05.01.2015 Views

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

บทที่ 1 เมทริก ซ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เอกสารประกอบการสอนวิชา SC142 จัดทำโดย ดร.อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ์ 20<br />

ทฤษฎีบท 2.6 ถ้า A เป็นเมทริกซ์จัตุรัสที่มีแถวสองแถวเป็นสัดส่วนกัน หรือมีหลักสองหลักเป็น<br />

สัดส่วนกัน แล้ว det(A) = 0<br />

ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นเมทริกซ์ที่มีแถวสองแถวเป็นสัดส่วนกัน หรือหลักสองหลักเป็นสัดส่วนกัน ดังนั้น<br />

ดีเทอร์มิแนนต์ของแต่ละเมทริกซ์มีค่าเท่ากับศูนย์<br />

⎡ ⎤<br />

⎡ ⎤<br />

[ ]<br />

1 −2 5 2<br />

1 −2 7<br />

1 −3<br />

⎢ ⎥<br />

3 1 −4 −2<br />

, ⎣−4 8 8⎦,<br />

⎢ ⎥<br />

−2 6<br />

⎣ 4 7 8 1 ⎦<br />

3 −6 5<br />

−9 −3 12 6<br />

การหาดีเทอร์มิแนนต์โดยใช้การลดรูปตามแถว<br />

ลำดับต่อไปเราจะแนะนำวิธีการหาดีเทอร์มิแนนต์ ซึ่งใช้การคำนวณน้อยกว่าการหาดีเทอร์มิแนนต์<br />

โดยการกระจายตัวประกอบร่วมเกี่ยว แนวคิดของวิธีดังกล่าวคือ การลดรูปเมทริกซ์ที่กำหนดให้ ไป<br />

อยู่ในรูปเมทริกซ์แบบสามเหลี่ยมบนโดยใช้การดำเนินการตามแถว แล้วจึงคำนวณค่าดีเทอร์มิแนนต์<br />

ของเมทริกซ์แบบสามเหลี่ยมบน และหาความสัมพันธ์ของดีเทอร์มิแนนต์ที่ได้กับดีเทอร์มิแนนต์ของ<br />

เมทริกซ์ที่กำหนดให้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้<br />

⎡ ⎤<br />

3 −6 9<br />

⎢ ⎥<br />

ตัวอย่าง 2.6 จงหาค่าของ det(A) เมื่อ A = ⎣−2 4 −7⎦<br />

0 5 2<br />

วิธีทำ .........<br />

ตัวอย่าง 2.7 จงหาค่าของ det(A) เมื่อ<br />

⎡ ⎤<br />

1 2 0 −2<br />

0 0 2 −1<br />

A = ⎢ ⎥<br />

⎣0 −1 1 0 ⎦<br />

1 3 4 1<br />

วิธีทำ .........<br />

ตัวอย่างต่อไปเป็นการหาดีเทอร์มิแนนต์โดยใช้การกระจายตัวประกอบร่วมเกี่ยวร่วมกับการดำเนินการ<br />

ตามแถว ซึ่งจัดว่าเป็นวิธีการหาดีเทอร์มิแนนต์ที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่ง<br />

ตัวอย่าง 2.8 จงหาค่าของ det(A) เมื่อ<br />

⎡ ⎤<br />

3 5 −2 6<br />

1 2 −1 1<br />

A = ⎢ ⎥<br />

⎣2 4 1 5⎦<br />

3 7 5 3<br />

วิธีทำ .........

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!