บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ บทที่ 1 เมทริก ซ

mathstat.sci.tu.ac.th
from mathstat.sci.tu.ac.th More from this publisher
05.01.2015 Views

• • เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 48 (c) y 3 1 x 4.2 การคำนวณค่าลิมิต ขั้นตอนวิธีในการหาค่าลิมิตในที่นี้ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนดังนี้ • เริ่มด้วยการหาค่าลิมิตของฟังก์ชันอย่างง่าย • จากนั้นใช้ทฤษฎีบทต่างๆ และลิมิตของฟังก์ชันอย่างง่าย หาค่าลิมิตของฟังก์ชันที่ซับซ้อน เราจะเริ่มด้วยการกล่าวถึงทฤษฎีบทพื้นฐานต่อไปนี้ ทฤษฎีบท 4.1 กำหนดให้ a และ k เป็นจำนวนจริงใดๆ (a)lim x→a k = k (b)lim x→a x = a 1 (c) lim x→0 − x = −∞ 1 (d) lim x→0 + x = +∞ ตัวอย่าง 4.5 lim 7 = x→−15 lim 5 = x→π lim x = x→3 lim x = x→−2 ทฤษฎีบทต่อไปนี้เป็นเครื่องมือเบื้องต้นที่ใช้ในการหาค่าลิมิต ทฤษฎีบท 4.2 กำหนดให้ a และ c เป็นจำนวนจริงใดๆ และสมมุติให้ lim x→a f(x) = L 1 และ lim x→a g(x) = L 2 แล้วจะได้ว่า (a) lim x→a [ cf(x) ] = clim x→a f(x) = cL 1 (b) lim x→a [ f(x)+g(x) ] = lim x→a f(x)+ lim x→a g(x) = L 1 +L 2 (c) lim x→a [ f(x)−g(x) ] = lim x→a f(x)− lim x→a g(x) = L 1 −L 2 (d) lim x→a [ f(x)·g(x) ] = lim x→a f(x)· lim x→a g(x) = L 1 L 2

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 49 f(x) limf(x) (e) lim x→a g(x) = x→a lim g(x) = L 1 ถ้า L 2 ≠ 0 L 2 x→a (f) lim x→a n √ f(x) = n √ lim x→a f(x) = n√ L 1 โดยที่ L 1 > 0 ถ้า n เป็นจำนวนคู่ นอกจากนี้กฎแต่ละข้อข้างต้นเป็นจริงสำหรับลิมิตด้านเดียวเมื่อ x → a − หรือ x → a + ตัวอย่าง 4.6 lim[f(x)+2g(x)−h(x)] = lim f(x)+2lim g(x)− lim h(x) x→a x→a x→a x→a ( )( )( ) lim [f(x)g(x)h(x)] = lim f(x) lim g(x) lim h(x) x→a x→a x→a x→a lim x→a [f(x)]3 = lim x→a [f(x)]n = lim x→a xn = ( ) 3 lim f(x) x→a ( ) n lim f(x) x→a ( lim x→a x ) n = a n ✠ ลิมิตของฟังก์ชันพหุนามและฟังก์ชันตรรกยะเมื่อ x → a ตัวอย่าง 4.7 จงหาค่า lim x→4 (5x 2 +3x−2) วิธีทำ ......... จากตัวอย่าง 4.7 จะสังเกตได้ว่า ลิมิตของฟังก์ชันพหุนาม p(x) = 5x 2 + 3x − 2 มีค่าเท่า กับ p(4) สิ่งที่เกิดขึ้นนี้มิใช่ความบังเอิญ ทฤษฎีบทต่อไปนี้จะกล่าวโดยทั่วไปว่า ลิมิตของฟังก์ชัน พหุนาม p(x) เมื่อ x → a มีค่าเท่ากับค่าของฟังก์ชันพหุนามที่ a ทฤษฎีบท 4.3 สำหรับฟังก์ชันพหุนาม p(x) = c 0 +c 1 x+···+c n x n และจำนวนจริง a ใดๆ lim p(x) = c 0 +c 1 a+···+c n a n = p(a) x→a ตัวอย่าง 4.8 จงหาค่า lim x→3 (3x 2 −2x−21) 2013 วิธีทำ ......... ตัวอย่าง 4.9 จงหาค่า lim x→2 x 3 +2x−5 x 2 −3 วิธีทำ ......... วิธีการที่ใช้ในการหาค่าลิมิตในตัวอย่าง 4.9 ไม่สามารถใช้ได้กับฟังก์ชันตรรกยะ ในกรณีที่ลิมิต ของตัวส่วนมีค่าเป็นศูนย์ ซึ่งมีกรณีที่ต้องพิจารณา 2 กรณี ดังนี้

