บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ บทที่ 1 เมทริก ซ

mathstat.sci.tu.ac.th
from mathstat.sci.tu.ac.th More from this publisher
05.01.2015 Views

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 24 จากทฤษฎีบท 2.7 เราสามารถกล่าวได้ว่า ถ้า A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน แล้วเมทริกซ์ผกผัน ของ A มีเพียงเมทริกซ์เดียว ซึ่งจะเขียนแทนด้วย A −1 ดังนั้น AA −1 = I และ A −1 A = I ทฤษฎีบท 2.8 ให้ A เป็นเมทริกซ์มิติ n×n ใดๆ A จะมีเมทริกซ์ผกผัน ก็ต่อเมื่อ rank(A) = n นั่นคือก็ต่อเมื่อ det(A) ≠ 0 ดังนั้น A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน ถ้า rank(A) = n และเป็น เมทริกซ์เอกฐานถ้า rank(A) < n ทฤษฎีบท 2.9 ถ้า A และ B เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐานและมีขนาดเท่ากัน แล้ว AB เป็น เมทริกซ์ไม่เอกฐาน และ (AB) −1 = B −1 A −1 ทฤษฎีบท 2.10 ถ้า A 1 ,A 2 ,...,A n เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐานและมีขนาดเท่ากัน แล้ว A 1 A 2···A n เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน และ (A 1 A 2···A n ) −1 = A −1 n A−1 n−1···A−1 2 A−1 1 ทฤษฎีบท 2.11 ถ้า A เป็นเมทริกซ์ที่หาตัวผกผันได้ แล้ว (a) A −1 เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน และ (A −1 ) −1 = A (b) สำหรับสเกลาร์ k ≠ 0 ใดๆ เมทริกซ์ kA เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน และ (kA) −1 = 1 k A−1 ทฤษฎีบท 2.12 ถ้า A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน แล้ว A T เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน และ (A T ) −1 = (A −1 ) T ลำดับต่อไปเราจะศึกษาวิธีการหาเมทริกซ์ผกผันของเมทริกซ์ไม่เอกฐานขนาดใดๆ อย่างไรก็ตาม ทฤษฎีบทต่อไปนี้จะกล่าวถึงเงื่อนไขที่ทำให้เมทริกซ์มิติ 2 × 2 มีเมทริกซ์ผกผัน พร้อมทั้งสูตร ง่ายๆของเมทริกซ์ผกผันของเมทริกซ์มิติ 2×2 ทฤษฎีบท 2.13 เมทริกซ์ [ ] a b A = c d เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน ถ้า ad−bc ≠ 0 และเมทริกซ์ผกผันของ A คือ ⎡ [ ] d A −1 1 d −b ⎢ − b ⎤ = = ⎣ ad−bc ad−bc⎥ ad−bc −c a − c a ⎦ ad−bc ad−bc ตัวอย่าง 2.12 จงหาเมทริกซ์ผกผันของ [ ] 1 2 A = (ex +e −x 1 ) 2 (ex −e −x ) 1 2 (ex −e −x 1 ) 2 (ex +e −x ) วิธีทำ .........

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 25 การหาเมทริกซ์ผกผันโดยวิธีกำจัดเกาส์-จอร์แดน การหาเมทริกซ์ผกผัน A −1 ของเมทริกซ์ไม่เอกฐาน A มิติ n × n นั้นเราสามารถใช้วิธีการที่ เรียกว่า วิธีการกำจัดเกาส์-จอร์แดน (Gauss-Jordan elimination) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอน 1 สร้างเมทริกซ์แบ่งส่วน [A|I n ] ซึ่งมีขนาด n×2n ขั้นตอน 2 ใช้การดำเนินการตามแถวขั้นมูลฐานกับเมทริกซ์นี้ จนกระทั่งเมทริกซ์ย่อยทางซ้ายมือ ถูกลดรูปเป็นเมทริกซ์ I n และการดำเนินการตามแถวขั้นมูลฐานเหล่านี้จะแปลงเมทริกซ์ย่อย ทางขวามือเป็น A −1 ดังนั้นขั้นตอนสุดท้ายจะได้เมทริกซ์แบ่งส่วนในรูป [I |A −1 ] ตัวอย่าง 2.13 จงหาเมทริกซ์ผกผันของ ⎡ ⎤ 1 −2 1 ⎢ ⎥ A = ⎣2 −5 2 ⎦ 3 2 −1 วิธีทำ ......... บ่อยครั้งที่เราไม่ทราบว่าเมทริกซ์ที่กำหนดให้เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐานหรือไม่ ถ้าเมทริกซ์ A มิติ n × n เป็นเมทริกซ์เอกฐาน แล้วเมทริกซ์ขั้นบันไดตามแถวลดรูปของ A จะมีแถวอย่าง น้อยหนึ่งแถวที่มีสมาชิกทุกตัวเป็นศูนย์ดังนั้นถ้าใช้วิธีการเช่นเดียวกับตัวอย่าง 2.13 กับเมทริกซ์ที่ กำหนดให้ แล้วพบว่ามีแถวที่มีสมาชิกทุกตัวเป็นศูนย์เกิดขึ้นในการคำนวณกับเมทริกซ์ย่อยทางซ้ายมือ ในกรณีเช่นนี้เราสามารถหยุดการคำนวณ และสรุปได้ว่า เมทริกซ์ที่กำหนดให้เป็นเมทริกซ์เอกฐาน ตัวอย่าง 2.14 จงพิจารณาว่าเมทริกซ์ ⎡ ⎤ 1 3 4 ⎢ ⎥ A = ⎣−2 −5 −3⎦ 1 4 9 เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐานหรือไม่ วิธีทำ ......... การหาเมทริกซ์ผกผันโดยใช้เมทริกซ์ผูกพัน บทนิยาม 2.4 ถ้า A เป็นเมทริกซ์มิติ n×n ใดๆ และ C ij เป็นตัวประกอบร่วมเกี่ยวของ a ij แล้วเมทริกซ์ ⎡ ⎤ C 11 C 12 ··· C 1n C 21 C 22 ··· C 2n ⎢ ⎥ ⎣ . . . ⎦ C n1 C n2 ··· C nn เรียกว่า เมทริกซ์ของตัวประกอบร่วมเกี่ยว ของ A และเมทริกซ์สลับเปลี่ยนของเมทริกซ์นี้เรียก ว่า เมทริกซ์ผูกพัน (adjoint matrix) ของ A เขียนแทนด้วย adj(A)

