บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ บทที่ 1 เมทริก ซ

mathstat.sci.tu.ac.th
from mathstat.sci.tu.ac.th More from this publisher
05.01.2015 Views

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 50 ◮ ลิมิตของตัวส่วนมีค่าเป็นศูนย์ แต่ลิมิตของตัวเศษไม่เท่ากับศูนย์ ◮ ลิมิตของตัวเศษและตัวส่วนมีค่าเป็นศูนย์ กรณีที่ลิมิตของตัวส่วนมีค่าเป็นศูนย์ แต่ลิมิตของตัวเศษไม่เท่ากับศูนย์ เราสามารถแสดงได้ว่าลิมิ ตของฟังก์ชันตรรกยะหาค่าไม่ได้ โดยที่เกิดกรณีใดกรณีหนึ่งต่อไปนี้ • ลิมิตเป็น −∞ ทางด้านหนึ่ง และ +∞ อีกด้านหนึ่ง • ลิมิตเป็น +∞ • ลิมิตเป็น −∞ ตัวอย่าง 4.10 3−x lim x→5 + (x−5)(x+3) = 3−x lim x→5 − (x−5)(x+3) = 3−x lim x→5 (x−5)(x+3) = สำหรับกรณีที่ฟังก์ชันตรรกยะ p(x)/q(x) มีลิมิตของตัวเศษและตัวส่วนเป็นศูนย์ นั่นคือ p(x) = 0 และ q(x) = 0 ตัวเศษและตัวส่วนของฟังก์ชันตรรกยะจะมีตัวประกอบร่วมอย่างน้อย 1 ตัวประกอบ ในกรณีนี้ลิมิตของ p(x)/q(x) เมื่อ x → a สามารถหาค่าได้ โดยการตัดตัวประกอบร่วมออก และ หาค่าลิมิตของฟังก์ชันที่เหลือ ตัวอย่าง 4.11 จงหาค่าลิมิตต่อไปนี้ x 2 −14x−51 (a) lim x→−3 x 2 −4x−21 x 2 −3x−10 (c) lim x→5 x 2 −10x+25 วิธีทำ ......... (b) lim x→1 x 4 +2x 2 −3 x 2 +2x−3 เศษส่วน f(x)/g(x) ที่ลิมิตของตัวเศษและตัวส่วนเท่ากับศูนย์เมื่อ x → a เรียกว่า รูปแบบ ยังไม่กำหนด 0/0 (indeterminate form of type 0/0) ลิมิตของฟังก์ชันในรูปแบบนี้ บางครั้งสามารถหาค่าลิมิตได้ โดยใช้วิธีการเดียวกับตัวอย่าง 4.11(c) แต่บางครั้งวิธีการในตัวอย่าง 4.11(c) ไม่สามารถนำมาใช้ได้ ต้องอาศัยวิธีอื่น ซึ่งจะกล่าวต่อไปในหัวข้อ4.4 ทฤษฎีบทต่อไป เป็นข้อสรุปของลิมิตของฟังก์ชันตรรกยะ ทฤษฎีบท 4.4 กำหนดให้ f(x) = p(x) q(x) เป็นฟังก์ชันตรรกยะ และให้ a เป็นจำนวนจริงใดๆ 1. ถ้า q(a) ≠ 0 แล้ว lim x→a f(x) = f(a) 2. ถ้า q(a) = 0 แต่ p(a) ≠ 0 แล้ว lim x→a f(x) หาค่าไม่ได้

