บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ บทที่ 1 เมทริก ซ

mathstat.sci.tu.ac.th
from mathstat.sci.tu.ac.th More from this publisher
05.01.2015 Views

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 60 ตัวอย่าง 4.27 กำหนดให้ ⎧ ⎪⎨ f(x) = ⎪⎩ x 2 −2x−3 |x−3| ถ้า −2 ≤ x < 3 1−5x √ x+1 ถ้า x ≥ 3 จงพิจารณาว่าฟังก์ชัน f ต่อเนื่องที่จุด x = 3 หรือไม่ ถ้า f ไม่ต่อเนื่อง แล้วภาวะไม่ต่อเนื่อง นี้สามารถขจัดได้หรือไม่ ถ้าได้ จะขจัดอย่างไร วิธีทำ ......... ทฤษฎีบท 4.11 ทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง (Intermediate Value Theorem) ถ้า f เป็น ฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [a,b] และ N เป็นจำนวนจริงใดๆที่มีค่าอยู่ระหว่าง f(a) และ f(b) แล้วมีจำนวนจริง c ∈ [a,b] อย่างน้อยหนึ่งจำนวนที่ทำให้ f(c) = N ข้อสังเกต ค่า N ในทฤษฎีบทค่าระหว่างกลางนั้นมี 2 ลักษณะคือ f(a) < N < f(b) หรือ f(b) < N < f(a) ทฤษฎีบทค่าระหว่างกลางกล่าวว่า ถ้า f ต่อเนื่องบนช่วงปิด [a,b] แล้วค่าของ f ทุกค่าจะอยู่ ระหว่าง f(a) และ f(b) ดังนั้นค่า x ของ f ที่สมนัยกับค่า N อาจจะเกิดขึ้นได้เพียงครั้งเดียว ( ดังรูป (a) ) หรือหลายครั้ง ( ดังรูป (b) ) ก็ได้ f(b) y f(b) y N y = f(x) N f(a) a y = f(x) cb x f(a) ac 1 c 2 c 3 b x (a) (b) ทฤษฎีบท 4.12 ถ้า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [a,b] และถ้า f(a) และ f(b) มีค่าไม่ เท่ากับศูนย์ และมีเครื่องหมายตรงกันข้าม แล้วสมการ f(x) = 0 จะมีผลเฉลยอย่างน้อยหนึ่งผล เฉลยบนช่วง (a,b) หมายเหตุ ทฤษฎีบท 4.12 เป็นผลจากทฤษฎีบทค่าระหว่างกลางเมื่อ N = 0 ตัวอย่าง 4.28 จงแสดงว่าผลเฉลยของสมการ 4x 3 −6x 2 +3x−2 = 0 มีค่าอยู่ระหว่าง 1 และ 2 วิธีทำ .........

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 61 แบบฝึกหัด 4.5 1. จากกราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้ จงหาจุดที่ทำให้ฟังก์ชันไม่ต่อเนื่อง (a) y x (b) y x (c) y x 2. จงแสดงว่าฟังก์ชันต่อไปนี้ต่อเนื่องที่จุดที่กำหนดให้ (a) f(x) = x 2 + √ 7−x, x = 4 (b) g(x) = (x+2x 3 ) 4 , x = −1 (c) h(x) = x+1 2x 2 +1 , x = 4 3. จงแสดงว่าฟังก์ชันต่อไปนี้ต่อเนื่องบนช่วงที่กำหนดให้ (a) f(x) = 1 x+1 , (−1,∞) (b) f(x) = x−1 x 2 −4 , (−2,2) (c) g(t) = √ 9−4t 2 , [− 3 2 , 3 2 ]

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 60<br />

ตัวอย่าง 4.27 กำหนดให้<br />

⎧<br />

⎪⎨<br />

f(x) =<br />

⎪⎩<br />

x 2 −2x−3<br />

|x−3|<br />

ถ้า −2 ≤ x < 3<br />

1−5x<br />

√ x+1<br />

ถ้า x ≥ 3<br />

จงพิจารณาว่าฟังก์ชัน f ต่อเนื่องที่จุด x = 3 หรือไม่ ถ้า f ไม่ต่อเนื่อง แล้วภาวะไม่ต่อเนื่อง<br />

นี้สามารถขจัดได้หรือไม่ ถ้าได้ จะขจัดอย่างไร<br />

วิธีทำ .........<br />

ทฤษฎีบท 4.11 ทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง (Intermediate Value Theorem) ถ้า f เป็น<br />

ฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [a,b] และ N เป็นจำนวนจริงใดๆที่มีค่าอยู่ระหว่าง f(a) และ f(b)<br />

แล้วมีจำนวนจริง c ∈ [a,b] อย่างน้อยหนึ่งจำนวนที่ทำให้ f(c) = N<br />

ข้อสังเกต ค่า N ในทฤษฎีบทค่าระหว่างกลางนั้นมี 2 ลักษณะคือ f(a) < N < f(b) หรือ<br />

f(b) < N < f(a)<br />

ทฤษฎีบทค่าระหว่างกลางกล่าวว่า ถ้า f ต่อเนื่องบนช่วงปิด [a,b] แล้วค่าของ f ทุกค่าจะอยู่<br />

ระหว่าง f(a) และ f(b) ดังนั้นค่า x ของ f ที่สมนัยกับค่า N อาจจะเกิดขึ้นได้เพียงครั้งเดียว<br />

(<br />

ดังรูป (a)<br />

)<br />

หรือหลายครั้ง<br />

(<br />

ดังรูป (b)<br />

)<br />

ก็ได้<br />

f(b)<br />

y<br />

f(b)<br />

y<br />

N<br />

y = f(x)<br />

N<br />

f(a)<br />

a<br />

y = f(x)<br />

cb<br />

x<br />

f(a)<br />

ac 1 c 2 c 3 b<br />

x<br />

(a)<br />

(b)<br />

ทฤษฎีบท 4.12 ถ้า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [a,b] และถ้า f(a) และ f(b) มีค่าไม่<br />

เท่ากับศูนย์ และมีเครื่องหมายตรงกันข้าม แล้วสมการ f(x) = 0 จะมีผลเฉลยอย่างน้อยหนึ่งผล<br />

เฉลยบนช่วง (a,b)<br />

หมายเหตุ ทฤษฎีบท 4.12 เป็นผลจากทฤษฎีบทค่าระหว่างกลางเมื่อ N = 0<br />

ตัวอย่าง 4.28 จงแสดงว่าผลเฉลยของสมการ 4x 3 −6x 2 +3x−2 = 0 มีค่าอยู่ระหว่าง 1 และ 2<br />

วิธีทำ .........

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!