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 24<br />

จากทฤษฎีบท 2.7 เราสามารถกล่าวได้ว่า ถ้า A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน แล้วเมทริกซ์ผกผัน<br />

ของ A มีเพียงเมทริกซ์เดียว ซึ่งจะเขียนแทนด้วย A −1 ดังนั้น<br />

AA −1 = I และ A −1 A = I<br />

ทฤษฎีบท 2.8 ให้ A เป็นเมทริกซ์มิติ n×n ใดๆ A จะมีเมทริกซ์ผกผัน ก็ต่อเมื่อ rank(A) =<br />

n นั่นคือก็ต่อเมื่อ det(A) ≠ 0 ดังนั้น A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน ถ้า rank(A) = n และเป็น<br />

เมทริกซ์เอกฐานถ้า rank(A) < n<br />

ทฤษฎีบท 2.9 ถ้า A และ B เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐานและมีขนาดเท่ากัน แล้ว AB เป็น<br />

เมทริกซ์ไม่เอกฐาน และ<br />

(AB) −1 = B −1 A −1<br />

ทฤษฎีบท 2.10 ถ้า A 1 ,A 2 ,...,A n เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐานและมีขนาดเท่ากัน แล้ว A 1 A 2···A n<br />

เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน และ<br />

(A 1 A 2···A n ) −1 = A −1<br />

n A−1 n−1···A−1 2 A−1 1<br />

ทฤษฎีบท 2.11 ถ้า A เป็นเมทริกซ์ที่หาตัวผกผันได้ แล้ว<br />

(a) A −1 เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน และ (A −1 ) −1 = A<br />

(b) สำหรับสเกลาร์ k ≠ 0 ใดๆ เมทริกซ์ kA เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน และ (kA) −1 = 1 k A−1<br />

ทฤษฎีบท 2.12 ถ้า A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน แล้ว A T เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน และ<br />

(A T ) −1 = (A −1 ) T<br />

ลำดับต่อไปเราจะศึกษาวิธีการหาเมทริกซ์ผกผันของเมทริกซ์ไม่เอกฐานขนาดใดๆ อย่างไรก็ตาม<br />

ทฤษฎีบทต่อไปนี้จะกล่าวถึงเงื่อนไขที่ทำให้เมทริกซ์มิติ 2 × 2 มีเมทริกซ์ผกผัน พร้อมทั้งสูตร<br />

ง่ายๆของเมทริกซ์ผกผันของเมทริกซ์มิติ 2×2<br />

ทฤษฎีบท 2.13 เมทริกซ์<br />

[ ]<br />

a b<br />

A =<br />

c d<br />

เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน ถ้า ad−bc ≠ 0 และเมทริกซ์ผกผันของ A คือ<br />

⎡<br />

[ ] d<br />

A −1 1 d −b ⎢<br />

− b ⎤<br />

= = ⎣<br />

ad−bc ad−bc⎥<br />

ad−bc −c a − c a ⎦<br />

ad−bc ad−bc<br />

ตัวอย่าง 2.12 จงหาเมทริกซ์ผกผันของ<br />

[ ]<br />

1<br />

2<br />

A =<br />

(ex +e −x 1<br />

)<br />

2 (ex −e −x )<br />

1<br />

2 (ex −e −x 1<br />

)<br />

2 (ex +e −x )<br />

วิธีทำ .........

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!