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 51 ลิมิตที่เกี่ยวข้องกับราก x 2 −1 ตัวอย่าง 4.12 จงหาค่า lim x→−1 1− √ 2+x วิธีทำ ......... ตัวอย่าง 4.13 จงหาค่า lim x→2 2− 3√ x+6 x−2 วิธีทำ ......... ลิมิตของฟังก์ชันที่นิยามเป็นช่วง บางครั้งเราอาจพิจารณาฟังก์ชันที่มีนิพจน์ที่แตกต่างกันบนช่วงที่ต่างกัน ซึ่งฟังก์ชันในลักษณะนี้เรียก ว่า ฟังก์ชันที่นิยามเป็นช่วง (piecewise-defined functions) การหาลิมิตของฟังก์ชันที่ นิยามเป็นช่วงนั้น จะใช้ลิมิตสองด้านในการหาลิมิตที่จุดแบ่งช่วง หรือจุดที่มีการเปลี่ยนนิพจน์ ตัวอย่าง 4.14 กำหนดให้ ⎧ ⎪⎨ f(x) = ⎪⎩ x 2 −5x+6 |x−2| 2x−1 x+1 ถ้า 0 ≤ x ≤ 2 ถ้า x > 2 จงหา (a) lim x→2 f(x) และ (b) lim x→1 f(x) วิธีทำ ......... 1. กำหนดให้ แบบฝึกหัด 4.2 limf(x) = −3, limg(x) = 0, และ lim h(x) = 8 x→a x→a x→a จงหาค่าลิมิตต่อไปนี้ ถ้าลิมิตหาค่าได้ และถ้าลิมิตหาค่าไม่ได้ จงให้เหตุผลประกอบ [ ] [ ] 2 (a) lim f(x)+h(x) (b) lim f(x) x→a x→a (c) lim √ 3 1 h(x) (d) lim x→a x→a f(x) (e) lim x→a f(x) h(x) (g) lim x→a f(x) g(x) g(x) (f) lim x→a f(x) (h) lim x→a 2f(x) h(x)−f(x)

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 51<br />

ลิมิตที่เกี่ยวข้องกับราก<br />

x 2 −1<br />

ตัวอย่าง 4.12 จงหาค่า lim<br />

x→−1 1− √ 2+x<br />

วิธีทำ .........<br />

ตัวอย่าง 4.13 จงหาค่า lim<br />

x→2<br />

2− 3√ x+6<br />

x−2<br />

วิธีทำ .........<br />

ลิมิตของฟังก์ชันที่นิยามเป็นช่วง<br />

บางครั้งเราอาจพิจารณาฟังก์ชันที่มีนิพจน์ที่แตกต่างกันบนช่วงที่ต่างกัน ซึ่งฟังก์ชันในลักษณะนี้เรียก<br />

ว่า ฟังก์ชันที่นิยามเป็นช่วง (piecewise-defined functions) การหาลิมิตของฟังก์ชันที่<br />

นิยามเป็นช่วงนั้น จะใช้ลิมิตสองด้านในการหาลิมิตที่จุดแบ่งช่วง หรือจุดที่มีการเปลี่ยนนิพจน์<br />

ตัวอย่าง 4.14 กำหนดให้<br />

⎧<br />

⎪⎨<br />

f(x) =<br />

⎪⎩<br />

x 2 −5x+6<br />

|x−2|<br />

2x−1<br />

x+1<br />

ถ้า 0 ≤ x ≤ 2<br />

ถ้า x > 2<br />

จงหา (a) lim<br />

x→2<br />

f(x) และ (b) lim<br />

x→1<br />

f(x)<br />

วิธีทำ .........<br />

1. กำหนดให้<br />

แบบฝึกหัด 4.2<br />

limf(x) = −3, limg(x) = 0, และ lim h(x) = 8<br />

x→a x→a x→a<br />

จงหาค่าลิมิตต่อไปนี้ ถ้าลิมิตหาค่าได้ และถ้าลิมิตหาค่าไม่ได้ จงให้เหตุผลประกอบ<br />

[ ]<br />

[ ] 2<br />

(a) lim f(x)+h(x) (b) lim f(x)<br />

x→a x→a<br />

(c) lim<br />

√ 3<br />

1<br />

h(x) (d) lim<br />

x→a x→a f(x)<br />

(e) lim<br />

x→a<br />

f(x)<br />

h(x)<br />

(g) lim<br />

x→a<br />

f(x)<br />

g(x)<br />

g(x)<br />

(f) lim<br />

x→a f(x)<br />

(h) lim<br />

x→a<br />

2f(x)<br />

h(x)−f(x)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!