05.01.2015 Views

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 66<br />

y<br />

f(x)<br />

f(x 0 )<br />

P<br />

Q<br />

x 0<br />

x<br />

x<br />

รูปที่ 5.1: เส้นตัดและเส้นสัมผัสโค้ง<br />

บทนิยาม 5.1 เส้นสัมผัสโค้ง (tangent line) y = f(x) ที่จุด P ( x 0 ,f(x 0 ) ) คือ เส้นตรงที่<br />

ผ่านจุด P และมีสมการคือ<br />

เมื่อ m คือความชันของเส้นสัมผัสที่นิยามโดย<br />

เมื่อลิมิตหาค่าได้<br />

y −f(x 0 ) = m(x−x 0 )<br />

ตัวอย่าง 5.1 จงหาสมการของเส้นสัมผัสโค้ง y = x 2 ที่จุด P(1,1)<br />

วิธีทำ .........<br />

m = lim<br />

x→x0<br />

f(x)−f(x 0 )<br />

x−x 0<br />

(5.1)<br />

ถ้าหากให้ h = x−x 0 แล้วความชันของเส้นสัมผัสโค้ง (5.1) สามารถเขียนในรูปแบบที่ง่าย<br />

ต่อการนำไปใช้ดังนี้<br />

m = lim<br />

h→0<br />

f(x 0 +h)−f(x 0 )<br />

h<br />

ตัวอย่าง 5.2 จงหาสมการของเส้นสัมผัสโค้ง y = 2 x ที่จุด x = 2<br />

(5.2)<br />

วิธีทำ .........<br />

ตัวอย่าง 5.3 จงหาความชันของเส้นสัมผัสโค้ง f(x) = √ x ที่จุด (1,1),(4,2) และ (9,3)<br />

วิธีทำ .........<br />

ความเร็ว<br />

หัวข้อหนึ่งที่สำคัญในแคลคูลัสคือ การศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุ ในที่นี้เราจะพิจารณาการเคลื่อนที่<br />

ของวัตถุตามแนวเส้นตรง โดยมีสมการการเคลื่อนที่คือ s = f(t) เมื่อ s แทนระยะทางของ<br />

วัตถุจากจุดเริ่มต้น ณ เวลา t ใดๆ และฟังก์ชัน f ซึ่งแทนการเคลื่อนที่ของวัตถุเรียกว่าฟังก์ชัน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!