05.01.2015 Views

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 6<br />

ตัวอย่าง 1.7 จงหารอยของเมทริกซ์ต่อไปนี้<br />

⎡ ⎤<br />

⎡ ⎤ −3 1 7 0<br />

a 11 a 12 a 13<br />

⎢ ⎥<br />

2 4 −8 4<br />

A = ⎣a 21 a 22 a 23 ⎦, B = ⎢ ⎥<br />

⎣ 1 −2 5 0⎦<br />

a 31 a 32 a 33<br />

8 3 −1 0<br />

วิธีทำ .........<br />

เราจะจบหัวข้อนี้โดยการกล่าวถึงสมบัติพีชคณิตของเมทริกซ์ต่อไปนี้<br />

ทฤษฎีบท 1.1 (สมบัติพีชคณิตของเมทริกซ์) กำหนดให้ A, B และ C เป็นเมทริกซ์ใดๆ<br />

และ a และ b เป็นสเกลาร์ใดๆ และสมมุติให้มิติของเมทริกซ์ในแต่ละการดำเนินการเป็นไปตาม<br />

บทนิยาม พีชคณิตของเมทริกซ์ต่อไปนี้สมเหตุสมผล<br />

(a) A+B = B +A (กฎการสลับที่สำหรับการบวก)<br />

(b) A+(B +C) = (A+B)+C (กฎการจัดหมู่สำหรับการบวก)<br />

(c) A(BC) = (AB)C (กฎการจัดหมู่สำหรับการคูณ)<br />

(d) A(B +C) = AB +AC (กฎการแจกแจงทางซ้าย)<br />

(e) (B +C)A = BA+CA (กฎการแจกแจงทางขวา)<br />

(f) A(B −C) = AB −AC (g) (B −C)A = BA−CA<br />

(h) a(B +C) = aB +aC (i) a(B −C) = aB −aC<br />

(j) (a+b)C = aC +bC (k) (a−b)C = aC −bC<br />

(l) (ab)C = a(bC) (m) a(BC) = (aB)C = B(aC)<br />

(n) A+0 = 0+A = A (o) A−A = 0<br />

(p) 0−A = −A (q) A0 = 0, 0A = 0<br />

(r) AI = A<br />

แบบฝึกหัด 1.1<br />

1. สมมุติให้ A,B,C,D และ E เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติดังนี้<br />

A B C D E<br />

(4×5) (4×5) (5×2) (4×2) (5×4)<br />

จงพิจารณาว่าเมทริกซ์ใดต่อไปนี้หาได้ และมีมิติเท่าใด<br />

(a) BA (b) AC +D (c) AE +B (d) AB +B<br />

(e) E(A+B) (f) E(AC) (g) E T A (h) (A T +E)D<br />

2. ถ้า A เป็นเมทริกซ์มิติ 3×5 และ AB เป็นเมทริกซ์มิติ 3×7 แล้วมิติของเมทริกซ์ B<br />

คืออะไร

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!