05.01.2015 Views

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 57<br />

tanx<br />

9. lim<br />

x→0 4x<br />

11. lim<br />

x→π/4<br />

sinx−cosx<br />

cos2x<br />

13. lim<br />

x→0<br />

x+sinx<br />

tanx<br />

t 2<br />

15. lim<br />

t→0<br />

1−cos 2 ) t<br />

17. lim<br />

x→0 +sin ( 1<br />

x<br />

10. lim<br />

x→0<br />

cot2x<br />

cscx<br />

12. lim<br />

x→0<br />

2xcot 2 x<br />

cscx<br />

14. lim<br />

x→0<br />

sin(cosx)<br />

secx<br />

θ 2<br />

16. lim<br />

x→θ 1−cosθ<br />

18. lim<br />

x→0<br />

2−cos3x−cos4x<br />

x<br />

คำตอบแบบฝึกหัด 4.4<br />

1. 3 2. +∞ 3. 5 3<br />

4. 8 9<br />

5 7 3<br />

6. 0 7. 0 8. 0 9. 1 4<br />

10. 1 2<br />

11. − 1 √<br />

2<br />

12. 2 13. 2 14. sin1 15. 1 16. 2 17. หาค่าไม่ได้ 18. 0<br />

4.5 ความต่อเนื่อง<br />

สิ่งหนึ่งที่จะช่วยให้เราเข้าใจความหมายที่แท้จริงของความต่อเนื่องของฟังก์ชันคือการพิจารณากราฟ<br />

ของฟังก์ชันที่ไม่ต่อเนื่อง (discontinuous) ที่จุด x = a ต่อไปนี้<br />

y<br />

y = f(x)<br />

y<br />

y = f(x)<br />

•<br />

y<br />

y = f(x)<br />

a<br />

x<br />

a<br />

x<br />

a<br />

x<br />

(a)<br />

(b)<br />

(c)<br />

จากกราฟเราสามารถสรุปแต่ละกราฟได้ดังนี้<br />

(a) ลิมิตของ f(x) หาค่าไม่ได้เมื่อ x เข้าใกล้ a<br />

(b) ค่าของฟังก์ชันและค่าลิมิตที่ a มีค่าไม่เท่ากัน<br />

(c) ฟังก์ชัน f ไม่นิยามที่ a<br />

กราฟของฟังก์ชันทั้งสามลักษณะข้างต้นนำไปสู่บทนิยามของความต่อเนื่องที่จุดใดๆของฟังก์ชัน ดังนี้<br />

บทนิยาม 4.5 ฟังก์ชัน f จะมีความ ต่อเนื่อง (continuous) ที่จุด x = a ถ้า<br />

1. f(a) หาค่าได้<br />

2. lim<br />

x→a<br />

f(x) หาค่าได้ และ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!