05.01.2015 Views

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 3<br />

เมทริกซ์จัตุรัสที่สมาชิกใต้เส้นทแยงมุมหลักทุกตัวเป็นศูนย์เรียกว่า เมทริกซ์แบบสามเหลี่ยมบน<br />

(upper triangular matrix) เมทริกซ์จัตุรัสที่สมาชิกเหนือเส้นทแยงมุมหลักทุกตัวเป็นศูนย์<br />

เรียกว่า เมทริกซ์แบบสามเหลี่ยมล่าง (lower triangle matrix) และเมทริกซ์จัตุรัสซึ่งสมาชิก<br />

ที่อยู่นอกแนวเส้นทแยงมุมหลักทุกตัวเป็นศูนย์เรียกว่าเมทริกซ์ทแยงมุม (diagonal matrix)<br />

เมทริกซ์ที่น่าสนใจอีกเมทริกซ์หนึ่งคือ เมทริกซ์จัตุรัสที่สมาชิกในเส้นทแยงมุมหลักทุกตัวมีค่าเท่า<br />

กับ 1 และสมาชิกที่อยู่นอกแนวเส้นทแยงมุมหลักทุกตัวมีค่าเท่ากับ 0 ตัวอย่างเช่น<br />

[ ]<br />

1 0<br />

,<br />

0 1<br />

⎡ ⎤<br />

1 0 0<br />

⎢ ⎥<br />

⎣0 1 0⎦,<br />

0 0 1<br />

⎡ ⎤<br />

1 0 0 0<br />

0 1 0 0<br />

⎢ ⎥<br />

⎣0 0 1 0⎦ .<br />

0 0 0 1<br />

เมทริกซ์ในรูปแบบนี้เรียกว่า เมทริกซ์เอกลักษณ์ (identity matrix หรือ unit matrix)<br />

และเขียนแทนด้วย I แต่หากต้องการแสดงมิติของเมทริกซ์ เราจะเขียนแทนเมทริกซ์เอกลักษณ์<br />

มิติ n×n ด้วย I n<br />

เมทริกซ์มิติ m×n ที่สมาชิกทุกตัวเป็นศูนย์ เรียกว่า เมทริกซ์ศูนย์ (zero matrix หรือ<br />

null matrix) และเขียนแทนด้วย 0 m×n หรือ 0 ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นตัวอย่างของเมทริกซ์ศูนย์<br />

⎡ ⎤ ⎡ ⎤<br />

0 0 0 [ ] 0<br />

⎢ ⎥ 0 0 0<br />

[ ]<br />

⎢ ⎥<br />

⎣0 0 0⎦,<br />

, ⎣0⎦ และ 0 0 0 0<br />

0 0 0<br />

0 0 0 0<br />

การดำเนินการบนเมทริกซ์<br />

บทนิยาม 1.2 กำหนดให้ A และ B เป็นเมทริกซ์ใดๆ สมาชิก a ij และ b kp เป็น สมาชิกที่<br />

สมนัยกัน (corresponding entries) ก็ต่อเมื่อ i = k และ j = p หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง<br />

ว่าสมาชิกของ A สมนัย กับสมาชิกของ B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทั้งสองอยู่ในตำแหน่งเดียวกัน<br />

ตัวอย่างเช่น ถ้า<br />

[ ]<br />

1 2 3<br />

A =<br />

4 5 6<br />

[ ]<br />

7 8 9<br />

และ B =<br />

−1 −2 −3<br />

แล้ว 1 สมนัยกับ 7, 2 สมนัยกับ 8 และ 4 สมนัยกับ −1<br />

หมายเหตุ เราจะกล่าวถึงการสมนัยกันของสมาชิก ถ้าเมทริกซ์ทั้ง 2 เมทริกซ์มีมิติเท่ากัน<br />

บทนิยาม 1.3 (การเท่ากันของเมทริกซ์) เมทริกซ์ A และ B จะ เท่ากัน และเขียนแทนด้วย<br />

A = B ถ้าเมทริกซ์ทั้งสองมีมิติเท่ากัน และสมาชิกที่สมนัยกันของเมทริกซ์ทั้งสองมีค่าเท่ากัน<br />

หรือกล่าวได้ว่า ถ้า A = [a ij ] และ B = [b ij ] เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติเท่ากัน แล้ว A = B ก็<br />

ต่อเมื่อ a ij = b ij สำหรับทุก i และ j

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!