cosθ) (d) f(x) = log 3 (x 2 −4)<br />

(e) f(x) = ln √ x<br />

( ) a−x<br />

(g) f(x) = ln<br />

a+x<br />

(i) f(x) = lnx<br />

1+x<br />

(f) f(x) = √ xlnx<br />

(h) f(x) = e x lnx<br />

(j) f(x) = |x 3 −x 2 |<br />

(k) f(x) = ln(e −x +xe −x ) (l) f(x) = x 2 ln(1−x 2 )<br />

2. จงหาสมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้งต่อไปนี้ที่จุดที่กำหนดให้<br />

(a) y = x 2 lnx, (1,0)<br />

(b) y = ln(lnx), (e,0)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!