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 49<br />

f(x)<br />

limf(x)<br />

(e) lim<br />

x→a g(x) = x→a<br />

lim g(x) = L 1<br />

ถ้า L 2 ≠ 0<br />

L 2<br />

x→a<br />

(f) lim<br />

x→a<br />

n √ f(x) = n √<br />

lim<br />

x→a<br />

f(x) = n√ L 1 โดยที่ L 1 > 0 ถ้า n เป็นจำนวนคู่<br />

นอกจากนี้กฎแต่ละข้อข้างต้นเป็นจริงสำหรับลิมิตด้านเดียวเมื่อ x → a − หรือ x → a +<br />

ตัวอย่าง 4.6<br />

lim[f(x)+2g(x)−h(x)] = lim f(x)+2lim g(x)− lim h(x)<br />

x→a x→a x→a x→a<br />

( )( )( )<br />

lim [f(x)g(x)h(x)] = lim f(x) lim g(x) lim h(x)<br />

x→a x→a x→a x→a<br />

lim<br />

x→a [f(x)]3 =<br />

lim<br />

x→a [f(x)]n =<br />

lim<br />

x→a xn =<br />

( ) 3<br />

lim f(x)<br />

x→a<br />

( ) n<br />

lim f(x)<br />

x→a<br />

(<br />

lim<br />

x→a x ) n<br />

= a<br />

n<br />

✠<br />

ลิมิตของฟังก์ชันพหุนามและฟังก์ชันตรรกยะเมื่อ x → a<br />

ตัวอย่าง 4.7 จงหาค่า lim<br />

x→4<br />

(5x 2 +3x−2)<br />

วิธีทำ .........<br />

จากตัวอย่าง 4.7 จะสังเกตได้ว่า ลิมิตของฟังก์ชันพหุนาม p(x) = 5x 2 + 3x − 2 มีค่าเท่า<br />

กับ p(4) สิ่งที่เกิดขึ้นนี้มิใช่ความบังเอิญ ทฤษฎีบทต่อไปนี้จะกล่าวโดยทั่วไปว่า ลิมิตของฟังก์ชัน<br />

พหุนาม p(x) เมื่อ x → a มีค่าเท่ากับค่าของฟังก์ชันพหุนามที่ a<br />

ทฤษฎีบท 4.3 สำหรับฟังก์ชันพหุนาม<br />

p(x) = c 0 +c 1 x+···+c n x n<br />

และจำนวนจริง a ใดๆ<br />

lim p(x) = c 0 +c 1 a+···+c n a n = p(a)<br />

x→a<br />

ตัวอย่าง 4.8 จงหาค่า lim<br />

x→3<br />

(3x 2 −2x−21) 2013<br />

วิธีทำ .........<br />

ตัวอย่าง 4.9 จงหาค่า lim<br />

x→2<br />

x 3 +2x−5<br />

x 2 −3<br />

วิธีทำ .........<br />

วิธีการที่ใช้ในการหาค่าลิมิตในตัวอย่าง 4.9 ไม่สามารถใช้ได้กับฟังก์ชันตรรกยะ ในกรณีที่ลิมิต<br />

ของตัวส่วนมีค่าเป็นศูนย์ ซึ่งมีกรณีที่ต้องพิจารณา 2 กรณี ดังนี้

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!